SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal)
ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560)
[189]
บทความที่ :
Article : 8
วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal)
ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560)
[190]
การบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธ
การเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน
The Eco Schools Management Focus on
Learning Outcomes towards Sustainable
Development
สุพรรณี อัครเดชเรืองศรี9
*
,และพฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ**
Supannee Akaradejruangsri and Pruet Siribanpitak
*
หลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
[Doctoral Degree in Educational Administration Program,
Chulalongkorn University]; E-mail: girlgirlt3@@hotmail.com
*
คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย [Fuculty of Education,
Chulalongkorn University], E-mail: pruet.s@chula.ac.th
วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal)
ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560)
[191]
บทคัดยอ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) วิเคราะหสภาพปจจุบันและสภาพที่พึงประสงค
ของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยาง
ยั่งยืน 2) เพื่อศึกษา จุดแข็ง จุดออน โอกาสและภาวะคุกคามของการบริหาร
โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน โดยใชวิธี
วิจัยแบบผสม ประเมินเครื่องมือการวิจัยโดยผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 5 คน ประชากร
ที่ศึกษา คือ โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา จํานวน 91 โรงเรียน ผูใหขอมูล ไดแก
ผูบริหารและครู เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล คือ แบบประเมิน แบบสอบถาม
วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติเชิงบรรยาย ไดแก ความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย และสวน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบวา สภาพปจจุบันของการบริหารโรงเรียน
สิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน มีคาเฉลี่ยอยูใน
ระดับปานกลาง สภาพที่พึงประสงคของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุง
ผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมาก และมีคาเฉลี่ย
สภาพที่พึงประสงคสูงกวาสภาพปจจุบันทุกดาน จุดแข็ง ไดแก การจัดกระบวนการ
เรียนรู การมีสวนรวมและเครือขายดานสิ่งแวดลอมศึกษา จุดออน ไดแก นโยบาย
สิ่งแวดลอมศึกษาและโครงสรางบริหารจัดการ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม โอกาส ไดแก ดานการเมืองและนโยบายของรัฐ และดานเทคโนโลยี
อุปสรรค ไดแก ดานเศรษฐกิจ และสังคม
คําสําคัญ : โรงเรียนสิ่งแวดลอม; การเรียนรู; การพัฒนาอยางยั่งยืน
วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal)
ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560)
[192]
Abstract
The objectives of the research were 1) To examine the current and
desirable states of eco schools management focus on learning
outcomes towards sustainable development. 2) To study strengths
weaknesses opportunities and treats of eco schools management
focus on learning outcomes towards sustainable development. Mixed
methods research was used in this research. Five experts evaluated
the research tools. The research populations were 91 eco schools.
The key informants were the administrators and teachers. The
research instruments consist of conceptual framework assessment
and questionnaires. Data were analyzed by descriptive statistics to
acquire frequency, percentage, mean and standard deviation. The
research results found that the current condition had considerable
mean. The desirable condition had the higher mean which was higher
than the current condition in every aspect. The strengths were the
learning process and participation and networking on environmental
education. The weaknesses were environmental education policy and
management structure. The opportunities were politics and
technologies. The treats were economics and social.
Keywords : Eco schools; Learning; Sustainable Development
วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal)
ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560)
[193]
บทนํา
ในสภาวการณปจจุบันประเทศตางๆทั่วโลกกําลังเผชิญกับสภาวะวิกฤต
ของปญหาสิ่งแวดลอมซึ่งเปนปญหาที่สําคัญและนับวันจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น
ปญหาสิ่งแวดลอมนั้นเกิดจากการที่ประเทศตางๆทั่วโลกมุงเนนการพัฒนาเศรษฐกิจ
และอุตสาหกรรมของประเทศตนเอง ทําใหเกิดการใชทรัพยากรธรรมชาติตางๆของ
โลกอยางฟุมเฟอย ในขณะเดียวกันก็มีการปลอยของเสีย และมลพิษตางๆที่เกิดจาก
กระบวนการผลิตสูสิ่งแวดลอมจนเกินขีดความสามารถของธรรมชาติที่จะกําจัดได
ซึ่งสงผลใหเกิดปญหาภาวะโลกรอน ปญหาภาวะเรือนกระจก การสูญเสียความ
สมดุลของระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ สภาพภูมิอากาศ
แปรปรวน เกิดมหันตภัยทางธรรมชาติที่รุนแรงขึ้น เชน อุทกภัย วาตภัย อัคคีภัย
แผนดินไหว สึนามิ ซึ่งมีสาเหตุจากการผลิตที่ไมมีประสิทธิภาพพฤติกรรมการ
บริโภคของประชาคมโลกอยางฟุมเฟอย สภาวะวิกฤตสิ่งแวดลอมที่กลาวมาขางตน
ทําใหประเทศตางๆทั่วโลกตระหนักถึงปญหาและแสดงความรวมมือ เพื่อแกปญหา
สิ่งแวดลอม และสรางสรรคสังคมที่ยั่งยืน (กาญจนา คุมทรัพย, 2558) ดังจะเห็นได
จากการกลาวถึงสิ่งแวดลอมศึกษาในเวทีผูนําโลกในการประชุมของสหประชาชาติ
วาดวยเรื่องสิ่งแวดลอมมนุษย(The United Nations Conference on the
Human Environment) ที่เมืองสตอกโฮลม ประเทศสวีเดน เมื่อป พ.ศ.2515 การ
ประชุมครั้งนี้เปนที่มาของวันสิ่งแวดลอมโลก (Word Environment Day) คือวันที่
5 มิถุนายน ของทุกป โดยมีขอเสนอแนะขอ96 (Recommendation 96) กลาวถึง
การพัฒนาสิ่งแวดลอมศึกษาในทุกระดับการ ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอก
ระบบและสาธารณชนทั่วไป ตลอดจนการฝกอบรมและการพัฒนาสื่อเพื่อการ
เรียนรูสิ่งแวดลอมศึกษาและไดเสนอแนะวาควรมีโปรแกรมดานสิ่งแวดลอมศึกษา
ระหวางประเทศขึ้น
องคการสหประชาชาติไดจัดมีการประชุมสุดยอดระดับโลก วาดวย
สิ่งแวดลอมและการพัฒนา (The United Nations Conference on
Environment and Development-UNCED) หรือ การประชุมสุดยอดโลก
(Earth Summit) ณ กรุงริโอ เดอ จาเนโรประเทศบราซิล เมื่อป พ.ศ.2535 ผลการ
วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal)
ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560)
[194]
ประชุมนี้ ผูแทนของ 178 ประเทศ (รวมทั้งประเทศไทย) ไดรวมลงนามรับรอง
แผนปฏิบัติการ 21 (Agenda 21) (OLSP,1996) ซึ่งเปนแผนแมบทของโลก เพื่อ
สรางการพัฒนาที่ยั่งยืน
ประเทศไทยใหความสําคัญกับแนวคิดการพัฒนาอยางยั่งยืน ดังจะเห็นได
จากมีการนําแนวคิดการพัฒนาอยางยั่งยืนไปกําหนดไวในรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 ซึ่งเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ
มีเจตนารมณมุงมั่นที่จะพิทักษรักษาสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยเฉพาะดาน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซึ่งบัญญัติไวในมาตรา 66 และมาตรา 67 วา
สิทธิบุคคลและชุมชนในการมีสวนรวมจัดการ บํารุงรักษาและใชประโยชนจาก
ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอยางสมดุลและยั่งยืน และ
กําหนดเพิ่มในมาตรา 85 ไววารัฐตองสงเสริม บํารุงรักษา คุมครองคุณภาพ
สิ่งแวดลอม ตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยประชาชน ชุมชนทองถิ่น และองคกร
ปกครองสวนทองถิ่น ตองมีสวนรวมในการกําหนดแนวทางการดําเนินงาน จาก
รัฐธรรมนูญดังกลาวนําไปสูการจัดทํา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) ซึ่งกําหนดพันธกิจไวดังนี้ “สรางสังคมเปนธรรม
และเปนสังคมที่มีคุณภาพ ทุกคนมีความมั่นคงในชีวิต ไดรับการคุมครองทางสังคม
ที่มีคุณภาพอยางทั่วถึงและเทาเทียม มีโอกาสเขาถึงทรัพยากรและกระบวนการ
ยุติธรรมอยางเสมอภาค ทุกภาคสวนไดรับการเสริมพลังใหสามารถมีสวนรวมใน
กระบวนการพัฒนา ภายใตระบบบริหารจัดการภาครัฐที่โปรงใส เปนธรรม พัฒนา
คุณภาพคนไทยใหมีคุณธรรม เรียนรูตลอดชีวิต มีทักษะและการดํารงชีวิตอยาง
เหมาะสมในแตละชวงวัย สถาบันทางสังคมและชุมชนทองถิ่นมีความเขมแข็ง
สามารถปรับตัวรูเทาทันกับการเปลี่ยนแปลง พัฒนาฐานการผลิตและบริการให
เขมแข็งและมีคุณภาพบนฐานความรู ความคิดสรางสรรค และภูมิปญญา สราง
ความมั่นคงดานอาหารและพลังงาน ปรับโครงสรางการผลิตและการบริโภคใหเปน
มิตรกับสิ่งแวดลอม พรอมสรางความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความ
มั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม สรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชน รวมทั้งสรางภูมิคุมกันเพื่อรองรับ
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ” ซึ่งจะ
วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal)
ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560)
[195]
เห็นไดวาปญหาวิกฤตสิ่งแวดลอมลวนแลวแตเกิดจากฝมือ “มนุษย”ทั้งสิ้น ซึ่งพวก
เราลวนแลวแตไดรับการศึกษาจากในระบบโรงเรียนทั้งสิ้น แตจะเห็นไดวาโรงเรียน
ไมสามารถปลูกฝงแนวคิดในการพัฒนาอยางยั่งยืนใหกับนักเรียนได โรงเรียนจึงควร
ปรับปรุงระบบการบริหารโรงเรียนเพื่อปลูกฝงใหเยาวชนเห็นความสําคัญของการ
พัฒนาอยางยั่งยืน การศึกษาเปนปจจัยสําคัญอยางยิ่งในวิถีของความยั่งยืน
การศึกษาในปจจุบันสามารถพัฒนาคนใหมีปญญามากขึ้น ความรูมากขึ้น มี
คุณธรรม มีความรับผิดชอบ มีความคิดวิเคราะห และความสามารถในการเรียนรู
แตก็ไมสามารถแกปญหาโลกไดอัตโนมัติ จึงมีความจําเปนตองเปลี่ยนแปลง
การศึกษาใหมีพลังในการเสริมสรางความตระหนัก วิสัยทัศน และเทคนิควิธีการใน
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม คานิยม รวมทั้งวิถีชีวิตที่จะนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืน
สอดคลองกับ การดําเนินงานขององคการสหประชาชาติที่ไดประกาศใหป พ.ศ.
2548-2557 เปนทศวรรษแหงการศึกษาเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน (United
Nation Decade of Education for Sustainable Development : DESD) โดย
ใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอมศึกษา วาเปนเครื่องมือสําคัญที่จะใชในการพัฒนา
จิตสํานึกและเจตคติดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม อันจะมี
ผลตอการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการมีสวนรวมพัฒนาประเทศไปสูความยั่งยืน
โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา (Eco School) เปนโครงการที่ริเริ่มโดยกรม
สงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมซึ่งนําเอากระบวนการดานสิ่งแวดลอมศึกษาไปใชใน
โรงเรียน โดยนําแนวคิด Whole School Approach มาเปนกรอบแนวทางในการ
พัฒนาโรงเรียนและมุงใหนักเรียนเปน“พลเมืองเพื่อสิ่งแวดลอม”(Environmental
Citizenship) ผานกรอบการทํางานทั้ง 4 มิติ คือ (1) ดานนโยบายสิ่งแวดลอม
ศึกษาและโครงสรางการบริหารจัดการ (2) ดานการจัดกระบวนการเรียนรู (3) ดาน
ระบบการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม (4) ดานการมีสวนรวมและเครือขาย
สิ่งแวดลอมศึกษา โดยเนนใหโรงเรียนไดวิเคราะหและพัฒนาการบริหารจัดการ
โรงเรียนทั้งระบบในบริบทของทองถิ่นของตนเอง เพื่อนําไปสูการใชทรัพยากรและ
สิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน มีความรักและเห็นคุณคาชุมชนของตน และสามารถ
ดํารงชีวิตภายใตหลักการของความพอเพียงแตจากการศึกษาขอมูลการบริหาร
โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาพบวา การบริหารงานของโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษานั้น
วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal)
ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560)
[196]
โรงเรียนไมไดนําแนวคิดการพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบมาใชในการบริหาร แตเปนการ
ขับเคลื่อนโรงเรียนโดยใชโครงการกิจกรรมมาเปนตัวขับเคลื่อน จากสภาพดังกลาว
ขางตนทําใหมีความจําเปนในการศึกษาสภาพปจจุบันและสภาพที่พึงประสงคของ
การบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน
เพื่อวิเคราะหสภาพปจจุบันและสภาพที่พึงประสงค ของโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา
และนําไปใชในการบริหารงานตอไป
วัตถุประสงคของการวิจัย
1) เพื่อศึกษาสภาพปจจุบันและสภาพที่พึงประสงคของการบริหาร
โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน
2) เพื่อศึกษา จุดแข็ง จุดออน โอกาสและภาวะคุกคามของการบริหาร
โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน
วิธีการวิจัย
ประชากรและกลุมตัวอยาง
ประชากรของการวิจัยครั้งนี้ ไดแก โรงเรียนที่เขารวมโครงการโรงเรียน
สิ่งแวดลอมศึกษา ของกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จํานวน 91 โรงเรียน ผูใหขอมูล ไดแก
ครูโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา วิเคราะหขนาดของกลุมตัวอยาง และ
คํานวณขนาดของกลุมตัวอยาง ดวยการใชสูตรของ Yamane (1976) ที่ระดับความ
เชื่อมั่น 95% (Confidence interval) โดยยอมใหเกิดความคลาดเคลื่อนรอยละ 5
จึงไดขนาดของกลุมตัวอยาง จํานวน 366 คน
ผูบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาประกอบดวย ผูอํานวยการ และรอง
ผูอํานวยการ วิเคราะหขนาดของกลุมตัวอยาง และคํานวณขนาดของกลุมตัวอยาง
ดวยการใชสูตรของ Yamane (1976) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (Confidence
วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal)
ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560)
[197]
interval) โดยยอมใหเกิดความคลาดเคลื่อน รอยละ 5 จึงไดขนาดของกลุมตัวอยาง
จํานวน 128 คน
เครื่องมือวิจัย ประกอบดวย แบบสอบถาม 2 ฉบับ
แบบสอบถามฉบับที่ 1 แบบสอบถามสภาพปจจุบันและสภาพที่พึง
ประสงคของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการ
พัฒนาอยางยั่งยืน สําหรับเก็บขอมูลจากผูบริหารโรงเรียน ประกอบดวย
ผูอํานวยการ และรองผูอํานวยการ
แบบสอบถามฉบับที่ 2 แบบสอบถามสภาพปจจุบันและสภาพที่พึง
ประสงคของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการ
พัฒนาอยางยั่งยืน สําหรับเก็บขอมูลจากครู
ขั้นตอนการวิจัย มีขั้นตอนดังตอไปนี้
ศึกษาสภาพปจจุบันและสภาพที่พึงประสงคของการบริหารโรงเรียน
สิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน ศึกษาคนควา
เอกสาร และงานวิจัยเพื่อกําหนดโครงสรางแบบสอบถาม ตรวจสอบความตรง
(Validity) ของแบบสอบถามโดยการนําแบบสอบถามที่สรางขึ้นไปใหผูทรงคุณวุฒิ
ในการประเมินเครื่องมือวิจัย จํานวน 5 คน ซึ่งประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิดาน
บริหารการศึกษา จํานวน 2 คน ผูทรงคุณวุฒิดานการบริหารสถานศึกษา จํานวน 1
คนผูทรงคุณวุฒิดานสิ่งแวดลอม จํานวน 1 คน ผูทรงคุณวุฒิดานการพัฒนาอยาง
ยั่งยืนจํานวน 1 คน และ ตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถามในดานความตรงเชิง
เนื้อหา (content validity) โดยการพิจารณาคาดัชนีความสอดคลอง (Index of
Consistency : IOC) โดยใชสูตรของ โรวิเนลลี่ (Rovinelli) และแฮมเบิลตัน
(Hamblenton) (ศิริชัย กาญจนวาสี, 2552) ปรากฎวาผลการตรวจสอบคุณภาพ
แบบสอบถามทั้งฉบับไดคา IOC เทากับ 0.93 และตรวจสอบความเที่ยง
(Reliability) ของแบบสอบถามโดยการทดลองใช (Tryout) จากผูบริหารจํานวน 4
คน และครูจํานวน 30 คน ซึ่งผลการตรวจสอบความเที่ยงปรากฏวา คาความเที่ยง
ของแบบสอบถามเมื่อทดสอบกับผูบริหาร มีคาความเที่ยงเทากับ .994
วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal)
ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560)
[198]
การวิเคราะหขอมูล
ผูวิจัยดําเนินการวิเคราะหสภาพปจจุบันและสภาพพึงประสงคของการ
บริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน
โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows หาคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน โดยวิเคราะหภาพรวมและวิเคราะหแยกสภาพแวดลอมภายใน และ
วิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอก
ผลการวิจัย
สภาพแวดลอมภายในและภายนอกของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่
มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน
สภาพแวดลอมภายใน
สภาพปจจุบันของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการ
เรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน จากการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายใน จําแนกตาม
ผลลัพธการเรียนรู อยูในระดับปานกลาง (x = 3.4825) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน
พบวา การจัดกระบวนการเรียนรูมีคาเฉลี่ยสภาพปจจุบันสูงที่สุด (x = 3.4973,
S.D. = .6312) และรองลงมาคือ การมีสวนรวมและเครือขายดานสิ่งแวดลอมศึกษา
(x = 3.4960, S.D. = .7089) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (x
= 3.4685, S.D. = .6365) และนโยบายสิ่งแวดลอมศึกษาและโครงสรางบริหาร
จัดการมีคาเฉลี่ยสภาพปจจุบันต่ําที่สุด (x = 3.4684, S.D. = .6099)
สภาพที่พึงประสงคของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธ
การเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน จากการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายใน จําแนก
ตามผลลัพธการเรียนรู อยูในระดับมาก (x = 4.4690, S.D. = .4966) เมื่อ
พิจารณาเปนรายดานพบวา นโยบายสิ่งแวดลอมศึกษาและโครงสรางบริหารจัดการ
มีคาเฉลี่ยสภาพปจจุบันสูงที่สุด (x = 4.5015, S.D. = .5004) และรองลงมาคือ
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (x = 4.4752, S.D. = .5296) การ
มีสวนรวมและเครือขายดานสิ่งแวดลอมศึกษา (x = 4.4586, S.D. = .5585) และ
วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal)
ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560)
[199]
การจัดกระบวนการเรียนรูมีคาเฉลี่ยสภาพปจจุบันต่ําที่สุด (x = 4.4406, S.D. =
.5237)
สภาพแวดลอมภายนอก
สภาพปจจุบันของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการ
เรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืนจากการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอกโดย
ภาพรวม ปจจัยภายนอกที่เอื้อตอการบริหารทั้งดานการเมืองและนโยบายของรัฐ
เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี อยูในระดับปานกลาง (x= 3.4127) ปจจัยที่มี
คาเฉลี่ยสูงที่สุดคือ เทคโนโลยี (x = 3.4277, S.D. = .7461) รองลงมาคือ ดาน
การเมืองและนโยบายของรัฐ (x = 3.4254) ดานสังคม (x = 3.4161) และดาน
เศรษฐกิจมีคาเฉลี่ยสภาพปจจุบันต่ําที่สุด (x= 3.3818)
สภาพที่พึงประสงคของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธ
การเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน จากการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอก โดย
ภาพรวมอยูในระดับมาก (x = 4.4703) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ดาน
เศรษฐกิจ มีคาเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงคสูงที่สุด (x = 4.4851) และรองลงมาคือ
ดานเทคโนโลยี (x = 4.4722) ดานสังคม (x = 4.4634) และดานการเมืองและ
นโยบายของรัฐ มีคาเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงคต่ําที่สุด (x = 4.4632)
จุดแข็ง จุดออน โอกาสและภาวะคุกคามของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอม
ศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน
1. จุดแข็ง จุดออน ของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธ
การเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืนของสภาพแวดลอมภายใน การจัดกระบวนการ
เรียนรู การมีสวนรวมและเครือขายดานสิ่งแวดลอมศึกษา เปนจุดแข็งของการ
บริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน
นโยบายสิ่งแวดลอมศึกษาและโครงสรางการบริหารจัดการ และการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนจุดออนของการบริหารโรงเรียน
สิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน
2. โอกาส และภาวะคุกคาม ของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา
โดยภาพรวม โดยภาพรวมปจจัยที่ภายนอกที่เปนโอกาสของการบริหารโรงเรียน
วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal)
ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560)
[200]
สิ่งแวดลอมศึกษา ไดแก ปจจัยดานการเมืองและนโยบายของรัฐ ปจจัยดานสังคม
และปจจัยดานเทคโนโลยี ปจจัยภายนอกที่เปนภาวะคุกคามตอการบริหารโรงเรียน
สิ่งแวดลอมศึกษา ไดแกปจจัยดานเศรษฐกิจ
การอภิปรายผลการวิจัย
สภาพปจจุบันของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการ
เรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืนอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดาน
พบวาดานที่ไดคะแนนเฉลี่ยสูงสุดไดแก ดานการจัดกระบวนการเรียนรู ดานการมี
สวนรวมและเครือขายดานสิ่งแวดลอมศึกษา ดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม และดานนโยบายสิ่งแวดลอมศึกษาและโครงสรางบริหารจัดการ
ตามลําดับ สภาพที่พึงประสงคของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุง
ผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืนอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนราย
ดานพบวาดานที่ไดคะแนนเฉลี่ยสูงสุดไดแก ดานนโยบายสิ่งแวดลอมศึกษาและ
โครงสรางบริหารจัดการ ดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดาน
การมีสวนรวมและเครือขายดานสิ่งแวดลอมศึกษา และดานการจัดกระบวนการ
เรียนรูมีคาเฉลี่ยสภาพปจจุบันต่ําที่สุด ตามลําดับ ซึ่งจากผลดังกลาวจะเห็นไดวา
สภาพปจจุบันและสภาพที่พึงประสงคของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่
มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน มีทิศทางที่กลับดานกัน แสดงใหเห็น
วา การบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษายังขาดนโยบาย แนวทางการดําเนินงาน
โครงสรางการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอม และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอมภายในโรงเรียน ยังมีวิธีการและองคความรูไมมากพอที่จะจัดการ
กับทรัพยากรและสภาพแวดลอม ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของ วรรณภา นิ
ติมงคงชัยและเพ็ญแข ธรรมเสนานุภาพ (2010) พบวาในดานการดําเนินงาน
สิ่งแวดลอมศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งในและนอกระบบ ผูบริหาร
โรงเรียนตองใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอมศึกษาโดยกําหนดเปนนโยบาย วิสัยทัศน
และพันธกิจของโรงเรียน และตองใหความสําคัญในการจัดทําหลักสูตรและสามารถ
เชื่อมโยงนโยบายการจัดทําหลักสูตรและตองใหความสําคัญในการจัดทําหลักสูตร
วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal)
ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560)
[201]
และสามารถเชื่อมโยงนโยบายการจัดทําหลักสูตรและเนื้อหาสาระดานสิ่งแวดลอม
ศึกษากับนโยบายการศึกษาแหงชาติได
จุดแข็งของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาจากการวิเคราะห
สภาพแวดลอมภายในพบวา การจัดกระบวนการเรียนรู การมีสวนรวมและ
เครือขายดานสิ่งแวดลอมศึกษา เปนจุดแข็ง เนื่องจากมีคาความตองการจําเปนอยู
ในกลุมต่ํา นั้นแสดงใหเห็นวาการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา ใชการจัด
กระบวนการเรียนรูของกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ในการบริหารโรงเรียน
สิ่งแวดลอมศึกษา โดยจัดมีการจัดหลักสูตร กิจกรรมพัฒนาผูเรียน และการสงเสริม
การพัฒนาครู และใชการมีสวนรวมและเครือขายดานสิ่งแวดลอมศึกษาในการ
บริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา จุดออนของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอม
ศึกษา จากการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในพบวา นโยบายสิ่งแวดลอมศึกษา
และโครงสรางการบริหารจัดการ และ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม เปนจุดออน เนื่องจากมีคาความตองการจําเปนอยูในกลุมสูง แสดงให
เห็นวา การบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา ยังขาดนโยบายดานสิ่งแวดลอมศึกษา
วิธีการดําเนินงานที่ชัดเจน และไมมีวิธีการบริหารจัดการกับทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของวรรณภา นิติมงคลชัยและเพ็ญแข
ธรรมเสนานุภาพ (2010: 188-196) พบประเด็น ดังกลาวเชนกันและมี
ขอเสนอแนะวา การดําเนินงานสิ่งแวดลอมศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งใน
และ นอกระบบ ผูบริหารโรงเรียนควรใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอมศึกษาโดย
กําหนดเปนนโยบาย วิสัยทัศน และ พันธกิจของโรงเรียน และควรใหความสําคัญใน
การจัดทําหลักสูตรและสามารถเชื่อมโยงนโยบายการจัดทํา หลักสูตรและเนื้อหา
สาระดานสิ่งแวดลอมศึกษากับนโยบายการศึกษาแหงชาติได
โอกาสของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสู
การพัฒนาอยางยั่งยืน ไดแก โอกาสดานสังคม ซึ่งจะเห็นไดวาสังคมในปจจุบันไมวา
จะเปนสังคมไทย หรือตางประเทศ ไดใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอมมากขึ้น นั่น
ยอมเปนโอกาสที่จะทําใหโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาสามารถดึงผูมีสวนไดสวนเสีย
ภายในสังคม ชุมชนมามีสวนรวมในการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา โอกาส
ดานเทคโนโลยี ปจจุบันเทคโนโลยีถูกพัฒนาอยางรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพหาก
วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal)
ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560)
[202]
โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษานําเทคโนโลยี นวัตกรรมใหมมาประยุกตใชกับการ
บริหารงานโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา ก็จะทําใหโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาสามารถ
จัดการกับทรัพยากรที่มีอยูไดอยางมีประสิทธิภาพ โอกาสดานดานการเมืองและ
นโยบายของรัฐ ภาครัฐมีการกําหนดใหมีการสงเสริมและสนับสนุนงานดาน
สิ่งแวดลอม ไมวาจะเปนดานนโยบาย หรือดานงบประมาณ ทําใหโรงเรียน
สิ่งแวดลอมศึกษาสามารถเขียนโครงการเพื่อของบประมาณใหเขากับแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ภาวะคุกคามของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอม
ศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน คือภาวะคุกคามดานเศรษฐกิจ
โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาบางแหงไดรับงบประมาณจํากัด ทําใหเกิดปญหาในการ
บริหารจัดการโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของกองวิจัย
ทางการศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2545) การจัดการเรียนการสอน
เกี่ยวกับการอนุรักษสิ่งแวดลอม พบวา ครูขาดทักษะ ความรู ความเขาใจในการ
จัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับการอนุรักษพัฒนาสิ่งแวดลอม และยังพบปญหาระดับ
มากในดานงบประมาณ ดานสื่อการเรียนการสอน ดานความรวมมือระหวาง
สถานศึกษากับชุมชนเรื่องสิ่งแวดลอม ดานการจัดบรรยากาศและสภาพแวดลอม
ของสถานศึกษาดานการจัดกิจกรรมรณรงคและรักษาสิ่งแวดลอมในสถานศึกษา
ดานการบริหารงานสิ่งแวดลอมในสถานศึกษาและดานสัมพันธภาพระหวาง
บุคลากรในสถานศึกษา
ขอเสนอแนะ
1. จากผลการวิจัย พบวา สภาพปจจุบันของการบริหารโรงเรียน
สิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืนอยูในระดับปาน
กลาง ดังนั้นเพื่อการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการ
พัฒนาอยางยั่งยืน จึงขอเสนอแนะดังนี้ 1) ดานการจัดกระบวนการเรียนรู โรงเรียน
สิ่งแวดลอมควรรีบดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรโดยบูรณาการแนวคิดสิ่งแวดลอม
ศึกษาและการพัฒนาอยางยั่งยืน 2) พัฒนาครูใหมีความรู มีทักษะ ในการจัด
กระบวนการเรียนรู ในดานสิ่งแวดลอมศึกษา และ 3) โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา
วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal)
ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560)
[203]
ควรสงเสริมใหเกิดทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการดําเนินงานสิ่งแวดลอมภายใน
โรงเรียน
2. จากผลการวิจัย พบวา สภาพที่พึงประสงคของการบริหารโรงเรียน
สิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืนอยูในระดับมาก
ดังนั้นเพื่อการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนา
อยางยั่งยืน จึงเสนอแนะวา 1) ภาครัฐควรกําหนดนโยบายใหมีการปลูกจิตสํานึก
รักษสิ่งแวดลอม โดยจัดทําหลักสูตร สรางแหลงการเรียนและสื่อการเรียนรูที่เปน
มิตรกับสิ่งแวดลอม 2) โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา ควรเปดโอกาสใหทุกภาคสวนที่
เกี่ยวของเขามามีสวนรวมในการกําหนดนโยบาย วิสัยทัศน ดานสิ่งแวดลอมศึกษา
ใหชัดเจน และ 3) โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา ควรจัดทําแผนการใชน้ํา ใชไฟฟา
การใชพลังงานเพื่อบันทึกเปนสถิติ เพื่อเปรียบเทียบการใชพลังงานเหลานั้น และนํา
ผลขอมูล ไปปรับปรุงการใชพลังงานงาน
วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal)
ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560)
[204]
เอกสารอางอิง
กาญจนา คุมทรัพย. (2558). สิทธิชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอยาง
ยั่งยืน : กรณีศึกษาปาชุมชนในจังหวัดอุบลราชธานี, วารสารการบริหาร
ปกครอง, 4 (1) : 141 – 157
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. สํานักงาน. (2554).
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-
2559). กรุงเทพ: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติ.
พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ. (2553). การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน:
พื้นฐานการศึกษาดานเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพไทยสัมพันธ.
วรรณภา นิติมลคงชัยและเพ็ญแข ธรรมเสนานุภาพ. (2553). อนาคตภาพ
แนวทางการดําเนินงานสิ่งแวดลอมศึกษาของไทย ในทศวรรษหนา
(พ.ศ.2550-2559). AEE - T Journal of Environmental
Education, 1 (2) :183-201.
ศาลรัฐธรรมนูญ. สํานักงาน. (2550). รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.
2550.(Online), สืบจาก http://www.ombudsman.go.th/10/
documents/law/constitution2550.pdf, เมื่อ 25 กุมภาพันธ 2555.
ศิริชัย กาญจนวาสี. 2552. ทฤษฎีการทดสอบแบบบดั้งเดิม. พิมพครั้งที่ 6.
กรุงเทพ: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ศึกษาธิการ. กระทรวง. กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ. (2555). การ
สังเคราะหการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับการอนุรักษพัฒนา
สิ่งแวดลอม. (Online), สืบคนจาก
http://www.thaiedresearch.org/thaied/index. php.,เมื่อ 25
กุมภาพันธ 2555.
Ontario Learning for Sustainability Partnership (OLSP). (1996). Learning
วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal)
ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560)
[205]
for Sustainability: Essential Outcomes and Classroom
Learning Strategies. Toronto: OLSP.
UNESCO. (1997). Education for a Sustainable Future: A Trans
disciplinary Vision for Concerted Action. Paris: UNESCO.
UNESCO. (2005). Working Paper: Asia-Asia-Pacific Regional Strategy
for Education for Sustainable Development. 2nd
ed.
Bangkok: UNESCO (Bangkok Compus).
UNESCO. (2013). UN Decade of Education for Sustainable
Development. (Online), Retrieved from
http://unesdoc.unesco .org/
images/0015/001540/154093e.pdf, February 25, 2013.
Yamane, T. (1976). Statistic: An introductory Analysis. 3rd
ed.
New York: Harper and Raw Publication.1976.
Translated Thai References
Kanjanawasee, S. (2009). Evaluation Theory. Bangkok. Chulalongkorn
Print Publishing.
Kumsap, K. (2005). Community Rights and Sustainable Natural
Resources Management : A Case Study of Community Forest
in Ubon Ratchathani Province, Governance Journal, 4 (1) :
141 - 157
Ministry of Education. Educational Research Division, Department of
Academic. (2012). An Analysis of Teaching and Learning in
Environmental Conservation. (Online), Retrieved from
http://www.thaiedresearch.org/thaied/index. Php, February
25, 2012.
วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal)
ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560)
[206]
Nitimongkolchai, W. and Penkhae, T. (2013). Comparision between
futuristic scenario trend of working guildelines on
environmental education in Thailand in next decade and
international level (2007 - 2016), AEE – T Journal of
Environmental Education. 1 (2) : 183-201.
Office of the Constitional Court. (2012). Constitution of the Kingdom
of Thailand BE 2550. (Online), Retrieved from
http://www.ombudsman.go.th/10/documents/law/constitutio
n 2550.pdf, February 25, 2012.
Office of the National Economic and Social Development Board.
(2011). The Eleventh National Economic and Social
Development Plan (2012-2016). Bangkok : Office of the
National Economic and Social Development Board..
Siribanpitak, P. (2010). Education for Sustainable Development:
The basic in economy, society and environment. Bangkok:
Thaisampun Print Publishing.

More Related Content

Featured

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

2

  • 1. วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal) ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560) [189] บทความที่ : Article : 8
  • 2. วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal) ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560) [190] การบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธ การเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน The Eco Schools Management Focus on Learning Outcomes towards Sustainable Development สุพรรณี อัครเดชเรืองศรี9 * ,และพฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ** Supannee Akaradejruangsri and Pruet Siribanpitak * หลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย [Doctoral Degree in Educational Administration Program, Chulalongkorn University]; E-mail: girlgirlt3@@hotmail.com * คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย [Fuculty of Education, Chulalongkorn University], E-mail: pruet.s@chula.ac.th
  • 3. วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal) ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560) [191] บทคัดยอ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) วิเคราะหสภาพปจจุบันและสภาพที่พึงประสงค ของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยาง ยั่งยืน 2) เพื่อศึกษา จุดแข็ง จุดออน โอกาสและภาวะคุกคามของการบริหาร โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน โดยใชวิธี วิจัยแบบผสม ประเมินเครื่องมือการวิจัยโดยผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 5 คน ประชากร ที่ศึกษา คือ โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา จํานวน 91 โรงเรียน ผูใหขอมูล ไดแก ผูบริหารและครู เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล คือ แบบประเมิน แบบสอบถาม วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติเชิงบรรยาย ไดแก ความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย และสวน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบวา สภาพปจจุบันของการบริหารโรงเรียน สิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน มีคาเฉลี่ยอยูใน ระดับปานกลาง สภาพที่พึงประสงคของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุง ผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมาก และมีคาเฉลี่ย สภาพที่พึงประสงคสูงกวาสภาพปจจุบันทุกดาน จุดแข็ง ไดแก การจัดกระบวนการ เรียนรู การมีสวนรวมและเครือขายดานสิ่งแวดลอมศึกษา จุดออน ไดแก นโยบาย สิ่งแวดลอมศึกษาและโครงสรางบริหารจัดการ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม โอกาส ไดแก ดานการเมืองและนโยบายของรัฐ และดานเทคโนโลยี อุปสรรค ไดแก ดานเศรษฐกิจ และสังคม คําสําคัญ : โรงเรียนสิ่งแวดลอม; การเรียนรู; การพัฒนาอยางยั่งยืน
  • 4. วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal) ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560) [192] Abstract The objectives of the research were 1) To examine the current and desirable states of eco schools management focus on learning outcomes towards sustainable development. 2) To study strengths weaknesses opportunities and treats of eco schools management focus on learning outcomes towards sustainable development. Mixed methods research was used in this research. Five experts evaluated the research tools. The research populations were 91 eco schools. The key informants were the administrators and teachers. The research instruments consist of conceptual framework assessment and questionnaires. Data were analyzed by descriptive statistics to acquire frequency, percentage, mean and standard deviation. The research results found that the current condition had considerable mean. The desirable condition had the higher mean which was higher than the current condition in every aspect. The strengths were the learning process and participation and networking on environmental education. The weaknesses were environmental education policy and management structure. The opportunities were politics and technologies. The treats were economics and social. Keywords : Eco schools; Learning; Sustainable Development
  • 5. วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal) ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560) [193] บทนํา ในสภาวการณปจจุบันประเทศตางๆทั่วโลกกําลังเผชิญกับสภาวะวิกฤต ของปญหาสิ่งแวดลอมซึ่งเปนปญหาที่สําคัญและนับวันจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ปญหาสิ่งแวดลอมนั้นเกิดจากการที่ประเทศตางๆทั่วโลกมุงเนนการพัฒนาเศรษฐกิจ และอุตสาหกรรมของประเทศตนเอง ทําใหเกิดการใชทรัพยากรธรรมชาติตางๆของ โลกอยางฟุมเฟอย ในขณะเดียวกันก็มีการปลอยของเสีย และมลพิษตางๆที่เกิดจาก กระบวนการผลิตสูสิ่งแวดลอมจนเกินขีดความสามารถของธรรมชาติที่จะกําจัดได ซึ่งสงผลใหเกิดปญหาภาวะโลกรอน ปญหาภาวะเรือนกระจก การสูญเสียความ สมดุลของระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ สภาพภูมิอากาศ แปรปรวน เกิดมหันตภัยทางธรรมชาติที่รุนแรงขึ้น เชน อุทกภัย วาตภัย อัคคีภัย แผนดินไหว สึนามิ ซึ่งมีสาเหตุจากการผลิตที่ไมมีประสิทธิภาพพฤติกรรมการ บริโภคของประชาคมโลกอยางฟุมเฟอย สภาวะวิกฤตสิ่งแวดลอมที่กลาวมาขางตน ทําใหประเทศตางๆทั่วโลกตระหนักถึงปญหาและแสดงความรวมมือ เพื่อแกปญหา สิ่งแวดลอม และสรางสรรคสังคมที่ยั่งยืน (กาญจนา คุมทรัพย, 2558) ดังจะเห็นได จากการกลาวถึงสิ่งแวดลอมศึกษาในเวทีผูนําโลกในการประชุมของสหประชาชาติ วาดวยเรื่องสิ่งแวดลอมมนุษย(The United Nations Conference on the Human Environment) ที่เมืองสตอกโฮลม ประเทศสวีเดน เมื่อป พ.ศ.2515 การ ประชุมครั้งนี้เปนที่มาของวันสิ่งแวดลอมโลก (Word Environment Day) คือวันที่ 5 มิถุนายน ของทุกป โดยมีขอเสนอแนะขอ96 (Recommendation 96) กลาวถึง การพัฒนาสิ่งแวดลอมศึกษาในทุกระดับการ ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอก ระบบและสาธารณชนทั่วไป ตลอดจนการฝกอบรมและการพัฒนาสื่อเพื่อการ เรียนรูสิ่งแวดลอมศึกษาและไดเสนอแนะวาควรมีโปรแกรมดานสิ่งแวดลอมศึกษา ระหวางประเทศขึ้น องคการสหประชาชาติไดจัดมีการประชุมสุดยอดระดับโลก วาดวย สิ่งแวดลอมและการพัฒนา (The United Nations Conference on Environment and Development-UNCED) หรือ การประชุมสุดยอดโลก (Earth Summit) ณ กรุงริโอ เดอ จาเนโรประเทศบราซิล เมื่อป พ.ศ.2535 ผลการ
  • 6. วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal) ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560) [194] ประชุมนี้ ผูแทนของ 178 ประเทศ (รวมทั้งประเทศไทย) ไดรวมลงนามรับรอง แผนปฏิบัติการ 21 (Agenda 21) (OLSP,1996) ซึ่งเปนแผนแมบทของโลก เพื่อ สรางการพัฒนาที่ยั่งยืน ประเทศไทยใหความสําคัญกับแนวคิดการพัฒนาอยางยั่งยืน ดังจะเห็นได จากมีการนําแนวคิดการพัฒนาอยางยั่งยืนไปกําหนดไวในรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 ซึ่งเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ มีเจตนารมณมุงมั่นที่จะพิทักษรักษาสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยเฉพาะดาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซึ่งบัญญัติไวในมาตรา 66 และมาตรา 67 วา สิทธิบุคคลและชุมชนในการมีสวนรวมจัดการ บํารุงรักษาและใชประโยชนจาก ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอยางสมดุลและยั่งยืน และ กําหนดเพิ่มในมาตรา 85 ไววารัฐตองสงเสริม บํารุงรักษา คุมครองคุณภาพ สิ่งแวดลอม ตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยประชาชน ชุมชนทองถิ่น และองคกร ปกครองสวนทองถิ่น ตองมีสวนรวมในการกําหนดแนวทางการดําเนินงาน จาก รัฐธรรมนูญดังกลาวนําไปสูการจัดทํา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) ซึ่งกําหนดพันธกิจไวดังนี้ “สรางสังคมเปนธรรม และเปนสังคมที่มีคุณภาพ ทุกคนมีความมั่นคงในชีวิต ไดรับการคุมครองทางสังคม ที่มีคุณภาพอยางทั่วถึงและเทาเทียม มีโอกาสเขาถึงทรัพยากรและกระบวนการ ยุติธรรมอยางเสมอภาค ทุกภาคสวนไดรับการเสริมพลังใหสามารถมีสวนรวมใน กระบวนการพัฒนา ภายใตระบบบริหารจัดการภาครัฐที่โปรงใส เปนธรรม พัฒนา คุณภาพคนไทยใหมีคุณธรรม เรียนรูตลอดชีวิต มีทักษะและการดํารงชีวิตอยาง เหมาะสมในแตละชวงวัย สถาบันทางสังคมและชุมชนทองถิ่นมีความเขมแข็ง สามารถปรับตัวรูเทาทันกับการเปลี่ยนแปลง พัฒนาฐานการผลิตและบริการให เขมแข็งและมีคุณภาพบนฐานความรู ความคิดสรางสรรค และภูมิปญญา สราง ความมั่นคงดานอาหารและพลังงาน ปรับโครงสรางการผลิตและการบริโภคใหเปน มิตรกับสิ่งแวดลอม พรอมสรางความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความ มั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม สรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชน รวมทั้งสรางภูมิคุมกันเพื่อรองรับ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ” ซึ่งจะ
  • 7. วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal) ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560) [195] เห็นไดวาปญหาวิกฤตสิ่งแวดลอมลวนแลวแตเกิดจากฝมือ “มนุษย”ทั้งสิ้น ซึ่งพวก เราลวนแลวแตไดรับการศึกษาจากในระบบโรงเรียนทั้งสิ้น แตจะเห็นไดวาโรงเรียน ไมสามารถปลูกฝงแนวคิดในการพัฒนาอยางยั่งยืนใหกับนักเรียนได โรงเรียนจึงควร ปรับปรุงระบบการบริหารโรงเรียนเพื่อปลูกฝงใหเยาวชนเห็นความสําคัญของการ พัฒนาอยางยั่งยืน การศึกษาเปนปจจัยสําคัญอยางยิ่งในวิถีของความยั่งยืน การศึกษาในปจจุบันสามารถพัฒนาคนใหมีปญญามากขึ้น ความรูมากขึ้น มี คุณธรรม มีความรับผิดชอบ มีความคิดวิเคราะห และความสามารถในการเรียนรู แตก็ไมสามารถแกปญหาโลกไดอัตโนมัติ จึงมีความจําเปนตองเปลี่ยนแปลง การศึกษาใหมีพลังในการเสริมสรางความตระหนัก วิสัยทัศน และเทคนิควิธีการใน การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม คานิยม รวมทั้งวิถีชีวิตที่จะนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืน สอดคลองกับ การดําเนินงานขององคการสหประชาชาติที่ไดประกาศใหป พ.ศ. 2548-2557 เปนทศวรรษแหงการศึกษาเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน (United Nation Decade of Education for Sustainable Development : DESD) โดย ใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอมศึกษา วาเปนเครื่องมือสําคัญที่จะใชในการพัฒนา จิตสํานึกและเจตคติดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม อันจะมี ผลตอการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการมีสวนรวมพัฒนาประเทศไปสูความยั่งยืน โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา (Eco School) เปนโครงการที่ริเริ่มโดยกรม สงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมซึ่งนําเอากระบวนการดานสิ่งแวดลอมศึกษาไปใชใน โรงเรียน โดยนําแนวคิด Whole School Approach มาเปนกรอบแนวทางในการ พัฒนาโรงเรียนและมุงใหนักเรียนเปน“พลเมืองเพื่อสิ่งแวดลอม”(Environmental Citizenship) ผานกรอบการทํางานทั้ง 4 มิติ คือ (1) ดานนโยบายสิ่งแวดลอม ศึกษาและโครงสรางการบริหารจัดการ (2) ดานการจัดกระบวนการเรียนรู (3) ดาน ระบบการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม (4) ดานการมีสวนรวมและเครือขาย สิ่งแวดลอมศึกษา โดยเนนใหโรงเรียนไดวิเคราะหและพัฒนาการบริหารจัดการ โรงเรียนทั้งระบบในบริบทของทองถิ่นของตนเอง เพื่อนําไปสูการใชทรัพยากรและ สิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน มีความรักและเห็นคุณคาชุมชนของตน และสามารถ ดํารงชีวิตภายใตหลักการของความพอเพียงแตจากการศึกษาขอมูลการบริหาร โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาพบวา การบริหารงานของโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษานั้น
  • 8. วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal) ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560) [196] โรงเรียนไมไดนําแนวคิดการพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบมาใชในการบริหาร แตเปนการ ขับเคลื่อนโรงเรียนโดยใชโครงการกิจกรรมมาเปนตัวขับเคลื่อน จากสภาพดังกลาว ขางตนทําใหมีความจําเปนในการศึกษาสภาพปจจุบันและสภาพที่พึงประสงคของ การบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน เพื่อวิเคราะหสภาพปจจุบันและสภาพที่พึงประสงค ของโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา และนําไปใชในการบริหารงานตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย 1) เพื่อศึกษาสภาพปจจุบันและสภาพที่พึงประสงคของการบริหาร โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน 2) เพื่อศึกษา จุดแข็ง จุดออน โอกาสและภาวะคุกคามของการบริหาร โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน วิธีการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรของการวิจัยครั้งนี้ ไดแก โรงเรียนที่เขารวมโครงการโรงเรียน สิ่งแวดลอมศึกษา ของกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จํานวน 91 โรงเรียน ผูใหขอมูล ไดแก ครูโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา วิเคราะหขนาดของกลุมตัวอยาง และ คํานวณขนาดของกลุมตัวอยาง ดวยการใชสูตรของ Yamane (1976) ที่ระดับความ เชื่อมั่น 95% (Confidence interval) โดยยอมใหเกิดความคลาดเคลื่อนรอยละ 5 จึงไดขนาดของกลุมตัวอยาง จํานวน 366 คน ผูบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาประกอบดวย ผูอํานวยการ และรอง ผูอํานวยการ วิเคราะหขนาดของกลุมตัวอยาง และคํานวณขนาดของกลุมตัวอยาง ดวยการใชสูตรของ Yamane (1976) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (Confidence
  • 9. วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal) ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560) [197] interval) โดยยอมใหเกิดความคลาดเคลื่อน รอยละ 5 จึงไดขนาดของกลุมตัวอยาง จํานวน 128 คน เครื่องมือวิจัย ประกอบดวย แบบสอบถาม 2 ฉบับ แบบสอบถามฉบับที่ 1 แบบสอบถามสภาพปจจุบันและสภาพที่พึง ประสงคของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการ พัฒนาอยางยั่งยืน สําหรับเก็บขอมูลจากผูบริหารโรงเรียน ประกอบดวย ผูอํานวยการ และรองผูอํานวยการ แบบสอบถามฉบับที่ 2 แบบสอบถามสภาพปจจุบันและสภาพที่พึง ประสงคของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการ พัฒนาอยางยั่งยืน สําหรับเก็บขอมูลจากครู ขั้นตอนการวิจัย มีขั้นตอนดังตอไปนี้ ศึกษาสภาพปจจุบันและสภาพที่พึงประสงคของการบริหารโรงเรียน สิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน ศึกษาคนควา เอกสาร และงานวิจัยเพื่อกําหนดโครงสรางแบบสอบถาม ตรวจสอบความตรง (Validity) ของแบบสอบถามโดยการนําแบบสอบถามที่สรางขึ้นไปใหผูทรงคุณวุฒิ ในการประเมินเครื่องมือวิจัย จํานวน 5 คน ซึ่งประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิดาน บริหารการศึกษา จํานวน 2 คน ผูทรงคุณวุฒิดานการบริหารสถานศึกษา จํานวน 1 คนผูทรงคุณวุฒิดานสิ่งแวดลอม จํานวน 1 คน ผูทรงคุณวุฒิดานการพัฒนาอยาง ยั่งยืนจํานวน 1 คน และ ตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถามในดานความตรงเชิง เนื้อหา (content validity) โดยการพิจารณาคาดัชนีความสอดคลอง (Index of Consistency : IOC) โดยใชสูตรของ โรวิเนลลี่ (Rovinelli) และแฮมเบิลตัน (Hamblenton) (ศิริชัย กาญจนวาสี, 2552) ปรากฎวาผลการตรวจสอบคุณภาพ แบบสอบถามทั้งฉบับไดคา IOC เทากับ 0.93 และตรวจสอบความเที่ยง (Reliability) ของแบบสอบถามโดยการทดลองใช (Tryout) จากผูบริหารจํานวน 4 คน และครูจํานวน 30 คน ซึ่งผลการตรวจสอบความเที่ยงปรากฏวา คาความเที่ยง ของแบบสอบถามเมื่อทดสอบกับผูบริหาร มีคาความเที่ยงเทากับ .994
  • 10. วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal) ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560) [198] การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยดําเนินการวิเคราะหสภาพปจจุบันและสภาพพึงประสงคของการ บริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows หาคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน โดยวิเคราะหภาพรวมและวิเคราะหแยกสภาพแวดลอมภายใน และ วิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอก ผลการวิจัย สภาพแวดลอมภายในและภายนอกของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่ มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน สภาพแวดลอมภายใน สภาพปจจุบันของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการ เรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน จากการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายใน จําแนกตาม ผลลัพธการเรียนรู อยูในระดับปานกลาง (x = 3.4825) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา การจัดกระบวนการเรียนรูมีคาเฉลี่ยสภาพปจจุบันสูงที่สุด (x = 3.4973, S.D. = .6312) และรองลงมาคือ การมีสวนรวมและเครือขายดานสิ่งแวดลอมศึกษา (x = 3.4960, S.D. = .7089) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (x = 3.4685, S.D. = .6365) และนโยบายสิ่งแวดลอมศึกษาและโครงสรางบริหาร จัดการมีคาเฉลี่ยสภาพปจจุบันต่ําที่สุด (x = 3.4684, S.D. = .6099) สภาพที่พึงประสงคของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธ การเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน จากการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายใน จําแนก ตามผลลัพธการเรียนรู อยูในระดับมาก (x = 4.4690, S.D. = .4966) เมื่อ พิจารณาเปนรายดานพบวา นโยบายสิ่งแวดลอมศึกษาและโครงสรางบริหารจัดการ มีคาเฉลี่ยสภาพปจจุบันสูงที่สุด (x = 4.5015, S.D. = .5004) และรองลงมาคือ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (x = 4.4752, S.D. = .5296) การ มีสวนรวมและเครือขายดานสิ่งแวดลอมศึกษา (x = 4.4586, S.D. = .5585) และ
  • 11. วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal) ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560) [199] การจัดกระบวนการเรียนรูมีคาเฉลี่ยสภาพปจจุบันต่ําที่สุด (x = 4.4406, S.D. = .5237) สภาพแวดลอมภายนอก สภาพปจจุบันของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการ เรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืนจากการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอกโดย ภาพรวม ปจจัยภายนอกที่เอื้อตอการบริหารทั้งดานการเมืองและนโยบายของรัฐ เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี อยูในระดับปานกลาง (x= 3.4127) ปจจัยที่มี คาเฉลี่ยสูงที่สุดคือ เทคโนโลยี (x = 3.4277, S.D. = .7461) รองลงมาคือ ดาน การเมืองและนโยบายของรัฐ (x = 3.4254) ดานสังคม (x = 3.4161) และดาน เศรษฐกิจมีคาเฉลี่ยสภาพปจจุบันต่ําที่สุด (x= 3.3818) สภาพที่พึงประสงคของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธ การเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน จากการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอก โดย ภาพรวมอยูในระดับมาก (x = 4.4703) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ดาน เศรษฐกิจ มีคาเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงคสูงที่สุด (x = 4.4851) และรองลงมาคือ ดานเทคโนโลยี (x = 4.4722) ดานสังคม (x = 4.4634) และดานการเมืองและ นโยบายของรัฐ มีคาเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงคต่ําที่สุด (x = 4.4632) จุดแข็ง จุดออน โอกาสและภาวะคุกคามของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอม ศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน 1. จุดแข็ง จุดออน ของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธ การเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืนของสภาพแวดลอมภายใน การจัดกระบวนการ เรียนรู การมีสวนรวมและเครือขายดานสิ่งแวดลอมศึกษา เปนจุดแข็งของการ บริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน นโยบายสิ่งแวดลอมศึกษาและโครงสรางการบริหารจัดการ และการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนจุดออนของการบริหารโรงเรียน สิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน 2. โอกาส และภาวะคุกคาม ของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา โดยภาพรวม โดยภาพรวมปจจัยที่ภายนอกที่เปนโอกาสของการบริหารโรงเรียน
  • 12. วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal) ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560) [200] สิ่งแวดลอมศึกษา ไดแก ปจจัยดานการเมืองและนโยบายของรัฐ ปจจัยดานสังคม และปจจัยดานเทคโนโลยี ปจจัยภายนอกที่เปนภาวะคุกคามตอการบริหารโรงเรียน สิ่งแวดลอมศึกษา ไดแกปจจัยดานเศรษฐกิจ การอภิปรายผลการวิจัย สภาพปจจุบันของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการ เรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืนอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวาดานที่ไดคะแนนเฉลี่ยสูงสุดไดแก ดานการจัดกระบวนการเรียนรู ดานการมี สวนรวมและเครือขายดานสิ่งแวดลอมศึกษา ดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม และดานนโยบายสิ่งแวดลอมศึกษาและโครงสรางบริหารจัดการ ตามลําดับ สภาพที่พึงประสงคของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุง ผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืนอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนราย ดานพบวาดานที่ไดคะแนนเฉลี่ยสูงสุดไดแก ดานนโยบายสิ่งแวดลอมศึกษาและ โครงสรางบริหารจัดการ ดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดาน การมีสวนรวมและเครือขายดานสิ่งแวดลอมศึกษา และดานการจัดกระบวนการ เรียนรูมีคาเฉลี่ยสภาพปจจุบันต่ําที่สุด ตามลําดับ ซึ่งจากผลดังกลาวจะเห็นไดวา สภาพปจจุบันและสภาพที่พึงประสงคของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่ มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน มีทิศทางที่กลับดานกัน แสดงใหเห็น วา การบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษายังขาดนโยบาย แนวทางการดําเนินงาน โครงสรางการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอม และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมภายในโรงเรียน ยังมีวิธีการและองคความรูไมมากพอที่จะจัดการ กับทรัพยากรและสภาพแวดลอม ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของ วรรณภา นิ ติมงคงชัยและเพ็ญแข ธรรมเสนานุภาพ (2010) พบวาในดานการดําเนินงาน สิ่งแวดลอมศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งในและนอกระบบ ผูบริหาร โรงเรียนตองใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอมศึกษาโดยกําหนดเปนนโยบาย วิสัยทัศน และพันธกิจของโรงเรียน และตองใหความสําคัญในการจัดทําหลักสูตรและสามารถ เชื่อมโยงนโยบายการจัดทําหลักสูตรและตองใหความสําคัญในการจัดทําหลักสูตร
  • 13. วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal) ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560) [201] และสามารถเชื่อมโยงนโยบายการจัดทําหลักสูตรและเนื้อหาสาระดานสิ่งแวดลอม ศึกษากับนโยบายการศึกษาแหงชาติได จุดแข็งของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาจากการวิเคราะห สภาพแวดลอมภายในพบวา การจัดกระบวนการเรียนรู การมีสวนรวมและ เครือขายดานสิ่งแวดลอมศึกษา เปนจุดแข็ง เนื่องจากมีคาความตองการจําเปนอยู ในกลุมต่ํา นั้นแสดงใหเห็นวาการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา ใชการจัด กระบวนการเรียนรูของกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ในการบริหารโรงเรียน สิ่งแวดลอมศึกษา โดยจัดมีการจัดหลักสูตร กิจกรรมพัฒนาผูเรียน และการสงเสริม การพัฒนาครู และใชการมีสวนรวมและเครือขายดานสิ่งแวดลอมศึกษาในการ บริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา จุดออนของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอม ศึกษา จากการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในพบวา นโยบายสิ่งแวดลอมศึกษา และโครงสรางการบริหารจัดการ และ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม เปนจุดออน เนื่องจากมีคาความตองการจําเปนอยูในกลุมสูง แสดงให เห็นวา การบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา ยังขาดนโยบายดานสิ่งแวดลอมศึกษา วิธีการดําเนินงานที่ชัดเจน และไมมีวิธีการบริหารจัดการกับทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของวรรณภา นิติมงคลชัยและเพ็ญแข ธรรมเสนานุภาพ (2010: 188-196) พบประเด็น ดังกลาวเชนกันและมี ขอเสนอแนะวา การดําเนินงานสิ่งแวดลอมศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งใน และ นอกระบบ ผูบริหารโรงเรียนควรใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอมศึกษาโดย กําหนดเปนนโยบาย วิสัยทัศน และ พันธกิจของโรงเรียน และควรใหความสําคัญใน การจัดทําหลักสูตรและสามารถเชื่อมโยงนโยบายการจัดทํา หลักสูตรและเนื้อหา สาระดานสิ่งแวดลอมศึกษากับนโยบายการศึกษาแหงชาติได โอกาสของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสู การพัฒนาอยางยั่งยืน ไดแก โอกาสดานสังคม ซึ่งจะเห็นไดวาสังคมในปจจุบันไมวา จะเปนสังคมไทย หรือตางประเทศ ไดใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอมมากขึ้น นั่น ยอมเปนโอกาสที่จะทําใหโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาสามารถดึงผูมีสวนไดสวนเสีย ภายในสังคม ชุมชนมามีสวนรวมในการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา โอกาส ดานเทคโนโลยี ปจจุบันเทคโนโลยีถูกพัฒนาอยางรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพหาก
  • 14. วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal) ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560) [202] โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษานําเทคโนโลยี นวัตกรรมใหมมาประยุกตใชกับการ บริหารงานโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา ก็จะทําใหโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาสามารถ จัดการกับทรัพยากรที่มีอยูไดอยางมีประสิทธิภาพ โอกาสดานดานการเมืองและ นโยบายของรัฐ ภาครัฐมีการกําหนดใหมีการสงเสริมและสนับสนุนงานดาน สิ่งแวดลอม ไมวาจะเปนดานนโยบาย หรือดานงบประมาณ ทําใหโรงเรียน สิ่งแวดลอมศึกษาสามารถเขียนโครงการเพื่อของบประมาณใหเขากับแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ภาวะคุกคามของการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอม ศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืน คือภาวะคุกคามดานเศรษฐกิจ โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาบางแหงไดรับงบประมาณจํากัด ทําใหเกิดปญหาในการ บริหารจัดการโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของกองวิจัย ทางการศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2545) การจัดการเรียนการสอน เกี่ยวกับการอนุรักษสิ่งแวดลอม พบวา ครูขาดทักษะ ความรู ความเขาใจในการ จัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับการอนุรักษพัฒนาสิ่งแวดลอม และยังพบปญหาระดับ มากในดานงบประมาณ ดานสื่อการเรียนการสอน ดานความรวมมือระหวาง สถานศึกษากับชุมชนเรื่องสิ่งแวดลอม ดานการจัดบรรยากาศและสภาพแวดลอม ของสถานศึกษาดานการจัดกิจกรรมรณรงคและรักษาสิ่งแวดลอมในสถานศึกษา ดานการบริหารงานสิ่งแวดลอมในสถานศึกษาและดานสัมพันธภาพระหวาง บุคลากรในสถานศึกษา ขอเสนอแนะ 1. จากผลการวิจัย พบวา สภาพปจจุบันของการบริหารโรงเรียน สิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืนอยูในระดับปาน กลาง ดังนั้นเพื่อการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการ พัฒนาอยางยั่งยืน จึงขอเสนอแนะดังนี้ 1) ดานการจัดกระบวนการเรียนรู โรงเรียน สิ่งแวดลอมควรรีบดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรโดยบูรณาการแนวคิดสิ่งแวดลอม ศึกษาและการพัฒนาอยางยั่งยืน 2) พัฒนาครูใหมีความรู มีทักษะ ในการจัด กระบวนการเรียนรู ในดานสิ่งแวดลอมศึกษา และ 3) โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา
  • 15. วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal) ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560) [203] ควรสงเสริมใหเกิดทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการดําเนินงานสิ่งแวดลอมภายใน โรงเรียน 2. จากผลการวิจัย พบวา สภาพที่พึงประสงคของการบริหารโรงเรียน สิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนาอยางยั่งยืนอยูในระดับมาก ดังนั้นเพื่อการบริหารโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาที่มุงผลลัพธการเรียนรูสูการพัฒนา อยางยั่งยืน จึงเสนอแนะวา 1) ภาครัฐควรกําหนดนโยบายใหมีการปลูกจิตสํานึก รักษสิ่งแวดลอม โดยจัดทําหลักสูตร สรางแหลงการเรียนและสื่อการเรียนรูที่เปน มิตรกับสิ่งแวดลอม 2) โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา ควรเปดโอกาสใหทุกภาคสวนที่ เกี่ยวของเขามามีสวนรวมในการกําหนดนโยบาย วิสัยทัศน ดานสิ่งแวดลอมศึกษา ใหชัดเจน และ 3) โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษา ควรจัดทําแผนการใชน้ํา ใชไฟฟา การใชพลังงานเพื่อบันทึกเปนสถิติ เพื่อเปรียบเทียบการใชพลังงานเหลานั้น และนํา ผลขอมูล ไปปรับปรุงการใชพลังงานงาน
  • 16. วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal) ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560) [204] เอกสารอางอิง กาญจนา คุมทรัพย. (2558). สิทธิชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอยาง ยั่งยืน : กรณีศึกษาปาชุมชนในจังหวัดอุบลราชธานี, วารสารการบริหาร ปกครอง, 4 (1) : 141 – 157 คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. สํานักงาน. (2554). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555- 2559). กรุงเทพ: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ. พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ. (2553). การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน: พื้นฐานการศึกษาดานเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพไทยสัมพันธ. วรรณภา นิติมลคงชัยและเพ็ญแข ธรรมเสนานุภาพ. (2553). อนาคตภาพ แนวทางการดําเนินงานสิ่งแวดลอมศึกษาของไทย ในทศวรรษหนา (พ.ศ.2550-2559). AEE - T Journal of Environmental Education, 1 (2) :183-201. ศาลรัฐธรรมนูญ. สํานักงาน. (2550). รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550.(Online), สืบจาก http://www.ombudsman.go.th/10/ documents/law/constitution2550.pdf, เมื่อ 25 กุมภาพันธ 2555. ศิริชัย กาญจนวาสี. 2552. ทฤษฎีการทดสอบแบบบดั้งเดิม. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพ: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ศึกษาธิการ. กระทรวง. กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ. (2555). การ สังเคราะหการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับการอนุรักษพัฒนา สิ่งแวดลอม. (Online), สืบคนจาก http://www.thaiedresearch.org/thaied/index. php.,เมื่อ 25 กุมภาพันธ 2555. Ontario Learning for Sustainability Partnership (OLSP). (1996). Learning
  • 17. วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal) ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560) [205] for Sustainability: Essential Outcomes and Classroom Learning Strategies. Toronto: OLSP. UNESCO. (1997). Education for a Sustainable Future: A Trans disciplinary Vision for Concerted Action. Paris: UNESCO. UNESCO. (2005). Working Paper: Asia-Asia-Pacific Regional Strategy for Education for Sustainable Development. 2nd ed. Bangkok: UNESCO (Bangkok Compus). UNESCO. (2013). UN Decade of Education for Sustainable Development. (Online), Retrieved from http://unesdoc.unesco .org/ images/0015/001540/154093e.pdf, February 25, 2013. Yamane, T. (1976). Statistic: An introductory Analysis. 3rd ed. New York: Harper and Raw Publication.1976. Translated Thai References Kanjanawasee, S. (2009). Evaluation Theory. Bangkok. Chulalongkorn Print Publishing. Kumsap, K. (2005). Community Rights and Sustainable Natural Resources Management : A Case Study of Community Forest in Ubon Ratchathani Province, Governance Journal, 4 (1) : 141 - 157 Ministry of Education. Educational Research Division, Department of Academic. (2012). An Analysis of Teaching and Learning in Environmental Conservation. (Online), Retrieved from http://www.thaiedresearch.org/thaied/index. Php, February 25, 2012.
  • 18. วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal) ปที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560) [206] Nitimongkolchai, W. and Penkhae, T. (2013). Comparision between futuristic scenario trend of working guildelines on environmental education in Thailand in next decade and international level (2007 - 2016), AEE – T Journal of Environmental Education. 1 (2) : 183-201. Office of the Constitional Court. (2012). Constitution of the Kingdom of Thailand BE 2550. (Online), Retrieved from http://www.ombudsman.go.th/10/documents/law/constitutio n 2550.pdf, February 25, 2012. Office of the National Economic and Social Development Board. (2011). The Eleventh National Economic and Social Development Plan (2012-2016). Bangkok : Office of the National Economic and Social Development Board.. Siribanpitak, P. (2010). Education for Sustainable Development: The basic in economy, society and environment. Bangkok: Thaisampun Print Publishing.