SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
ตัว อย่า ง




หัว ข้อ : แนะ...ปลูก ฝัง จริย ธรรมแก้ป ัญ หาเด็ก ใช้ "เน็ต " ไม่เ หมาะสม




ผศ.ดร.อรรยา สิง ห์ส งบ คณบดีค ณะนิต ิศ าสตร์ ม.กรุง เทพ กล่า วถึง สถานการณ์ท ี่เ กี่ย วกับ สื่อ
เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร (ICT) ที่ป รากฎในสัง คมไทย ในช่ว ง 2 ปีท ี่ผ ่า นมา ว่า เป็น ไป
ในทิศ ทางเชิง ลบที่ก ระทบต่อ ความมั่น คงของสัง คม โดยเฉพาะปัญ หาการใช้ไ อซีท ีแ บบผิด ๆ นำา ไป
ก่อ อาชญากรรม หากพิจ ารณาจากสถานการณ์จ ะพบว่า ปัญ หาน่า จะเกิด จากเนื้อ หาในสื่อ ที่ไ ม่
ปลอดภัย และเป็น ไปเชิง ที่ก ่อ ให้เ กิด ความรุน แรงมากขึ้น เช่น กรณีภ าพการ์ต ูน สื่อ ลามก เว็บ ไซต์
ลามก การขาดความเข้ม แข็ง ในเด็ก เยาวชนและครอบครัว ช่อ งทางในการเข้า ถึง สื่อ ที่ไ ม่ป ลอดภัย
และไม่ส ร้า งสรรค์ กฎหมายไม่ค รอบคลุม และขาดกระบวนการบัง คับ ใช้ รวมทั้ง นโยบายที่แ ปรผัน
ไปตามการเมือ งของรัฐ บาล


คณบดีคณะนิติศาสตร์ ม.กรุงเทพ กล่าวต่อว่า ในส่วนของเนื้อหาต่างๆ นั้น หลายเว็บไซต์ยังคงมีเนื้อหาไม่เหมาะ
สม ขาดการควบคุม และยังเป็นช่องทางที่เปิดโอกาสให้ผใช้บริการ นำาข้อมูลส่วนบุคคลมาลงในพื้นที่เปิดสาธารณะ
                                                 ู้
ได้ โดยพาะเว็บไซต์ Social Networking ที่ส่อไปทางการเปิดเผยสิ่งที่ไม่เหมาะสม เช่น ตามเว็บบอร์ด และบล็อก
ต่างๆ การดูแลเอาใจใส่จากครอบครัว เป็นสิ่งสำาคัญที่จะทำาให้เด็กใช้อินเทอร์เน็ตได้ถูกต้อง หลุดพ้นจากการถูก
ล่อลวงผ่านเว็บไซต์ต่างๆ ด้วยการสร้างจริยธรรมในการใช้สื่อที่ถกต้อง ปลูกฝังการใช้สื่อให้เกิดประโยชน์ ส่วนใน
                                                            ู
ด้านการเข้าถึงสื่อดังกล่าวอย่างไม่ปลอดภัย เช่น กรณีรานอินเทอร์เน็ตคาเฟ่แบบสร้างสรรค์ กรณีนี้ ผู้ประกอบการ
                                                    ้
ควรร่วมมือในการดูแลด้วย
ผศ.ดร.อรรยา กล่าวอีกว่า สำาหรับกระบวนการด้านกฎหมายนั้น ยังคงขาดการคิดค้น และพัฒนาที่เหมาะสมทั่วถึง
การออกกฎหมายและนโยบายที่ผ่านมานั้น ส่วนมาก เน้นหนักไปทางด้านการปราบปราม กำากับดูแล ดังนั้น
กฎหมายที่ออกมาควรเน้นครอบคุมถึงการส่งเสริมสื่อให้ปลอดภัย และสร้างสรรค์ มีผลในการสร้างภูมิคุมกันให้กับ
เด็ก เยาวชนและครอบครัว ในการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น ขณะเดียวกัน ภาครัฐควรมีนโยบายที่
หนักแน่น และเป็นประโยชน์มุ่งเน้นในการสร้างจริยธรรมที่ดีในการใช้สื่ออินเทอร์เน็ต เพราะการใช้กฎหมาย
บังคับนั้น น่าจะเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ควรแก้ปญหาที่ต้นเหตุ โดยการปลูกฝังให้เยาวชนใช้อินเทอร์เน็ต
                                                  ั
อย่างมีจริยธรรม


ด้าน พญ.พรรณพิมล หล่อตระกูล ตัวแทนจากสถาบันราชานุกูล กล่าวว่า ขณะนี้ อินเทอร์เน็ตเป็นเหมือนส่วนหนึ่ง
ของชีวิตประจำาวันโดยเฉพาะเด็ก และเมื่อเกิดปัญหาการกระทำาผิดผ่านทางสื่ออินเทอร์เน็ตที่ผานมา ภาครัฐจัดการ
                                                                                      ่
แก้ปัญหาด้วยการปิดเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาไม่เหมาะสม แต่การปิดเว็บไซต์ ไม่ใช่คำาตอบที่แท้จริงของการแก้ปญหา
                                                                                                   ั
เพราะการปลูกฝังจริยธรรมที่ดีในการใช้สื่ออินเตอร์์เน็ตนั้น ทำาได้ด้วยการเน้นสอนให้เด็กได้รู้ว่าควรใช้อย่างไร
ให้เกิดประโยชน์ และใช้อย่างไรเป็นโทษ รวมทั้งบอกถึงผลกระทบที่ชัดเจนว่า หากเข้าเว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสมจะมี
ผลกระทบร้ายแรงเพียงใด


ตัวแทนจากสถาบันราชานุกูล กล่าวต่อว่า ในคนบางกลุ่ม จะมีจริธรรมที่เป็นเฉพาะกลุ่ม ในกลุ่มนี้จะมีการสร้างเว็บ
เพื่อสื่อสารเฉพาะกลุ่ม ไม่ใช่สิ่งที่ไม่ถูกต้อง แต่ต้องเคารพในกติกาและขอบเขตในการใช้งานโดยไม่แพร่กระจาย
เป็นสู่วงกว้าง กระบวนการในการส่งเสริมด้านวัฒนธรรม ควรมีการปลูกฝังตั้งแต่เด็กโดยการร่วมมือของครอบครัว
สถานศึกษา และผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ที่ตองค่อยชี้นำาให้เด็กรู้จกการใช้ที่ถกวิธีและเป็นประโยชน์ โดยสถาบัน
                                          ้                      ั          ู
การศึกษาควรเพิ่มหลักสูตรการเรียนเกียวกับจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตด้วยเพื่อให้เด็กได้เรียนรู้เทคโนโลยี
                                   ่
ไปพร้อมๆ กับการรู้ผิดชอบชั่วดี


พญ. พรรณพิมล กล่าวอีกว่า ควรมีการตรวจสอบหน้าเว็บไซต์อย่างสมำ่าเสมอ เพื่อให้ทราบถึงความเปลี่ยนแปลงที่
เกิดขึ้นตลอดเวลา ส่วนด้านกฎหมายนั้น กฎหมายไทยถ้ายังหาข้อยุตไม่ได้ ปัญหานี้ ก็ยังคงมีอยู่ หากจะควบคุม
                                                           ิ
ด้วยกฎหมาย จะต้องมีบทลงโทษที่จริงจัง และแสดงให้เห็นว่าสามารถติดตามผู้ที่กระทำาผิดผ่านช่องทางนี้มารับ
โทษได้แน่นอน เพราะผู้กระทำาความผิดในปัจจุบันมักคิดว่า โลกออนไลน์เป็นเหมือนโลกทีไม่มีตัวตน และไม่มใคร
                                                                               ่                 ี
สามารถติดตามได้


นาย เอกพล สมมัตถิยดีกุล ตัวแทนจากสมาคมการค้านักธุรกิจผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต กล่าวว่า ในส่วนของผูให้
                                                                                                  ้
บริการ คิดว่ารัฐควรมีการปรับโครงข่าย ที่มีความพร้อมในการกำาจัดเว็บไซต์ไม่เหมาะสม และการก่ออาชญากรรม
ดังทีกล่าวมานี้มากขึ้น ที่ผานมามักชอบโยนความผิดให้กับร้านอินเทอร์เน็ต และผู้ประกอบการก็มักตกเป็นจำาเลย
     ่                     ่
ทางสังคมตลอดเวลา ทั้งที่จริงๆแล้ว ไม่ได้มีส่วนในการกระทำาความผิดเลย แต่มักจะถูกจับกุมอยู่เสมอ ทางภาครัฐ
และตำารวจควรมีวิธีการที่ดกว่านี้ อย่าเอาแต่ใช้กฎหมายมาจับกุมรังแกประชาชน
                         ี


ตัว แทน สมาคมการค้า นัก ธุร กิจ ผู้ใ ห้บ ริก ารอิน เทอร์เ น็ต กล่า วอีก ว่า ผู้ป กครองควรดูแ ลลูก หลานให้
มากขึ้น เพราะทางร้า นเอง คงไม่ส ามารถควบคุม ได้ม ากนัก แต่ก ็พ ยายามช่ว ยดูแ ล อีก ทั้ง ไม่ส ่ง เสริม
ให้เ ด็ก กระทำา ความผิด อย่า งที่เ ข้า ใจ ที่ผ ่า นมา สื่อ มัก จะเสนอให้เ ห็น แต่ม ุม มองที่ไ ม่ด ีข องร้า น ขอ
วิง วอนว่า ผู้ป ระกอบการร้า นอิน เทอร์เ น็ต เอง ก็ไ ม่ไ ด้ม ีส ่ว นรู้เ ห็น หรือ สนับ สนุน และพยายามทำา ตาม
กฎระเบีย บที่ว างไว้เ ท่า ที่จ ะทำา ได้ เพราะส่ว นตัว แล้ว เป็น คนทำา มาหากิน ที่ผ ่า นมา ได้พ ยายามเตือ น
เด็ก และผู้ใ ช้บ ริก ารในทุก เรื่อ ง ส่ว นใครจะเชื่อ และเอาไปปฎิบ ัต ิต ามหรือ ไม่ คงไม่ส ามารถไปบัง คับ
ได้


ภาพประกอบข่า วจากอิน เตอร์เ น็ต




ที่ม าจากหนัง สือ พิม พ์




โดย : YayyYinG
วัน ที่ : 18 April 2008, 09:54

More Related Content

Similar to Ex test

อาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลอาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลAY'z Felon
 
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2airly2011
 
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะ
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะอินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะ
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะพายุ ตัวป่วน
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋AY'z Felon
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋AY'z Felon
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Connectivism Learning
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Connectivism Learning
 
โครงงานคอมพิวเตอรN
โครงงานคอมพิวเตอรNโครงงานคอมพิวเตอรN
โครงงานคอมพิวเตอรNBank Kitsana
 
กฎหมายคอมพิวเตอร์
กฎหมายคอมพิวเตอร์กฎหมายคอมพิวเตอร์
กฎหมายคอมพิวเตอร์Ch Khankluay
 

Similar to Ex test (20)

Csrmono2013
Csrmono2013Csrmono2013
Csrmono2013
 
Computer law
Computer lawComputer law
Computer law
 
โบว์Pdf
โบว์Pdfโบว์Pdf
โบว์Pdf
 
อาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลอาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอล
 
แนน คอม Pdf
แนน คอม Pdfแนน คอม Pdf
แนน คอม Pdf
 
ตุก Pdf
ตุก Pdfตุก Pdf
ตุก Pdf
 
ตุก Pdf
ตุก Pdfตุก Pdf
ตุก Pdf
 
Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)
 
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
 
Grown Up Digital
Grown Up DigitalGrown Up Digital
Grown Up Digital
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะ
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะอินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะ
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะ
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอรN
โครงงานคอมพิวเตอรNโครงงานคอมพิวเตอรN
โครงงานคอมพิวเตอรN
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
กฎหมายคอมพิวเตอร์
กฎหมายคอมพิวเตอร์กฎหมายคอมพิวเตอร์
กฎหมายคอมพิวเตอร์
 

Ex test

  • 1. ตัว อย่า ง หัว ข้อ : แนะ...ปลูก ฝัง จริย ธรรมแก้ป ัญ หาเด็ก ใช้ "เน็ต " ไม่เ หมาะสม ผศ.ดร.อรรยา สิง ห์ส งบ คณบดีค ณะนิต ิศ าสตร์ ม.กรุง เทพ กล่า วถึง สถานการณ์ท ี่เ กี่ย วกับ สื่อ เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร (ICT) ที่ป รากฎในสัง คมไทย ในช่ว ง 2 ปีท ี่ผ ่า นมา ว่า เป็น ไป ในทิศ ทางเชิง ลบที่ก ระทบต่อ ความมั่น คงของสัง คม โดยเฉพาะปัญ หาการใช้ไ อซีท ีแ บบผิด ๆ นำา ไป ก่อ อาชญากรรม หากพิจ ารณาจากสถานการณ์จ ะพบว่า ปัญ หาน่า จะเกิด จากเนื้อ หาในสื่อ ที่ไ ม่ ปลอดภัย และเป็น ไปเชิง ที่ก ่อ ให้เ กิด ความรุน แรงมากขึ้น เช่น กรณีภ าพการ์ต ูน สื่อ ลามก เว็บ ไซต์ ลามก การขาดความเข้ม แข็ง ในเด็ก เยาวชนและครอบครัว ช่อ งทางในการเข้า ถึง สื่อ ที่ไ ม่ป ลอดภัย และไม่ส ร้า งสรรค์ กฎหมายไม่ค รอบคลุม และขาดกระบวนการบัง คับ ใช้ รวมทั้ง นโยบายที่แ ปรผัน ไปตามการเมือ งของรัฐ บาล คณบดีคณะนิติศาสตร์ ม.กรุงเทพ กล่าวต่อว่า ในส่วนของเนื้อหาต่างๆ นั้น หลายเว็บไซต์ยังคงมีเนื้อหาไม่เหมาะ สม ขาดการควบคุม และยังเป็นช่องทางที่เปิดโอกาสให้ผใช้บริการ นำาข้อมูลส่วนบุคคลมาลงในพื้นที่เปิดสาธารณะ ู้ ได้ โดยพาะเว็บไซต์ Social Networking ที่ส่อไปทางการเปิดเผยสิ่งที่ไม่เหมาะสม เช่น ตามเว็บบอร์ด และบล็อก ต่างๆ การดูแลเอาใจใส่จากครอบครัว เป็นสิ่งสำาคัญที่จะทำาให้เด็กใช้อินเทอร์เน็ตได้ถูกต้อง หลุดพ้นจากการถูก ล่อลวงผ่านเว็บไซต์ต่างๆ ด้วยการสร้างจริยธรรมในการใช้สื่อที่ถกต้อง ปลูกฝังการใช้สื่อให้เกิดประโยชน์ ส่วนใน ู ด้านการเข้าถึงสื่อดังกล่าวอย่างไม่ปลอดภัย เช่น กรณีรานอินเทอร์เน็ตคาเฟ่แบบสร้างสรรค์ กรณีนี้ ผู้ประกอบการ ้ ควรร่วมมือในการดูแลด้วย
  • 2. ผศ.ดร.อรรยา กล่าวอีกว่า สำาหรับกระบวนการด้านกฎหมายนั้น ยังคงขาดการคิดค้น และพัฒนาที่เหมาะสมทั่วถึง การออกกฎหมายและนโยบายที่ผ่านมานั้น ส่วนมาก เน้นหนักไปทางด้านการปราบปราม กำากับดูแล ดังนั้น กฎหมายที่ออกมาควรเน้นครอบคุมถึงการส่งเสริมสื่อให้ปลอดภัย และสร้างสรรค์ มีผลในการสร้างภูมิคุมกันให้กับ เด็ก เยาวชนและครอบครัว ในการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น ขณะเดียวกัน ภาครัฐควรมีนโยบายที่ หนักแน่น และเป็นประโยชน์มุ่งเน้นในการสร้างจริยธรรมที่ดีในการใช้สื่ออินเทอร์เน็ต เพราะการใช้กฎหมาย บังคับนั้น น่าจะเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ควรแก้ปญหาที่ต้นเหตุ โดยการปลูกฝังให้เยาวชนใช้อินเทอร์เน็ต ั อย่างมีจริยธรรม ด้าน พญ.พรรณพิมล หล่อตระกูล ตัวแทนจากสถาบันราชานุกูล กล่าวว่า ขณะนี้ อินเทอร์เน็ตเป็นเหมือนส่วนหนึ่ง ของชีวิตประจำาวันโดยเฉพาะเด็ก และเมื่อเกิดปัญหาการกระทำาผิดผ่านทางสื่ออินเทอร์เน็ตที่ผานมา ภาครัฐจัดการ ่ แก้ปัญหาด้วยการปิดเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาไม่เหมาะสม แต่การปิดเว็บไซต์ ไม่ใช่คำาตอบที่แท้จริงของการแก้ปญหา ั เพราะการปลูกฝังจริยธรรมที่ดีในการใช้สื่ออินเตอร์์เน็ตนั้น ทำาได้ด้วยการเน้นสอนให้เด็กได้รู้ว่าควรใช้อย่างไร ให้เกิดประโยชน์ และใช้อย่างไรเป็นโทษ รวมทั้งบอกถึงผลกระทบที่ชัดเจนว่า หากเข้าเว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสมจะมี ผลกระทบร้ายแรงเพียงใด ตัวแทนจากสถาบันราชานุกูล กล่าวต่อว่า ในคนบางกลุ่ม จะมีจริธรรมที่เป็นเฉพาะกลุ่ม ในกลุ่มนี้จะมีการสร้างเว็บ เพื่อสื่อสารเฉพาะกลุ่ม ไม่ใช่สิ่งที่ไม่ถูกต้อง แต่ต้องเคารพในกติกาและขอบเขตในการใช้งานโดยไม่แพร่กระจาย เป็นสู่วงกว้าง กระบวนการในการส่งเสริมด้านวัฒนธรรม ควรมีการปลูกฝังตั้งแต่เด็กโดยการร่วมมือของครอบครัว สถานศึกษา และผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ที่ตองค่อยชี้นำาให้เด็กรู้จกการใช้ที่ถกวิธีและเป็นประโยชน์ โดยสถาบัน ้ ั ู การศึกษาควรเพิ่มหลักสูตรการเรียนเกียวกับจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตด้วยเพื่อให้เด็กได้เรียนรู้เทคโนโลยี ่ ไปพร้อมๆ กับการรู้ผิดชอบชั่วดี พญ. พรรณพิมล กล่าวอีกว่า ควรมีการตรวจสอบหน้าเว็บไซต์อย่างสมำ่าเสมอ เพื่อให้ทราบถึงความเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้นตลอดเวลา ส่วนด้านกฎหมายนั้น กฎหมายไทยถ้ายังหาข้อยุตไม่ได้ ปัญหานี้ ก็ยังคงมีอยู่ หากจะควบคุม ิ ด้วยกฎหมาย จะต้องมีบทลงโทษที่จริงจัง และแสดงให้เห็นว่าสามารถติดตามผู้ที่กระทำาผิดผ่านช่องทางนี้มารับ โทษได้แน่นอน เพราะผู้กระทำาความผิดในปัจจุบันมักคิดว่า โลกออนไลน์เป็นเหมือนโลกทีไม่มีตัวตน และไม่มใคร ่ ี สามารถติดตามได้ นาย เอกพล สมมัตถิยดีกุล ตัวแทนจากสมาคมการค้านักธุรกิจผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต กล่าวว่า ในส่วนของผูให้ ้ บริการ คิดว่ารัฐควรมีการปรับโครงข่าย ที่มีความพร้อมในการกำาจัดเว็บไซต์ไม่เหมาะสม และการก่ออาชญากรรม ดังทีกล่าวมานี้มากขึ้น ที่ผานมามักชอบโยนความผิดให้กับร้านอินเทอร์เน็ต และผู้ประกอบการก็มักตกเป็นจำาเลย ่ ่ ทางสังคมตลอดเวลา ทั้งที่จริงๆแล้ว ไม่ได้มีส่วนในการกระทำาความผิดเลย แต่มักจะถูกจับกุมอยู่เสมอ ทางภาครัฐ และตำารวจควรมีวิธีการที่ดกว่านี้ อย่าเอาแต่ใช้กฎหมายมาจับกุมรังแกประชาชน ี ตัว แทน สมาคมการค้า นัก ธุร กิจ ผู้ใ ห้บ ริก ารอิน เทอร์เ น็ต กล่า วอีก ว่า ผู้ป กครองควรดูแ ลลูก หลานให้ มากขึ้น เพราะทางร้า นเอง คงไม่ส ามารถควบคุม ได้ม ากนัก แต่ก ็พ ยายามช่ว ยดูแ ล อีก ทั้ง ไม่ส ่ง เสริม ให้เ ด็ก กระทำา ความผิด อย่า งที่เ ข้า ใจ ที่ผ ่า นมา สื่อ มัก จะเสนอให้เ ห็น แต่ม ุม มองที่ไ ม่ด ีข องร้า น ขอ วิง วอนว่า ผู้ป ระกอบการร้า นอิน เทอร์เ น็ต เอง ก็ไ ม่ไ ด้ม ีส ่ว นรู้เ ห็น หรือ สนับ สนุน และพยายามทำา ตาม กฎระเบีย บที่ว างไว้เ ท่า ที่จ ะทำา ได้ เพราะส่ว นตัว แล้ว เป็น คนทำา มาหากิน ที่ผ ่า นมา ได้พ ยายามเตือ น
  • 3. เด็ก และผู้ใ ช้บ ริก ารในทุก เรื่อ ง ส่ว นใครจะเชื่อ และเอาไปปฎิบ ัต ิต ามหรือ ไม่ คงไม่ส ามารถไปบัง คับ ได้ ภาพประกอบข่า วจากอิน เตอร์เ น็ต ที่ม าจากหนัง สือ พิม พ์ โดย : YayyYinG วัน ที่ : 18 April 2008, 09:54