SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
• นายเกษมชาติ เกษมทรัพย์ เลขที่ 1 ก
• นายอิศราภิวัฒน์ ประเสริฐสังข์ เลขที่ 2 ก
• นางสาวณัฐสุดา สัตนาโค เลขที่ 6 ก
• นางสาวพัชญาไชยโสภา เลขที่ 8 ก
• นางสาวจุฬาลักษณ์ คามณี เลขที่ 9 ข
• ดิน หมายถึง วัตถุธรรมชาติที่ปกคลุมผิวโลก เกิดจากการแปรสภาพหรือ
สลายตัวของหินแร่ธาตุ และอินทรียวัตถุผสมคลุกเคล้ากันตามธรรมชาติ
รวมกันเป็นชั้นบาง ๆ เมื่อมีน้าและอากาศที่เหมาะสมก็จะทาให้พืช
เจริญเติบโตและยังชีพอยู่ได้
• 1.ใช้ในการเกษตรกรรม ดินเป็นต้นกาเนิดของการเกษตรกรรม เป็น
แหล่งผลิตอาหารของมนุษย์ อาหารที่มนุษย์เราบริโภคทุกวันนี้มาจาก
การเกษตรกรรมถึง 90 %
• 2. ใช้ในการเลี้ยงสัตว์ พืชและหญ้าที่ขึ้นอยู่บนดินเป็นแหล่งอาหารสัตว์
ตลอดจนเป็น แหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์บางชนิด เช่น งู หนู แมลง ฯลฯ
• 3. เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย พื้นดินเป็นแหล่งที่ตั้งของเมือง บ้านเรือน ทาให้
เกิดวัฒนธรรม และอารยธรรมของชุมชนต่างๆ มากมาย
• 4. เป็นแหล่งกักเก็บน้า ถ้าน้าซึ่งอยู่ในรูปของความชื้นในดินมีอยู่มากๆ
ก็จะกลายเป็นน้าซึมอยู่ในดิน คือน้าใต้ดิน น้าเหล่านี้จะค่อยๆ ซึมลงที่
ต่า เช่น แม่น้า ลาคลอง ทาให้เรามีน้าใช้ตลอดปี
• 1. การใช้สารเคมีและสารกัมมันตรังสี สารเคมี
• 2. การใส่ปุ๋ ยเคมี
• 3. น้าชลประทาน ดินเป็นพิษจากน้าชลประทานได้เนื่องจากน้าที่มีตะกอนเกลือ
และสาร เคมีอื่นๆ
• 4. การใช้ยาปราบศัตรูพืชและสัตว์
• 5. การทิ้งขยะมูลฝอยและของเสียต่างๆ
• 6. การเพาะปลูก ดินที่ใช้ในการเพาะปลูกเป็นเวลานานๆ โดยมิได้คานึงถึงการ
บารุงรักษา
• 7. การหักร้างถางป่ า เป็นผลทาให้เกิดความเสียหายกับดินได้ ทาให้ดิน
ปราศจากพืชปกคลุม หรือไม่มีรากของพืชยึดเหนี่ยว
• 1. อันตรายต่อมนุษย์ ดินทาให้เกิดพิษต่อมนุษย์โดยทางอ้อม เช่น พิษ
จากไนเตรต ไนไตรต หรือยาปราบศัตรูพืช โดยได้รับเข้าไปในรูปของน้า
ดื่มที่มีสารพิษปะปน โดยการรับประทาน พืชผักที่ปลูกในดินที่มีการ
สะสมตัวของสารที่มีพิษ
• 2. อันตรายต่อสัตว์ ดินที่เป็นพิษทาให้เกิดอันตรายต่อสัตว์คล้ายคลึงกับ
ของมนุษย์ แต่สัตว์มี โอกาสได้รับพิษมากกว่า เพราะกินนอน ขุดคุ้ย หา
อาหารจากดินโดยตรง นอกจากนี้การ ใช้ยาฆ่าแมลงที่ไม่ถูกหลัก
วิชาการยังเป็นการทาลายแมลงที่เป็นประโยชน์ เช่น ตัวห้า ทาให้ผล
ผลิตทางการเกษตรลดลงได้
• 1. การใช้ที่ดินอย่างถูกต้องเหมาะสม การปลูกพืชควรต้องคานึงถึงชนิด
ของพืชที่เหมาะสมกับคุณสมบัติของดิน การปลูกพืชและการไถพรวน
ตามแนวระดับเพื่อป้ องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน นอกจากนี้
ควรจะสงวนรักษาที่ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ไว้ใช้ในกิจการอื่นๆ เช่น
โรงงานอุตสาหกรรม ที่อยู่อาศัย เพราะที่ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์และ
เหมาะสมในการเพาะปลูกมีอยู่จานวนน้อย
• 2. การปรับปรุงบารุงดิน การเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดิน เช่น การใส่ปุ๋ ยพืช
สด ปุ๋ ยคอก การปลูกพืชตระกูลถั่ว การใส่ปูนขาวในดินที่เป็นกรด การ
แก้ไขพื้นที่ดินเค็มด้วยการระบายน้าเข้าที่ดิน เป็นต้น
• 3. การป้ องกันการเสื่อมโทรมของดิน ได้แก่ การปลูกพืชคลุมดิน การ
ปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชบังลม การไถพรวนตามแนวระดับ การ
ทาคันดินป้ องกันการไหลชะล้างหน้าดิน รวมทั้งการไม่เผาป่าหรือการทา
ไร่เลื่อนลอย
• 4. การให้ความชุ่มชื้นแก่ดิน การระบายน้าในดินที่มีน้าขังออกการจัดส่ง
เข้าสู่ที่ดินและการใช้วัสดุ เช่น หญ้าหรือฟางคลุมหน้าดินจะช่วยให้ดินมี
ความอุดมสมบูรณ์
ดิน(Soil)

More Related Content

Viewers also liked (6)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
แบบฝึกหัด เรื่องโลก ดิน หิน น้ำ52
แบบฝึกหัด เรื่องโลก ดิน หิน น้ำ52แบบฝึกหัด เรื่องโลก ดิน หิน น้ำ52
แบบฝึกหัด เรื่องโลก ดิน หิน น้ำ52
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
ใบงาน วัฎจักรหิน
ใบงาน วัฎจักรหินใบงาน วัฎจักรหิน
ใบงาน วัฎจักรหิน
 

ดิน(Soil)

  • 1.
  • 2. • นายเกษมชาติ เกษมทรัพย์ เลขที่ 1 ก • นายอิศราภิวัฒน์ ประเสริฐสังข์ เลขที่ 2 ก • นางสาวณัฐสุดา สัตนาโค เลขที่ 6 ก • นางสาวพัชญาไชยโสภา เลขที่ 8 ก • นางสาวจุฬาลักษณ์ คามณี เลขที่ 9 ข
  • 3. • ดิน หมายถึง วัตถุธรรมชาติที่ปกคลุมผิวโลก เกิดจากการแปรสภาพหรือ สลายตัวของหินแร่ธาตุ และอินทรียวัตถุผสมคลุกเคล้ากันตามธรรมชาติ รวมกันเป็นชั้นบาง ๆ เมื่อมีน้าและอากาศที่เหมาะสมก็จะทาให้พืช เจริญเติบโตและยังชีพอยู่ได้
  • 4. • 1.ใช้ในการเกษตรกรรม ดินเป็นต้นกาเนิดของการเกษตรกรรม เป็น แหล่งผลิตอาหารของมนุษย์ อาหารที่มนุษย์เราบริโภคทุกวันนี้มาจาก การเกษตรกรรมถึง 90 %
  • 5. • 2. ใช้ในการเลี้ยงสัตว์ พืชและหญ้าที่ขึ้นอยู่บนดินเป็นแหล่งอาหารสัตว์ ตลอดจนเป็น แหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์บางชนิด เช่น งู หนู แมลง ฯลฯ
  • 6. • 3. เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย พื้นดินเป็นแหล่งที่ตั้งของเมือง บ้านเรือน ทาให้ เกิดวัฒนธรรม และอารยธรรมของชุมชนต่างๆ มากมาย
  • 7. • 4. เป็นแหล่งกักเก็บน้า ถ้าน้าซึ่งอยู่ในรูปของความชื้นในดินมีอยู่มากๆ ก็จะกลายเป็นน้าซึมอยู่ในดิน คือน้าใต้ดิน น้าเหล่านี้จะค่อยๆ ซึมลงที่ ต่า เช่น แม่น้า ลาคลอง ทาให้เรามีน้าใช้ตลอดปี
  • 8. • 1. การใช้สารเคมีและสารกัมมันตรังสี สารเคมี • 2. การใส่ปุ๋ ยเคมี • 3. น้าชลประทาน ดินเป็นพิษจากน้าชลประทานได้เนื่องจากน้าที่มีตะกอนเกลือ และสาร เคมีอื่นๆ • 4. การใช้ยาปราบศัตรูพืชและสัตว์ • 5. การทิ้งขยะมูลฝอยและของเสียต่างๆ • 6. การเพาะปลูก ดินที่ใช้ในการเพาะปลูกเป็นเวลานานๆ โดยมิได้คานึงถึงการ บารุงรักษา • 7. การหักร้างถางป่ า เป็นผลทาให้เกิดความเสียหายกับดินได้ ทาให้ดิน ปราศจากพืชปกคลุม หรือไม่มีรากของพืชยึดเหนี่ยว
  • 9. • 1. อันตรายต่อมนุษย์ ดินทาให้เกิดพิษต่อมนุษย์โดยทางอ้อม เช่น พิษ จากไนเตรต ไนไตรต หรือยาปราบศัตรูพืช โดยได้รับเข้าไปในรูปของน้า ดื่มที่มีสารพิษปะปน โดยการรับประทาน พืชผักที่ปลูกในดินที่มีการ สะสมตัวของสารที่มีพิษ
  • 10. • 2. อันตรายต่อสัตว์ ดินที่เป็นพิษทาให้เกิดอันตรายต่อสัตว์คล้ายคลึงกับ ของมนุษย์ แต่สัตว์มี โอกาสได้รับพิษมากกว่า เพราะกินนอน ขุดคุ้ย หา อาหารจากดินโดยตรง นอกจากนี้การ ใช้ยาฆ่าแมลงที่ไม่ถูกหลัก วิชาการยังเป็นการทาลายแมลงที่เป็นประโยชน์ เช่น ตัวห้า ทาให้ผล ผลิตทางการเกษตรลดลงได้
  • 11. • 1. การใช้ที่ดินอย่างถูกต้องเหมาะสม การปลูกพืชควรต้องคานึงถึงชนิด ของพืชที่เหมาะสมกับคุณสมบัติของดิน การปลูกพืชและการไถพรวน ตามแนวระดับเพื่อป้ องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน นอกจากนี้ ควรจะสงวนรักษาที่ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ไว้ใช้ในกิจการอื่นๆ เช่น โรงงานอุตสาหกรรม ที่อยู่อาศัย เพราะที่ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์และ เหมาะสมในการเพาะปลูกมีอยู่จานวนน้อย
  • 12. • 2. การปรับปรุงบารุงดิน การเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดิน เช่น การใส่ปุ๋ ยพืช สด ปุ๋ ยคอก การปลูกพืชตระกูลถั่ว การใส่ปูนขาวในดินที่เป็นกรด การ แก้ไขพื้นที่ดินเค็มด้วยการระบายน้าเข้าที่ดิน เป็นต้น
  • 13. • 3. การป้ องกันการเสื่อมโทรมของดิน ได้แก่ การปลูกพืชคลุมดิน การ ปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชบังลม การไถพรวนตามแนวระดับ การ ทาคันดินป้ องกันการไหลชะล้างหน้าดิน รวมทั้งการไม่เผาป่าหรือการทา ไร่เลื่อนลอย
  • 14. • 4. การให้ความชุ่มชื้นแก่ดิน การระบายน้าในดินที่มีน้าขังออกการจัดส่ง เข้าสู่ที่ดินและการใช้วัสดุ เช่น หญ้าหรือฟางคลุมหน้าดินจะช่วยให้ดินมี ความอุดมสมบูรณ์