SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ภายหลั งน้้ า ลด สิ่งแรกที่จ้ า เป็ น ต้ องท้ า คื อ การเข้ าไปส้ า รวจภายใน
บ้าน และท้าความสะอาดบ้านเพื่อที่จะได้กลับเข้ามาอยู่อาศัย สิ่งที่ควรจะ
ทราบและเตรียมตัวมีดังนี้



   อันตรายจากไฟฟ้า
   อันตรายจากโครงสร้างบ้าน/อาคาร
   อันตรายจากอุบัติเหตุที่เกิดจากซากปรักหักพัง เศษวัสดุต่างๆ เช่น เศษ
   แก้ว เศษไม้ เป็นต้น
   อันตรายจากสารเคมีรั่วไหล
   อันตรายจากเชื้อชีวภาพ เช่น เชื้อรา แบคทีเรีย เป็นต้น




 ควรกลับเข้าบ้านในตอนกลางวัน เพื่อจะได้มองเห็นปัญหาหรืออันตรายที่
   อาจจะเกิ ด ขึ้ น และไม่ ค วรน้ า เด็ ก คนชราเข้ า บ้ า นจนกว่ า จะมั่ น ใจว่ า
   ปลอดภัย
 หากเป็นไปได้ ควรสวมรองเท้าบู๊ทยาง และถุงมือยาง เพราะจะเป็นการ
   ป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าช๊อตได้
 ก่อนเข้าภายในบ้าน ควรตรวจสอบก่อนว่า พื้น หลังคา ผนัง อยู่ใ นสภาพ
   ที่ปลอดภัย
 ควรเดินด้วยความระมัดระวังที่จะเหยียบเศษวัสดุของมีคมต่างๆ
 อย่าจับสายไฟ เครื่องใช้ไฟฟ้า จนกว่าจะมั่นใจว่าปลอดภัย
หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับน้าสกปรก หรือพื้นผิวที่สกปรกโดยตรง ควร
                        ้
สวมถงมือยางและรองเท้าบู๊ท
อย่าขยี้ตา สัมผัสปากหรือจมูกในขณะที่ยังสวมถุงมือยางที่ปนเปื้อนด้วย
สิ่งสกปรก
หากมีแผล ควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับน้้าสกปรก หรือพื้นผิวที่สกปรก
หลังการท้าความสะอาดทุกครั้ง ควรอาบน้้า ฟอกสบู่ให้สะอาด
ควรเปลี่ยนเสื้อผ้าทุกวัน และแยกซักผ้าที่สกปรกปนเปือนที่ใส่ขณะท้า
                                                  ้
ความสะอาดจากผ้าปกติทั่วไป
ควรท้าความสะอาดเป็นพิเศษในบ้างพื้นที่ ได้แก่ พื้นที่บริเวณที่
ท้าอาหาร และพื้นที่ที่เด็กเล่น
สุดท้ายต้องมั่นใจว่าในบริเวณที่ท้าความสะอาดมีการระบายอากาศที่
เพียงพอ
การท้าความสะอาด ควรแบ่งเวลาพักเป็นระยะๆ
การท้าความสะอาด ควรมีขั้นตอนคือ
         ก้าจัดน้้าออก
         ก้าจัดสิ่งสกปรก วัสดุสิ่งของที่ช้ารุดเสียหาย
         ทิ้งวัสดุที่ไม่สามารถท้าความสะอาดได้
         ท้าความสะอาดบ้านให้แห้ง
ป้องกันเด็กจากพืนที่ที่ปนเปื้อนขณะที่มีการท้าความสะอาด
                ้
ปรึกษาผู้ที่มีความรู้ด้านไฟฟ้า ตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนใช้
เก็บวัสดุ ของใช้ที่เปียก หรือสกปรกออกจากบ้าน และใส่ในถังขยะ
หน้าบ้านให้เรียบร้อย เพือรอการขนจากหน่วยงานราชการน้าไป
                        ่
ก้าจัด

More Related Content

Viewers also liked (14)

Caricatura 1 bb
Caricatura 1 bbCaricatura 1 bb
Caricatura 1 bb
 
બાપા કાગડો
બાપા કાગડોબાપા કાગડો
બાપા કાગડો
 
E learning and science
E learning and scienceE learning and science
E learning and science
 
Katalog za Prius+, srpski
Katalog za Prius+, srpskiKatalog za Prius+, srpski
Katalog za Prius+, srpski
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
F.E.M. PAC 1
F.E.M. PAC 1F.E.M. PAC 1
F.E.M. PAC 1
 
Bibliotecas Digitales
Bibliotecas DigitalesBibliotecas Digitales
Bibliotecas Digitales
 
A tale of Disaster Recovery (Cfengine everyday, practices and tools)
A tale of Disaster Recovery (Cfengine everyday, practices and tools)A tale of Disaster Recovery (Cfengine everyday, practices and tools)
A tale of Disaster Recovery (Cfengine everyday, practices and tools)
 
વાંદરો અને મગર
વાંદરો અને મગરવાંદરો અને મગર
વાંદરો અને મગર
 
National G
National GNational G
National G
 
Thoughts Are Of You
Thoughts Are Of YouThoughts Are Of You
Thoughts Are Of You
 
Alice charles planning issues autumn 2011 article
Alice charles planning issues autumn 2011 articleAlice charles planning issues autumn 2011 article
Alice charles planning issues autumn 2011 article
 
Montajes Originales
Montajes OriginalesMontajes Originales
Montajes Originales
 
Revista del Análisis del Sitio Web www.elsalvador.travel y Propuestas de Turi...
Revista del Análisis del Sitio Web www.elsalvador.travel y Propuestas de Turi...Revista del Análisis del Sitio Web www.elsalvador.travel y Propuestas de Turi...
Revista del Análisis del Sitio Web www.elsalvador.travel y Propuestas de Turi...
 

More from nhs0

โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.nhs0
 
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวานการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวานnhs0
 
คู่มือโรคน้ำท่วม
คู่มือโรคน้ำท่วมคู่มือโรคน้ำท่วม
คู่มือโรคน้ำท่วมnhs0
 
ขั้นตอนในการผลิตน้ำสะอาดสำหรับอุปโภค
ขั้นตอนในการผลิตน้ำสะอาดสำหรับอุปโภคขั้นตอนในการผลิตน้ำสะอาดสำหรับอุปโภค
ขั้นตอนในการผลิตน้ำสะอาดสำหรับอุปโภคnhs0
 
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปท
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปทแนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปท
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปทnhs0
 
หลังน้ำลด
หลังน้ำลดหลังน้ำลด
หลังน้ำลดnhs0
 
คำแนะนำในการทำอาหาร
คำแนะนำในการทำอาหารคำแนะนำในการทำอาหาร
คำแนะนำในการทำอาหารnhs0
 
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปท
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปทแนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปท
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปทnhs0
 
ข้อปฏิบัติสำหรับผู้อาศัยในศูนย์พักพิง
ข้อปฏิบัติสำหรับผู้อาศัยในศูนย์พักพิงข้อปฏิบัติสำหรับผู้อาศัยในศูนย์พักพิง
ข้อปฏิบัติสำหรับผู้อาศัยในศูนย์พักพิงnhs0
 
การจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วม
การจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วมการจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วม
การจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วมnhs0
 
การจมน้ำ
การจมน้ำการจมน้ำ
การจมน้ำnhs0
 
คำแนะนำในการทำอาหาร
คำแนะนำในการทำอาหารคำแนะนำในการทำอาหาร
คำแนะนำในการทำอาหารnhs0
 

More from nhs0 (12)

โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวานการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
 
คู่มือโรคน้ำท่วม
คู่มือโรคน้ำท่วมคู่มือโรคน้ำท่วม
คู่มือโรคน้ำท่วม
 
ขั้นตอนในการผลิตน้ำสะอาดสำหรับอุปโภค
ขั้นตอนในการผลิตน้ำสะอาดสำหรับอุปโภคขั้นตอนในการผลิตน้ำสะอาดสำหรับอุปโภค
ขั้นตอนในการผลิตน้ำสะอาดสำหรับอุปโภค
 
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปท
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปทแนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปท
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปท
 
หลังน้ำลด
หลังน้ำลดหลังน้ำลด
หลังน้ำลด
 
คำแนะนำในการทำอาหาร
คำแนะนำในการทำอาหารคำแนะนำในการทำอาหาร
คำแนะนำในการทำอาหาร
 
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปท
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปทแนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปท
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปท
 
ข้อปฏิบัติสำหรับผู้อาศัยในศูนย์พักพิง
ข้อปฏิบัติสำหรับผู้อาศัยในศูนย์พักพิงข้อปฏิบัติสำหรับผู้อาศัยในศูนย์พักพิง
ข้อปฏิบัติสำหรับผู้อาศัยในศูนย์พักพิง
 
การจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วม
การจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วมการจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วม
การจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วม
 
การจมน้ำ
การจมน้ำการจมน้ำ
การจมน้ำ
 
คำแนะนำในการทำอาหาร
คำแนะนำในการทำอาหารคำแนะนำในการทำอาหาร
คำแนะนำในการทำอาหาร
 

หลังน้ำลด

  • 1. ภายหลั งน้้ า ลด สิ่งแรกที่จ้ า เป็ น ต้ องท้ า คื อ การเข้ าไปส้ า รวจภายใน บ้าน และท้าความสะอาดบ้านเพื่อที่จะได้กลับเข้ามาอยู่อาศัย สิ่งที่ควรจะ ทราบและเตรียมตัวมีดังนี้ อันตรายจากไฟฟ้า อันตรายจากโครงสร้างบ้าน/อาคาร อันตรายจากอุบัติเหตุที่เกิดจากซากปรักหักพัง เศษวัสดุต่างๆ เช่น เศษ แก้ว เศษไม้ เป็นต้น อันตรายจากสารเคมีรั่วไหล อันตรายจากเชื้อชีวภาพ เช่น เชื้อรา แบคทีเรีย เป็นต้น  ควรกลับเข้าบ้านในตอนกลางวัน เพื่อจะได้มองเห็นปัญหาหรืออันตรายที่ อาจจะเกิ ด ขึ้ น และไม่ ค วรน้ า เด็ ก คนชราเข้ า บ้ า นจนกว่ า จะมั่ น ใจว่ า ปลอดภัย  หากเป็นไปได้ ควรสวมรองเท้าบู๊ทยาง และถุงมือยาง เพราะจะเป็นการ ป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าช๊อตได้  ก่อนเข้าภายในบ้าน ควรตรวจสอบก่อนว่า พื้น หลังคา ผนัง อยู่ใ นสภาพ ที่ปลอดภัย  ควรเดินด้วยความระมัดระวังที่จะเหยียบเศษวัสดุของมีคมต่างๆ  อย่าจับสายไฟ เครื่องใช้ไฟฟ้า จนกว่าจะมั่นใจว่าปลอดภัย
  • 2. หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับน้าสกปรก หรือพื้นผิวที่สกปรกโดยตรง ควร ้ สวมถงมือยางและรองเท้าบู๊ท อย่าขยี้ตา สัมผัสปากหรือจมูกในขณะที่ยังสวมถุงมือยางที่ปนเปื้อนด้วย สิ่งสกปรก หากมีแผล ควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับน้้าสกปรก หรือพื้นผิวที่สกปรก หลังการท้าความสะอาดทุกครั้ง ควรอาบน้้า ฟอกสบู่ให้สะอาด ควรเปลี่ยนเสื้อผ้าทุกวัน และแยกซักผ้าที่สกปรกปนเปือนที่ใส่ขณะท้า ้ ความสะอาดจากผ้าปกติทั่วไป ควรท้าความสะอาดเป็นพิเศษในบ้างพื้นที่ ได้แก่ พื้นที่บริเวณที่ ท้าอาหาร และพื้นที่ที่เด็กเล่น สุดท้ายต้องมั่นใจว่าในบริเวณที่ท้าความสะอาดมีการระบายอากาศที่ เพียงพอ
  • 3. การท้าความสะอาด ควรแบ่งเวลาพักเป็นระยะๆ การท้าความสะอาด ควรมีขั้นตอนคือ ก้าจัดน้้าออก ก้าจัดสิ่งสกปรก วัสดุสิ่งของที่ช้ารุดเสียหาย ทิ้งวัสดุที่ไม่สามารถท้าความสะอาดได้ ท้าความสะอาดบ้านให้แห้ง ป้องกันเด็กจากพืนที่ที่ปนเปื้อนขณะที่มีการท้าความสะอาด ้ ปรึกษาผู้ที่มีความรู้ด้านไฟฟ้า ตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนใช้ เก็บวัสดุ ของใช้ที่เปียก หรือสกปรกออกจากบ้าน และใส่ในถังขยะ หน้าบ้านให้เรียบร้อย เพือรอการขนจากหน่วยงานราชการน้าไป ่ ก้าจัด