SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ยืดหยุ่น (Tumbling) เป็ นกิจกรรมการเล่นโลดโผน อันประกอบไปด้วยการกลิ้ง การม้วนตัว การดีดสปริง การหมุนตัว
และการตีลังกาแบบต่างๆ ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้แสดงให้ เห็นถึงความคล่องแคล่วว่องไวในการเคลื่อนไหวร่ างกาย ความสามารถในการ
ทรงตัว การควบคุมอวัยวะต่างๆ ของร่ างกายให้ทางานได้ตามความต้องการ และยังแสดงถึงความสามารถในการเพิ่มแรง เพิ่ม
ความเร็ว หรือการผ่อนแรงกระแทกให้เบาลง โดยอาศัยหลักทางวิทยาศาสตร์
ยืดหยุ่นเป็ นกิจกรรมย่อยอย่างหนึ่งของกีฬายิมนาสติก โดยจัดเป็ นยิมนาสติกกายกรรม (Acrobatic Gymnastics) และยัง
เป็ นองค์ประกอบพื้นฐานของฟลอร์ เอ็กเซอไซด์ด้วย
ประวัติและพัฒนาการของกีฬายิมนาสติก
กีฬายิมนาสติกถือกาเนิดขึ้นเมื่อไร ที่ไหน ไม่มีหลักฐานปรากฏที่แน่ชัด ทราบแต่เพียงว่าในสมัยก่อนนั้นคาว่า
“ยิมนาสติก” มีความหมายว่า “กิจกรรมเพื่อการออกกาลังกาย” หรือบางทีก็อาจจะตีความหมายว่า ยิมนาสติกคือกีฬาหรื อกรีฑาก็ได้
แม้ในปัจจุบันในประเทศเยอรมันก็ยังเรียกการพลศึกษาว่า “ยิมนาสติก”
จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ระบุว่าชาวจีนได้มีการคิดท่ากายบริหารขึ้นมาเพื่อการบริหารร่ างกายให้ เกิดความแข็งแรง
และถือเป็ นการป้ องกันและรักษาโรคได้ด้วย นอกจากนี้ชาวจีนยังรู้ จักการเล่นกายกรรมในลักษณะของการต่อตัว การไต่เชือกและ
การตีลังกาแบบต่างๆ ซึ่งมีลักษณะคล้ายยิมนาสติกในปัจจุบัน
เชื่อกันว่าชาวกรี กและชาวโรมันเป็ นผู้ริเริ่ มสนใจและฝึ กฝนยิมนาสติกอย่างจริงจัง ชาวกรี กได้เน้นให้เยาวชนได้ฝึ ก
ยิมนาสติก เช่น การวิ่ง การกระโดดข้ามเครื่องกีดขวาง การเต้นราประกอบดนตรี และการเล่นเกมต่างๆ โดยเรียกกิจกรรมเหล่านี้
ว่า “ยิมนาสติกเพื่อเยาวชน”
ในประเทศเยอรมันได้มีการพัฒนายิมนาสติกขึ้นอย่างจริงจัง ในปี ค.ศ.1776 โยฮัน เบสโดว์ (Basedow Johann
Bernhard) ได้บรรจุยิมนาสติกเข้าไว้ในหลักสูตรการพลศึกษา เบสโดว์จึงได้ชื่อว่าเป็ นครูสอนยิมนาสติกคนแรก กิจกรรมยิมนาสติก
ที่เขานามาสอนได้แก่ การวิ่ง กระโดดสูง ขี่ม้า ยกน้าหนัก เดินทรงตัวบนคานไม้ ปี นต้นไม้ ว่ายน้า และเกมต่างๆ
ต่อมาในปี ค.ศ.1793 กุตมุธส์ (Guts Muths Johann Christian) ชาวเยอรมัน ได้เขียนตารายิมนาสติกขึ้นเป็ นเล่มแรกชื่อ
“Gymnastic For Youth” เขาจึงได้ชื่อว่าเป็ นคุณปู่ แห่งวงการยิมนาสติก กิจกรรมต่างๆ ที่เขาได้บรรจุไว้ในหนังสือ เขาได้ใช้
หลักการและการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ พบว่ากิจกรรมเหล่านี้จะพัฒนาคนได้เกือบทุกด้าน กิจกรรมดังกล่าวได้แก่ วิ่งเร็ว กระโดด
สูง กระโดดไกล ฟันดาบ ปี นต้นไม้ มวยปล้า การขว้างปา ยิงธนู ว่ายน้า การเต้นรา การเดินทรงตัวบนคานไม้ และเกมต่างๆ
ต่อมา จาห์ น (Friedrich Ludwig Jahn) ได้คิดประดิษฐ์ อุปกรณ์และสถานที่สาหรับฝึ กยิมนาสติกขึ้นด้วย เขาจึงได้ชื่อว่า
“บิดาแห่งยิมนาสติก” อุปกรณ์ที่เขาได้คิดค้นขึ้น ได้แก่ ราวเดี่ยว (Horizontal Bar) ราวคู่ (Parallel Bar) ม้ากระโดด (Vaulting
Horse) คานทรงตัว (Balance Beam) ฟรีเอ็กเซอร์ ไซด์ (Floor Exercise) ม้าหู (Side Horse) ส่วนห่วง (Rings) และราวต่างระดับ
(Uneven Bars) คิดขึ้นในสมัยกลาง
ต่อมาในปี ค.ศ.1800 นักยิมนาสติกชาวสวีเดนชื่อ “ลิงก์” (Pehr Henrik Ling) ได้นาจังหวะและการประสานงานของท่า
ต่างๆ อย่างต่อเนื่องโดยใช้อุปกรณ์ห่วงฮูล่า คฑา และลูกบอลเล็ก ซึ่งปัจจุบันก็คือยิมนาสติกลีลา
ยิมนาสติกเริ่มการแข่งขันครั้งแรก ในกีฬาโอลิมปิ กครั้งที่ 1 ณ กรุงเอเธนส์ ประเทศกรี ซ เมื่อปี ค.ศ.1896
ในปี ค.ศ.1903 ตั้งสหพันธ์ยิมนาสติกสากล (Federation International De Gymnastic = FIG) ได้จัดให้มีการแข่งขัน
ยิมนาสติกชิงแชมป์ โลกขึ้นนับเป็ นครั้งที่ 7 และให้ เปลี่ยนการแข่งขันเป็ น 4 ปี ต่อครั้ง เหมือนกับกีฬาโอลิมปิ ก โดยจะจัดก่อนกีฬา
โอลิมปิ ก 1 ปี
ในระยะแรกของการแข่งขันกีฬายิมนาสติกจะแข่งขันเฉพาะชาย ต่อมาในปี ค.ศ.1928 จึงจัดให้มีการแข่งขันประเภท
หญิงด้วย (ตรงกับกีฬาโอลิมปิ กครั้งที่ 9 ค.ศ.1928)
ในช่วงระยะเวลาที่กล่าวมาแล้ว กิจกรรมยิมนาสติกที่ใช้ในการแข่งขัน มีลักษณะคล้ ายกับยิมนาสติกในปัจจุบัน อีกส่วน
หนึ่งก็คล้ายกับกรีฑา บางครั้งก็มีว่ายน้ารวมอยู่ด้วย ทางสหพันธ์ยิมนาสติกสากลจึงคิดว่าควรจะแยกการแข่งขันยิมนาสติกออกจาก
กรีฑา
ในปี ค.ศ.1952 ได้มีการกาหนดอุปกรณ์ชายมี 6 อุปกรณ์ และหญิงมี 4 อุปกรณ์ ดังนี้ ชาย 6 อุปกรณ์ได้แก่ ฟลอร์ เอ็ก
เซอร์ ไซส์ ม้าหู ห่วงนิ่ง ม้ากระโดด ราวเดี่ยว ราวคู่ ส่วนหญิงมี 4 อุปกรณ์ได้แก่ ม้ากระโดด ราวต่างระดับ คานทรงตัว
และฟลอร์ เอ็กเซอร์ ไซส์ เรียกยิมนาสติกดังกล่าวนี้ว่า “ยิมนาสติกสากล” (Artistic Gymnastics)
จากนั้นยิมนาสติกได้รับการพัฒนาปรับปรุงขึ้นมาเรื่ อยๆ ทั้งทางด้านกติกา เทคนิค วิธีการต่างๆ จนทาให้ยิมนาสติก
เจริญก้าวหน้ามาจนถึงทุกวันนี้ และในปี ค.ศ.1970 ยิมนาสติกจากสวีเดนก็ได้รับความนิยมมากขึ้น จึงจัดให้ มีการแข่งขันขึ้น ประเภท
การแข่งขันยิมนาสติกนี้ว่า “ยิมนาสติกลีลาใหม่” (Modern Rhythmic Gymnastics) ซึ่งจะแข่งขันเฉพาะหญิงเท่านั้น อุปกรณ์ที่ใช้
ได้แก่ เชือกกระโดด ห่วงฮูล่า ลูกบอล คฑา และริบิ้นประโยชน์ของยืดหยุ่นและยิมนาสติก
การแข่งขันยืดหยุ่น
8.1 ยืดหยุ่น มีการแข่งขันแตกต่างไปจากยิมนาสติกสากล โดยการแข่งขันยืดหยุ่นจะไปรวมอยู่ในยิมนาสติกกายกรรม
การแข่งขันยืดหยุ่นจะแบ่งการแข่งขันออกเป็ น 3 ประเภท ดังนี้
8.1.1การแข่งขันประเภทเดี่ยว (Tumbling) มีทั้งชายเดี่ยว และ หญิงเดี่ยว
8.1.2การแข่งขันประเภทคู่ (Pairs) มีทั้งชายคู่ หญิงคู่ และ คู่ผสม
8.1.3การแข่งขันประเภทหมู่ (Group) มี หมู่ชาย 4 คน และ หมู่หญิง 3 คน
8.2 สนามที่ใช้ในการแข่งขันยืดหยุ่น
8.2.1สนามประเภทเดี่ยว กว้าง 1.50 เมตร ยาว 20 เมตร และมีทางวิ่งยาว 10 เมตร
8.2.2 สนามประเภทคู่และหมู่ จะใช้สนามของฟลอร์ เอ็กเซอร์ ไซส์ ขนาด 12 x 12 เมตร
8.3 ลักษณะของการแข่งขันยืดหยุ่น
8.3.1ประเภทเดี่ยว ผู้แสดงจะต้องแสดงท่ายืดหยุ่นติดต่อกันเป็ นชุด ชุดละ 4-5 ท่า เป็ นจานวน 3-6 ชุด (ท่าสมัคร 3 ชุด และท่าบังคับ
3 ชุด) โดยจะต้องแสดงให้ เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กาหนดให้
8.3.2ประเภทคู่และหมู่ จะเป็ นการต่อตัวผสมกับการเล่นยืดหยุ่นทั้งบนฟลอร์ และท่ากลางอากาศขณะต่อตัว ความสวยงามและการ
ให้คะแนนจะดูจากความยากของการต่อตัว ความมั่นคงและการทรงตัวและความพร้ อมเพรียงกันของนักกีฬา การแข่งขันการต่อตัว
นี้มักใช้ชื่อว่า “ศิลปกายกรรมต่อตัว” หรือ “กายศิลป์ ” การแสดง ประเภทคู่และหมู่นี้ จะต้องมีเสียงดนตรีประกอบ ผู้แสดงจะต้อง
แสดงให้เข้ากับจังหวะดนตรีด้วย ระยะเวลาของการแสดงจะใช้เวลาตั้งแต่ 2 นาที ถึง 3 นาที
การแข่งขันยิมนาสติกสากล เป็ นการแข่งขันที่แพร่ หลายที่สุด แบ่งการแข่งขันออกเป็ น ชาย 6 อุปกรณ์ และ หญิง 4 อุปกรณ์ โดย
การแข่งขันจะแบ่งออกเป็ น 3 รอบ คือ
9.1.1 รอบที่ 1 (Competition I) เป็ นการแข่งขันประเภททีม ทีมละ 5-6 คน ประเภทนี้มีการแข่งขัน 2 ครั้งคือ
ท่าบังคับและท่าสมัคร เป็ นการแข่งขันรอบคัดเลือกเพื่อเข้าแข่งขันในประเภทอื่นๆ
9.1.2 รอบที่ 2 (Competition II) เป็ นการแข่งขันประเภทบุคคลรวม นักกีฬาที่เข้าแข่งขันจะต้องผ่านการคัดเลือก
จากการแข่งขันประเภททีมมาแล้ว โดยปกติผู้ที่มีคะแนนสูง 36 คนแรก จะมีสิทธิ์เข้าแข่งขันในประเภทบุคคลรวม
9.1.3 รอบที่ 3 (Competition III) เป็ นการแข่งขันประเภทอุปกรณ์ ผู้เข้าแข่งขันจะส่งเข้าแข่งขันได้อุปกรณ์ ละไม่
เกิน 2 คน โดยคัดเลือกจากประเภททีมเหมือนกัน ผู้ที่คะแนนสูงสุด 6 ถึง 8 คน ก็จะเข้ามาแข่งขันกันใหม่ในรอบนี้
การแข่งขันยิมนาสติกนี้ นักยิมนาสติกทุกคนจะต้องเล่นทุกอุปกรณ์ที่มีอยู่ (ชาย 6 อุปกรณ์ หญิง 4 อุปกรณ์) ใน
รอบทีมและรอบบุคคลรวม ผู้เล่นจะต้องแสดงท่าต่างๆ ที่มีความยากง่ายแตกต่างกันเข้าเป็ นชุด ชุดละไม่น้อยกว่า 10 ท่า
(ท่าที่เลือกแสดง)
Gymnastics Artistic Men's Horizontal Bar Final - London 2012 Olympic Games Highlights - YouTube.FLV
http://www.youtube.com/watch?v=y7-Jx4EXcVs

More Related Content

What's hot

วิ่งข้ามรั้ว
วิ่งข้ามรั้ววิ่งข้ามรั้ว
วิ่งข้ามรั้วFolk Wisit
 
แบบฝึกทักษะเบื้องต้นวิชาบาสเก็ตบอล
แบบฝึกทักษะเบื้องต้นวิชาบาสเก็ตบอลแบบฝึกทักษะเบื้องต้นวิชาบาสเก็ตบอล
แบบฝึกทักษะเบื้องต้นวิชาบาสเก็ตบอลsama2511
 
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูคู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูArt Nan
 
บันการฝึกซ้อมนักกีฬาฟุตบอล ทีมอุบล ยูเอ็มที สัปดาห์ที่ 1
บันการฝึกซ้อมนักกีฬาฟุตบอล ทีมอุบล ยูเอ็มที สัปดาห์ที่ 1บันการฝึกซ้อมนักกีฬาฟุตบอล ทีมอุบล ยูเอ็มที สัปดาห์ที่ 1
บันการฝึกซ้อมนักกีฬาฟุตบอล ทีมอุบล ยูเอ็มที สัปดาห์ที่ 1Pak Ubss
 
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguidelineการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguidelineUtai Sukviwatsirikul
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก593non
 
การออกกำลังสำหรับเด็กอ้วน
การออกกำลังสำหรับเด็กอ้วนการออกกำลังสำหรับเด็กอ้วน
การออกกำลังสำหรับเด็กอ้วนSumon Kananit
 
361 การศึกษาติตตามผลผู้ป่วยที่ได้รับการฟื้นฟูภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า
361 การศึกษาติตตามผลผู้ป่วยที่ได้รับการฟื้นฟูภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า361 การศึกษาติตตามผลผู้ป่วยที่ได้รับการฟื้นฟูภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า
361 การศึกษาติตตามผลผู้ป่วยที่ได้รับการฟื้นฟูภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าสายชล ชินชัยพงษ์
 

What's hot (10)

วิ่งข้ามรั้ว
วิ่งข้ามรั้ววิ่งข้ามรั้ว
วิ่งข้ามรั้ว
 
ประวัติยิมนาสติก
ประวัติยิมนาสติกประวัติยิมนาสติก
ประวัติยิมนาสติก
 
แบบฝึกทักษะเบื้องต้นวิชาบาสเก็ตบอล
แบบฝึกทักษะเบื้องต้นวิชาบาสเก็ตบอลแบบฝึกทักษะเบื้องต้นวิชาบาสเก็ตบอล
แบบฝึกทักษะเบื้องต้นวิชาบาสเก็ตบอล
 
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูคู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
 
Gm trail
Gm trailGm trail
Gm trail
 
บันการฝึกซ้อมนักกีฬาฟุตบอล ทีมอุบล ยูเอ็มที สัปดาห์ที่ 1
บันการฝึกซ้อมนักกีฬาฟุตบอล ทีมอุบล ยูเอ็มที สัปดาห์ที่ 1บันการฝึกซ้อมนักกีฬาฟุตบอล ทีมอุบล ยูเอ็มที สัปดาห์ที่ 1
บันการฝึกซ้อมนักกีฬาฟุตบอล ทีมอุบล ยูเอ็มที สัปดาห์ที่ 1
 
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguidelineการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa kneeguideline
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก
 
การออกกำลังสำหรับเด็กอ้วน
การออกกำลังสำหรับเด็กอ้วนการออกกำลังสำหรับเด็กอ้วน
การออกกำลังสำหรับเด็กอ้วน
 
361 การศึกษาติตตามผลผู้ป่วยที่ได้รับการฟื้นฟูภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า
361 การศึกษาติตตามผลผู้ป่วยที่ได้รับการฟื้นฟูภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า361 การศึกษาติตตามผลผู้ป่วยที่ได้รับการฟื้นฟูภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า
361 การศึกษาติตตามผลผู้ป่วยที่ได้รับการฟื้นฟูภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า
 

More from Phatcharopong Photjanakosri (12)

Blog
BlogBlog
Blog
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ นาย พัชรพงษ์ พจนะโกสีย์ ชั้น ม
ใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ นาย พัชรพงษ์ พจนะโกสีย์ ชั้น มใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ นาย พัชรพงษ์ พจนะโกสีย์ ชั้น ม
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ นาย พัชรพงษ์ พจนะโกสีย์ ชั้น ม
 
M6thai2553
M6thai2553M6thai2553
M6thai2553
 
M6social2553
M6social2553M6social2553
M6social2553
 
M6science2553
M6science2553M6science2553
M6science2553
 
M6math2553
M6math2553M6math2553
M6math2553
 
M6health+art+tech2553
M6health+art+tech2553M6health+art+tech2553
M6health+art+tech2553
 
M6eng2553
M6eng2553M6eng2553
M6eng2553
 
Key math m6 53
Key math m6 53Key math m6 53
Key math m6 53
 
Key m 6 53 7 subjects
Key m 6 53 7 subjectsKey m 6 53 7 subjects
Key m 6 53 7 subjects
 
Blog
BlogBlog
Blog
 

Gymnastice

  • 1. ยืดหยุ่น (Tumbling) เป็ นกิจกรรมการเล่นโลดโผน อันประกอบไปด้วยการกลิ้ง การม้วนตัว การดีดสปริง การหมุนตัว และการตีลังกาแบบต่างๆ ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้แสดงให้ เห็นถึงความคล่องแคล่วว่องไวในการเคลื่อนไหวร่ างกาย ความสามารถในการ ทรงตัว การควบคุมอวัยวะต่างๆ ของร่ างกายให้ทางานได้ตามความต้องการ และยังแสดงถึงความสามารถในการเพิ่มแรง เพิ่ม ความเร็ว หรือการผ่อนแรงกระแทกให้เบาลง โดยอาศัยหลักทางวิทยาศาสตร์ ยืดหยุ่นเป็ นกิจกรรมย่อยอย่างหนึ่งของกีฬายิมนาสติก โดยจัดเป็ นยิมนาสติกกายกรรม (Acrobatic Gymnastics) และยัง เป็ นองค์ประกอบพื้นฐานของฟลอร์ เอ็กเซอไซด์ด้วย ประวัติและพัฒนาการของกีฬายิมนาสติก กีฬายิมนาสติกถือกาเนิดขึ้นเมื่อไร ที่ไหน ไม่มีหลักฐานปรากฏที่แน่ชัด ทราบแต่เพียงว่าในสมัยก่อนนั้นคาว่า “ยิมนาสติก” มีความหมายว่า “กิจกรรมเพื่อการออกกาลังกาย” หรือบางทีก็อาจจะตีความหมายว่า ยิมนาสติกคือกีฬาหรื อกรีฑาก็ได้ แม้ในปัจจุบันในประเทศเยอรมันก็ยังเรียกการพลศึกษาว่า “ยิมนาสติก” จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ระบุว่าชาวจีนได้มีการคิดท่ากายบริหารขึ้นมาเพื่อการบริหารร่ างกายให้ เกิดความแข็งแรง และถือเป็ นการป้ องกันและรักษาโรคได้ด้วย นอกจากนี้ชาวจีนยังรู้ จักการเล่นกายกรรมในลักษณะของการต่อตัว การไต่เชือกและ การตีลังกาแบบต่างๆ ซึ่งมีลักษณะคล้ายยิมนาสติกในปัจจุบัน เชื่อกันว่าชาวกรี กและชาวโรมันเป็ นผู้ริเริ่ มสนใจและฝึ กฝนยิมนาสติกอย่างจริงจัง ชาวกรี กได้เน้นให้เยาวชนได้ฝึ ก ยิมนาสติก เช่น การวิ่ง การกระโดดข้ามเครื่องกีดขวาง การเต้นราประกอบดนตรี และการเล่นเกมต่างๆ โดยเรียกกิจกรรมเหล่านี้ ว่า “ยิมนาสติกเพื่อเยาวชน” ในประเทศเยอรมันได้มีการพัฒนายิมนาสติกขึ้นอย่างจริงจัง ในปี ค.ศ.1776 โยฮัน เบสโดว์ (Basedow Johann Bernhard) ได้บรรจุยิมนาสติกเข้าไว้ในหลักสูตรการพลศึกษา เบสโดว์จึงได้ชื่อว่าเป็ นครูสอนยิมนาสติกคนแรก กิจกรรมยิมนาสติก ที่เขานามาสอนได้แก่ การวิ่ง กระโดดสูง ขี่ม้า ยกน้าหนัก เดินทรงตัวบนคานไม้ ปี นต้นไม้ ว่ายน้า และเกมต่างๆ ต่อมาในปี ค.ศ.1793 กุตมุธส์ (Guts Muths Johann Christian) ชาวเยอรมัน ได้เขียนตารายิมนาสติกขึ้นเป็ นเล่มแรกชื่อ “Gymnastic For Youth” เขาจึงได้ชื่อว่าเป็ นคุณปู่ แห่งวงการยิมนาสติก กิจกรรมต่างๆ ที่เขาได้บรรจุไว้ในหนังสือ เขาได้ใช้ หลักการและการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ พบว่ากิจกรรมเหล่านี้จะพัฒนาคนได้เกือบทุกด้าน กิจกรรมดังกล่าวได้แก่ วิ่งเร็ว กระโดด สูง กระโดดไกล ฟันดาบ ปี นต้นไม้ มวยปล้า การขว้างปา ยิงธนู ว่ายน้า การเต้นรา การเดินทรงตัวบนคานไม้ และเกมต่างๆ ต่อมา จาห์ น (Friedrich Ludwig Jahn) ได้คิดประดิษฐ์ อุปกรณ์และสถานที่สาหรับฝึ กยิมนาสติกขึ้นด้วย เขาจึงได้ชื่อว่า “บิดาแห่งยิมนาสติก” อุปกรณ์ที่เขาได้คิดค้นขึ้น ได้แก่ ราวเดี่ยว (Horizontal Bar) ราวคู่ (Parallel Bar) ม้ากระโดด (Vaulting Horse) คานทรงตัว (Balance Beam) ฟรีเอ็กเซอร์ ไซด์ (Floor Exercise) ม้าหู (Side Horse) ส่วนห่วง (Rings) และราวต่างระดับ (Uneven Bars) คิดขึ้นในสมัยกลาง ต่อมาในปี ค.ศ.1800 นักยิมนาสติกชาวสวีเดนชื่อ “ลิงก์” (Pehr Henrik Ling) ได้นาจังหวะและการประสานงานของท่า ต่างๆ อย่างต่อเนื่องโดยใช้อุปกรณ์ห่วงฮูล่า คฑา และลูกบอลเล็ก ซึ่งปัจจุบันก็คือยิมนาสติกลีลา ยิมนาสติกเริ่มการแข่งขันครั้งแรก ในกีฬาโอลิมปิ กครั้งที่ 1 ณ กรุงเอเธนส์ ประเทศกรี ซ เมื่อปี ค.ศ.1896 ในปี ค.ศ.1903 ตั้งสหพันธ์ยิมนาสติกสากล (Federation International De Gymnastic = FIG) ได้จัดให้มีการแข่งขัน ยิมนาสติกชิงแชมป์ โลกขึ้นนับเป็ นครั้งที่ 7 และให้ เปลี่ยนการแข่งขันเป็ น 4 ปี ต่อครั้ง เหมือนกับกีฬาโอลิมปิ ก โดยจะจัดก่อนกีฬา โอลิมปิ ก 1 ปี
  • 2. ในระยะแรกของการแข่งขันกีฬายิมนาสติกจะแข่งขันเฉพาะชาย ต่อมาในปี ค.ศ.1928 จึงจัดให้มีการแข่งขันประเภท หญิงด้วย (ตรงกับกีฬาโอลิมปิ กครั้งที่ 9 ค.ศ.1928) ในช่วงระยะเวลาที่กล่าวมาแล้ว กิจกรรมยิมนาสติกที่ใช้ในการแข่งขัน มีลักษณะคล้ ายกับยิมนาสติกในปัจจุบัน อีกส่วน หนึ่งก็คล้ายกับกรีฑา บางครั้งก็มีว่ายน้ารวมอยู่ด้วย ทางสหพันธ์ยิมนาสติกสากลจึงคิดว่าควรจะแยกการแข่งขันยิมนาสติกออกจาก กรีฑา ในปี ค.ศ.1952 ได้มีการกาหนดอุปกรณ์ชายมี 6 อุปกรณ์ และหญิงมี 4 อุปกรณ์ ดังนี้ ชาย 6 อุปกรณ์ได้แก่ ฟลอร์ เอ็ก เซอร์ ไซส์ ม้าหู ห่วงนิ่ง ม้ากระโดด ราวเดี่ยว ราวคู่ ส่วนหญิงมี 4 อุปกรณ์ได้แก่ ม้ากระโดด ราวต่างระดับ คานทรงตัว และฟลอร์ เอ็กเซอร์ ไซส์ เรียกยิมนาสติกดังกล่าวนี้ว่า “ยิมนาสติกสากล” (Artistic Gymnastics) จากนั้นยิมนาสติกได้รับการพัฒนาปรับปรุงขึ้นมาเรื่ อยๆ ทั้งทางด้านกติกา เทคนิค วิธีการต่างๆ จนทาให้ยิมนาสติก เจริญก้าวหน้ามาจนถึงทุกวันนี้ และในปี ค.ศ.1970 ยิมนาสติกจากสวีเดนก็ได้รับความนิยมมากขึ้น จึงจัดให้ มีการแข่งขันขึ้น ประเภท การแข่งขันยิมนาสติกนี้ว่า “ยิมนาสติกลีลาใหม่” (Modern Rhythmic Gymnastics) ซึ่งจะแข่งขันเฉพาะหญิงเท่านั้น อุปกรณ์ที่ใช้ ได้แก่ เชือกกระโดด ห่วงฮูล่า ลูกบอล คฑา และริบิ้นประโยชน์ของยืดหยุ่นและยิมนาสติก การแข่งขันยืดหยุ่น 8.1 ยืดหยุ่น มีการแข่งขันแตกต่างไปจากยิมนาสติกสากล โดยการแข่งขันยืดหยุ่นจะไปรวมอยู่ในยิมนาสติกกายกรรม การแข่งขันยืดหยุ่นจะแบ่งการแข่งขันออกเป็ น 3 ประเภท ดังนี้ 8.1.1การแข่งขันประเภทเดี่ยว (Tumbling) มีทั้งชายเดี่ยว และ หญิงเดี่ยว 8.1.2การแข่งขันประเภทคู่ (Pairs) มีทั้งชายคู่ หญิงคู่ และ คู่ผสม 8.1.3การแข่งขันประเภทหมู่ (Group) มี หมู่ชาย 4 คน และ หมู่หญิง 3 คน
  • 3. 8.2 สนามที่ใช้ในการแข่งขันยืดหยุ่น 8.2.1สนามประเภทเดี่ยว กว้าง 1.50 เมตร ยาว 20 เมตร และมีทางวิ่งยาว 10 เมตร 8.2.2 สนามประเภทคู่และหมู่ จะใช้สนามของฟลอร์ เอ็กเซอร์ ไซส์ ขนาด 12 x 12 เมตร 8.3 ลักษณะของการแข่งขันยืดหยุ่น 8.3.1ประเภทเดี่ยว ผู้แสดงจะต้องแสดงท่ายืดหยุ่นติดต่อกันเป็ นชุด ชุดละ 4-5 ท่า เป็ นจานวน 3-6 ชุด (ท่าสมัคร 3 ชุด และท่าบังคับ 3 ชุด) โดยจะต้องแสดงให้ เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กาหนดให้ 8.3.2ประเภทคู่และหมู่ จะเป็ นการต่อตัวผสมกับการเล่นยืดหยุ่นทั้งบนฟลอร์ และท่ากลางอากาศขณะต่อตัว ความสวยงามและการ ให้คะแนนจะดูจากความยากของการต่อตัว ความมั่นคงและการทรงตัวและความพร้ อมเพรียงกันของนักกีฬา การแข่งขันการต่อตัว นี้มักใช้ชื่อว่า “ศิลปกายกรรมต่อตัว” หรือ “กายศิลป์ ” การแสดง ประเภทคู่และหมู่นี้ จะต้องมีเสียงดนตรีประกอบ ผู้แสดงจะต้อง แสดงให้เข้ากับจังหวะดนตรีด้วย ระยะเวลาของการแสดงจะใช้เวลาตั้งแต่ 2 นาที ถึง 3 นาที การแข่งขันยิมนาสติกสากล เป็ นการแข่งขันที่แพร่ หลายที่สุด แบ่งการแข่งขันออกเป็ น ชาย 6 อุปกรณ์ และ หญิง 4 อุปกรณ์ โดย การแข่งขันจะแบ่งออกเป็ น 3 รอบ คือ 9.1.1 รอบที่ 1 (Competition I) เป็ นการแข่งขันประเภททีม ทีมละ 5-6 คน ประเภทนี้มีการแข่งขัน 2 ครั้งคือ ท่าบังคับและท่าสมัคร เป็ นการแข่งขันรอบคัดเลือกเพื่อเข้าแข่งขันในประเภทอื่นๆ 9.1.2 รอบที่ 2 (Competition II) เป็ นการแข่งขันประเภทบุคคลรวม นักกีฬาที่เข้าแข่งขันจะต้องผ่านการคัดเลือก จากการแข่งขันประเภททีมมาแล้ว โดยปกติผู้ที่มีคะแนนสูง 36 คนแรก จะมีสิทธิ์เข้าแข่งขันในประเภทบุคคลรวม 9.1.3 รอบที่ 3 (Competition III) เป็ นการแข่งขันประเภทอุปกรณ์ ผู้เข้าแข่งขันจะส่งเข้าแข่งขันได้อุปกรณ์ ละไม่ เกิน 2 คน โดยคัดเลือกจากประเภททีมเหมือนกัน ผู้ที่คะแนนสูงสุด 6 ถึง 8 คน ก็จะเข้ามาแข่งขันกันใหม่ในรอบนี้ การแข่งขันยิมนาสติกนี้ นักยิมนาสติกทุกคนจะต้องเล่นทุกอุปกรณ์ที่มีอยู่ (ชาย 6 อุปกรณ์ หญิง 4 อุปกรณ์) ใน รอบทีมและรอบบุคคลรวม ผู้เล่นจะต้องแสดงท่าต่างๆ ที่มีความยากง่ายแตกต่างกันเข้าเป็ นชุด ชุดละไม่น้อยกว่า 10 ท่า (ท่าที่เลือกแสดง) Gymnastics Artistic Men's Horizontal Bar Final - London 2012 Olympic Games Highlights - YouTube.FLV http://www.youtube.com/watch?v=y7-Jx4EXcVs