SlideShare a Scribd company logo
1 of 68
Download to read offline
•เชือไวรัส Ebola เป็นสาเหตุของกลุ่มอาการติดเชือไวรัส
เฉียบพลันทีมีชือเรียกว่าไข้เลือดออก
•ชือโรค&ชือไวรัส Ebola ถูกตังตามชือแม่นําขนาดเล็กทาง
เหนือของประเทศแชร์อีร์(ปัจจุบันเป็นประเทศคองโก)ซึง
เป็นบริเวณทีค้นพบโรคครังแรกในปี พ.ศ.2519
•เป็นโรคทีก่อความรุนแรงสูงทังในกลุ่มผู้ป่วยทีแสดง
อาการและไม่แสดงอาการเลือดออก
•ติดต่อจากคน-สู่-คน
ความรู้พืนฐานเกียวกับโรค
•เชือไวรัส Ebola มีลักษณะเป็นเส้นยาว
• มีไขมันเป็นเปลือกหุ้ม(Lipid-enveloped)
•ชนิด RNA สายเดียว
•อยู่ในตระกูล Filoviridae
เชือก่อโรค
•สายพันธุ์ทีทําให้เกิดโรคในคน มี 4 สายพันธุ์ ได้แก่
–Zaire
–Sudan
–Ivory Coast
–Gabon
•สายพันธุ์ Reston
–แยกได้จากลิงในสถานทีกักกันทีนําเข้าจากฟิลิปปินส์ในปี
พ.ศ.2532
–ทําให้เกิดอาการรุนแรงได้เฉพาะในลิง
–แต่ไม่ทําให้เกิดอาการในคน
เชือก่อโรค
•สัตว์เลียงลูกด้วยนมทังคนและลิงน่าจะเป็นเพียงโฮสโดย
บังเอิญ(Accidental host)
•แหล่งโรคในธรรมชาติ ยังไม่ทราบว่าสัตว์ชนิดใดเป็น
พาหะนําโรคของไวรัสนี
เชือก่อโรค
ระยะฟักตัวของโรคประมาณ 2-21 วัน (ส่วนใหญ่ประมาณ
5-12 วัน)
โดยมีรายละเอียดของลักษณะทางคลินิก ดังนี
•วันที 1-2 ไข้สูงถึง 39OC เหงือออกมาก ครันเนือครันตัว
อ่อนเพลีย ปวดศีรษะบริเวณหน้าผากและด้านข้างปวด
เมือยกล้ามเนือ ปวดกระบอกตา เยือบุตาแดง หัวใจเต้นช้า
(bradycardia) ขณะมีไข้คลืนอาเจียนมาก ถ่ายเหลวเป็นนํา
ปวดมวนทัวท้อง อาจมีอาเจียนปนเลือดอุจจาระปนเลือด
ภายใน 2 วัน
ลักษณะของโรค
•วันที 3-6 อาจพบต่อมนําเหลืองบริเวณท้ายทอยคอ รักแร้
โต พบอาการเจ็บคอและกลืนลําบากได้บ่อยพบจุดบริเวณ
เพดานอ่อน และภาวะขาดนํา
•วันที 5-7 ประมาณร้อยละ15ของผู้ป่วยจะพบภาวะ
เลือดออก เช่น เลือดกําเดาไหลเลือดออกตามไรฟัน
เลือดออกในช่องท้อง(กระเพาะอาหาร&ลําไส้) เลือดออกทาง
ช่องคลอด ปัสสาวะเป็นเลือด เลือดออกบริเวณทีฉีดยา และ
พบเลือดออกบริเวณเยือบุตาขาวได้บ่อยจะพบจุดผืนแดง
กระจายจากใบหน้าไปก้นไปลําตัวและแขนแล้วกลายเป็นจํา
แดง ภายใน 24 ชม.ผืนจะขยายมารวมกันโดยไม่มีอาการคัน
•วันที 8-16 สะอึกตลอดเวลาในผู้ทีอาการรุนแรงและ
อาการไม่ดี(การสะอึกมักสัมพันธ์กับความรุนแรงของโรค)
แต่พบได้น้อย พบภาวะขาดนํารุนแรงในผู้ทีไม่ได้รักษา
แบบประคับประคอง ส่วนใหญ่จะเสียชีวิตประมาณวันที
12 จากการทํางานของอวัยวะล้มเหลวหลายจุด โดยเฉพาะ
ไตวายและตับวาย จะมีตัวบวม ระบบสมองและประสาท
ส่วนกลาง จนถึงโคมา ภาวะช็อคและเสียชีวิตตามมา
(อัตราป่วยตายร้อยละ50-90)
•ในกลุ่มผู้ป่ วยทีหายป่ วยหรืออาการดีขึน
–ผืนจะหายในวันที 12 จะพบผิวหนังบริเวณฝ่ามือฝ่าเท้า
หลุดลอกในวันที 14-16 และอาจมีอัณฑะอักเสบ
(orchitis) ตับอักเสบซํา(recurrent hepatitis) transverse
myelitis และ uveitis
•สามารถพบผู้ป่วยได้ในช่วงปลายฤดูฝน
•การระบาดจะเกิดขึนแบบประปรายและเป็นการระบาด
เล็กๆในพืนทีชนบททีส่วนใหญ่ไม่มีการตรวจจับการ
ระบาด
•การระบาดรุนแรงมักเกิดขึนในสถานพยาบาลทีมีระบบ
การรักษาพยาบาลทีไม่ได้มาตรฐาน
•ผู้ป่วยโรค Ebola ทีสามารถแพร่เชือไปยังผู้อืนได้นันมัก
เป็นผู้มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อืนเป็นจํานวนมาก(ผู้ป่วยทีมี
สถานะทางสังคมสูงทีมีผู้มาเยียมไข้เป็นจํานวนมากหรือ
เป็นสถานทีทีประชาชนเข้าร่วมในพิธีฝังศพ)
•การติดเชือในคนส่วนใหญ่เกิดจากการสัมผัสกับผิวหนังและ
เยือเมือกของผู้ป่วย
•และติดต่อโดยตรงจากการสัมผัสสารคัดหลังของร่างกายทีมี
เชือไวรัสปนเปือน เช่น เลือด นําลาย อาเจียน อุจจาระ เหงือ
•การติดต่อทางเพศสัมพันธ์กับผู้ป่วยทีหายเป็นปกติแล้วยัง
ไม่สามารถระบุได้แน่ชัด
•ยังไม่มีหลักฐานยืนยันว่าผู้สัมผัสใกล้ชิดทีไม่มีไข้หรือไม่มี
อาการ หรืออยู่ในระยะฟักตัวหรือฟืนตัว สามารถแพร่เชือ
โรคได้
การติดต่อ
•อัตราการติดเชือของผู้สัมผัสร่วมบ้านอยู่ระหว่างร้อยละ3-
17
•การระบาดครังที 2 ในแอฟริกาเกิดขึนในกลุ่มผู้ให้บริการ
ทางการแพทย์และสมาชิกในครอบครัวทีมีหน้าทีดูแลผู้ป่วย
•การติดเชือในโรงพยาบาลในกลุ่มผู้ให้บริการทางการแพทย์
เกิดจากการ้องกันทีไม่ดีพอและไม่ปฏิบัติตามหลัก
สุขอนามัย
•การติดเชือในกลุ่มผู้ทีจัดเตรียมงานศพเกิดจากการสัมผัส
ร่างกายหรือสารคัดหลังของผู้เสียชีวิต
การติดต่อ (ต่อ)
•เชือไวรัส Ebola ไม่สามารถติดต่อโดยทางอากาศหายใจ
(Airborne)
•แต่สามารถติดจากละอองฝอยของนํามูกนําลายของผู้ป่วย
แล้วเชือเข้าสู้ร่างกายผ่านทางเยือเมือก
•ไม่มีหลักฐานยืนยันว่าเชือไวรัสในลิง(Ebola Reston)
สามารถติดต่อไปสู่คนโดยผ่านทางละอองฝอยทีลอยใน
อากาศเหมือนไวรัสสายพันธ์อืนทีเกิดในคน
การติดต่อ (ต่อ)
•ไม่มีการรักษาเฉพาะ
•ให้การรักษาแบบประคับประคอง
•ให้รักษาความสมดุลของสารนําเนืองจากผู้ป่วยทีเสียชีวิต
ส่วนใหญ่เกิดจากภาวะร่างกายขาดนํา
•หลีกเลียงการทําหัตถการ
•ในระยะแรกของการป่วยควรให้สารต้านการแข็งตัวของ
เลือด เพือป้องกันไม่ให้ลิมเลือดแข็งตัวในหลอดเลือด
•การทดลองในสัตว์แสดงให้เห็นว่าการใช้hyper-immune
sera ไม่สามารถป้องกันโรคได้นานพอ
การรักษา
สรุปการระบาดของเชือไวรัส Ebola
สรุปการระบาดของเชือไวรัส Ebola
สรุปการระบาดของเชือไวรัส Ebola
สรุปการระบาดของเชือไวรัส Ebola
•พบการระบาดใน3 ประเทศในทวีปแอฟริกา ได้แก่
–กินี
–ไลบีเรีย
–เซียร์ราลีโอน
•ตังแต่ ก.พ. – 31 ก.ค. 2557
–พบผู้ป่วยสะสมรวม 1,323 ราย เสียชีวิต 729 ราย
–โดยเป็นผู้ป่วยยืนยันทางห้องปฏิบัติการสะสม 909 ราย
เสียชีวิต 485 ราย
–มีอัตราเสียชีวิตร้อยละ 60 – 90
สรุปสถานการณ์การระบาดของไวรัส Ebola
ณ วันที 1 ส.ค.57
•ความเสียงโอกาสเกิดการระบาดในประเทศไทย
พบว่าอยู่ในเกณฑ์ตํา แต่เพือความไม่ประมาท ควร
เตรียมความพร้อมในการเฝ้าระวังโรค
วัตถุประสงค์ของการเฝ้ าระวังและสอบสวนโรค
ระดับความเสียงต่อการติดเชือไวรัส Ebola
จําแนกตามลักษณะการสัมผัส
•จากนักท่องเทียวทีเดินทางกลับจากประเทศทีมีการระบาด
•การไปเยียมครอบครัวหรือเพือน
•ผู้ป่ วยทีแสดงอาการป่ วยและเข้ามารับการรักษาในประเทศ
ไทย
•ผู้โดยสารทีร่วมเดินทางมาในเครืองบินเดียวกันกับผู้ป่ วย
ติดเชือไวรัส Ebola
•คนไทยทีพักอาศัยในประเทศทีมีการระบาด
•ความเสียงของคนไทยทีทํางานในสถานพยาบาลใน
ประเทศทีมีการระบาด
ความเสียงต่อการติดเชือไวรัส Ebola ในประเทศไทย
•จากนักท่องเทียวทีเดินทางกลับจากประเทศทีมีการระบาด
–ความเสียงตํา
–เนืองจากการติดต่อต้อง
• มีการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลัง อวัยวะของคน/สัตว์ที
ติดเชือ
• หรือ ต้องอยู่ร่วมกับบุคคลหรือสัตว์ทีติดเชือ
–ปัจจัยดังกล่าวไม่ค่อยพบในนักเดินทางทัวไป
ความเสียงต่อการติดเชือไวรัส Ebola ในประเทศไทย
•การไปเยียมครอบครัวหรือเพือนในประเทศทีมีการระบาด
–ความเสียงตํา
–ยกเว้นนักเดินทางทีไปเยียมหรือดูแล และมีการสัมผัสโดยตรง
ผู้ป่วยหรือผู้เสียชีวิต รวมทังสัมผัสสัตว์ทีติดเชือ
ความเสียงต่อการติดเชือไวรัส Ebola ในประเทศไทย
•ผู้ป่ วยทีแสดงอาการป่ วยและเข้ามารับการรักษาในประเทศ
ไทย
–ต้องแยกกักผู้ป่วยเหล่านีทันที เพือป้องกันการแพร่ระบาดของ
โรค
–เนืองจากผู้ป่วยเหล่านีอาจจะสัมผัสกับเชือไวรัส Ebola และ
เริมแสดงอาการขณะเดินทาง
ความเสียงต่อการติดเชือไวรัส Ebola ในประเทศไทย
•ผู้โดยสารทีร่วมเดินทางมาในเครืองบินเดียวกันกับผู้ป่ วย
ติดเชือไวรัส Ebola
–มีความเสียง
–ถ้าสอบสวนพบว่ามีผู้โดยสารทีมีอาการเข้าได้กับนิยามการติด
เชือไวรัส Ebola และมีประวัติการเดินทางไปในประเทศเสียง
ในช่วง 21 วันก่อนป่วย
–ผู้โดยสารทุกรายทีนังห่างออกไป 1 ทีนังจากผู้โดยสารทีติด
เชือ รวมทังลูกเรือทุกคนมีความเสียงต่อการติดเชือ ถ้ามีการ
สัมผัสกับสารคัดหลังหรือสัมผัสกับเสือผ้า ผ้าเช็ดตัว หรือ
อุปกรณ์สิงของเครืองใช้ของผู้ติดเชือ
ความเสียงต่อการติดเชือไวรัส Ebola ในประเทศไทย
•คนไทยทีพักอาศัยในประเทศทีมีการระบาด
–ความเสียงตํา
–ยกเว้นมีการสัมผัสกับสารคัดหลังของสัตว์หรือคนทีติดเชือ
–มีความเป็นไปได้ของการติดต่อผ่านทางเพศสัมพันธ์ทีไม่ได้
ป้องกันกับผู้ป่วยทีเพิงหายจากโรคEbola
ความเสียงต่อการติดเชือไวรัส Ebola ในประเทศไทย
•ความเสียงของคนไทยทีทํางานในสถานพยาบาลใน
ประเทศทีมีการระบาด
–ความเสียงค่อนข้างสูง
• ในบุคลากรทีปฏิบัติงานในสถานพยาบาลและอาสาสมัครทีไป
ทํางานในประเทศทีมีการระบาด
• โดยเฉพาะกลุ่มคนทีต้องดูแลรักษาใกล้ชิดกับผู้ติดเชือไวรัส Ebola
ความเสียงต่อการติดเชือไวรัส Ebola ในประเทศไทย
•หลีกเลียงการสัมผัสกับผู้ป่วยทีแสดงอาการ และ/หรือ การสัมผัส
กับสารคัดหลังของผู้ป่วย
•หลีกเลียงการสัมผัสกับศพ และ/หรือ สารคัดหลังของศพ
•หลีกเลียงการสัมผัสใกล้ชิดกับสัตว์ป่า (ลิง แอนติโลปป่า(สัตว์กีบ
คู่ในวงศ์วัวควาย) หนู ค้างคาว) ทังทีมีชีวิตและตายแล้ว หรือ
บริโภคเนือสัตว์ป่า
•ล้างหรือปอกเปลือกผลไม้/ผักก่อนรับประทาน
•มีเพศสัมพันธ์แบบปลอดภัยทุกครัง
•ล้างมือเป็นประจํา
การป้ องกันการติดเชือในกลุ่มนักท่องเทียว
หรือผู้เดินทางไปยังประเทศทีมีการระบาด
•ใช้อุปกรณ์ป้องกันการติดเชือและนํายาฆ่าเชืออย่าง
เหมาะสม
•การสังเกตอาการผิดปกติ และรีบเข้ารับการรักษา
การป้ องกันการติดเชือในบุคลากรทีทํางานในสถานพยาบาล
•ผู้สัมผัสผู้ป่ วยโรค Ebola
–หมายถึง ผู้ทีสัมผัสผู้ป่วยโรค Ebola ด้วยกรณีต่อไปนี
อย่างน้อย 1 กรณี ภายใน 21 วันก่อนมีอาการป่วย
•อาศัยอยู่ในบ้านเดียวกับผู้ป่วย
•ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด และสัมผัสเลือด/สารคัดหลังจาก
ร่างกายผู้ป่วย หรือเสือผ้าของผู้ป่วย
•สัมผัสกับร่างกายผู้เสียชีวิตขณะจัดการศพหรือระหว่างงาน
ศพ
•ทารกทีดูดนมมารดาทีป่วยด้วยโรค Ebola
นิยามผู้สัมผัสโรค
•ผู้สัมผัสสัตว์ป่ วยหรือตาย
–หมายถึง ผู้ทีสัมผัสกับสัตว์ป่วยหรือตายด้วยกรณี
ต่อไปนีอย่างน้อย1 กรณี ภายใน 21 วันก่อนมีอาการ
ป่วย
•สัมผัสกับสัตว์ป่วยหรือตาย (โดยเฉพาะ ลิง แอนติโลปป่า
หนู ค้างคาว)
•สัมผัสกับเลือดหรือสารคัดหลังจากร่างกายของสัตว์ป่วย
หรือตาย
•ชําแหละสัตว์ตาย
•รับประทานเนือสัตว์ป่าดิบ
นิยามผู้สัมผัสโรค
•ผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการตรวจหาเชือก่อโรค
–หมายถึง ผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการตรวจหาเชือก่อ
โรค และได้สัมผัสตัวอย่างส่งตรวจด้วยกรณีต่อไปนี
อย่างน้อย 1 กรณี ภายใน 21 วันก่อนมีอาการป่วย
•สัมผัสตัวอย่างส่งตรวจจากผู้ป่วยสงสัยโรค Ebola
•สัมผัสตัวอย่างส่งตรวจจากสัตว์ป่วยสงสัยโรค Ebola
นิยามผู้สัมผัสโรค
•ผู้ป่ วยสงสัย (Suspected case)
–หมายถึง ผู้ทีเดินทางไปยังประเทศทีมีการระบาด (จากข้อมูล ณ
ปัจจุบัน วันที 27 เม.ย.57 พบการระบาดในประเทศกีนี
สาธารณรัฐโลบีเรีย) และขณะอยู่ในประเทศนันมีประวัติสัมผัส
ดังนี
• มีประวัติสัมผัสกับสัตว์ป่าทีป่วยหรือตาย หรือ
• ดูแลใกล้ชิดและสัมผัสผู้ป่วยหนักหรือผู้เสียชีวิต
• ร่วมกับมีอาการไข้และไม่ตอบสนองต่อการรักษาอาการไข้ทีเคยพบ
และทีเคยรักษาอยู่ในพืนทีนัน และมีอาการเลือดออกจากจมูก
เลือดออกตามไรฟัน เลือดออกใต้ผิวหนัง เลือดออกในตาและใน
ปัสสาวะ
การเฝ้ าระวังในระบบปกติ (Routine surveillance)
•ผู้ป่ วยยืนยัน (Confirmed case)
–หมายถึง ผู้ป่วยทีมีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการยืนยัน เช่น
ผลการตรวจภูมิคุ้มกันชนิด IgM หรือการตรวจ
PCR(Polymerase chain reaction) หรือการแยกเชือไวรัส
(Viral isolation)ให้ผลบวก
การเฝ้ าระวังในระบบปกติ (Routine surveillance)
•ข้อกําหนด เมือพบผู้ป่ วยสงสัย
–รายงานทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคทันที
–เก็บตัวอย่างจากผู้ป่วยเพือส่งตรวจห้องปฏิบัติการ
–บันทึกข้อมูลผู้ป่วยสงสัยลงในแบบรายงาน/แบบสอบสวน
พร้อมชือผู้สัมผัสกับผู้ป่วยสงสัย
–ถ้าผู้ป่วยเสียชีวิต ให้จัดการศพหรืองานศพด้วยวิธีทีปลอดภัย
จากการแพร่กระจายเชือ
การเฝ้ าระวังในระบบปกติ (Routine surveillance)
•ผู้ป่ วยสงสัย (Suspected case)
–หมายถึง ผู้ป่วยหรือผู้เสียชีวิตทีมีอาการไข้สูงเฉียบพลัน และมี
ประวัติสัมผัสกับ
• ผู้ป่วยสงสัย ผู้ป่วยเข้าข่าย หรือผู้ป่วยยืนยันโรค Ebola
• สัตว์ป่วยหรือตายจากโรค Ebola
การเฝ้ าระวังระหว่างการระบาด
•ผู้ป่ วยสงสัย (Suspected case) (ต่อ)
–หรือหมายถึง ผู้ทีมีอาการไข้สูงเฉียบพลัน และอาศัยอยู่ในตําบล
ทีพบผู้ป่วยเข้าข่ายหรือผู้ป่วยยืนยันโรค Ebola และมีอาการ
แสดงอย่างน้อย 3 อาการ ต่อไปนี
การเฝ้ าระวังระหว่างการระบาด
• ปวดศีรษะ
• อาเจียน
• เบืออาหาร
• ถ่ายเหลว
• เซืองซึม
• ปวดท้อง
• ปวดกล้ามเนือ
• ปวดข้อ
• กลืนลําบาก
• หายใจลําบาก
• สะอึก
•ผู้ป่ วยสงสัย (Suspected case) (ต่อ)
–หรือหมายถึง ผู้ป่วยทีมีอาการไข้สูงเฉียบพลันและมีอาการ
เลือดออกทีหาสาเหตุไม่ได้และอาศัยอยู่ในตําบลทีพบผู้ป่วยเข้า
ข่ายหรือผู้ป่วยยืนยันโรค Ebola
–หรือหมายถึง ผู้เสียชีวิตฉับพลันอย่างไม่ทราบสาเหตุและอาศัย
อยู่ในตําบลทีพบผู้ป่วยเข้าข่ายหรือผู้ป่วยยืนยันโรค Ebola
การเฝ้ าระวังระหว่างการระบาด
•ไม่เป็นผู้ป่ วย (Non-case)
–หมายถึง ผู้ป่วยสงสัยหรือผู้ป่วยเข้าข่ายทีมีผลการตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการให้ผลลบ ไม่พบแอนติบอดีเฉพาะ หรือไม่พบ
RNA ของเชือไวรัสแอนติเจน (ตัวอย่างทีส่งตรวจเป็นตัวอย่างที
เก็บในช่วงเวลาทีมีอาการป่วย)
นิยามการรายงานโรคสําหรับทีมเฝ้ าระวังสอบสวนโรคใน รพ.
•กรณีมีผู้ป่วยสงสัย ต้องรีบรายงานต่องานระบาดวิทยา
สํานักสาธารณสุขจังหวัด และส่งรายละเอียดเบืองต้นไปยัง
สํานักระบาดวิทยาทันที ภายใน 24 ชัวโมง โดยใช้แบบ
สอบสวนผู้ป่วยสงสัยติดเชือไวรัส Ebola
•เฝ้าระวังโรคอย่างใกล้ชิดต่อไปอีก42 วัน
แนวทางการสอบวนผู้ป่ วยสงสัยโรค Ebola
•ให้บันทึกข้อมูลลงในแบบรายงานทุกรายโดยไม่ต้อง
คํานึงถึงการจําแนกผู้ป่วยว่าเป็นผู้ป่วยสงสัยหรือผู้ป่วยเข้า
ข่าย
•เก็บรายงานนันไว้ทีสถานบริการสาธารณสุขเพือติดตาม
ประเมินการระบาด
•กรณีผู้สัมผัส ต้องติดตามสังเกตอาการและรายงาน่อ
เจ้าหน้าทีสาธารณสุขเมือมีไข้
การติดตามผู้ป่ วยและผู้สัมผัส
•กรณีผู้สัมผัส
–บันทึกอุณหภูมิวันละ 2 ครัง นาน 21 วัน หลังจากสัมผัสผู้ป่วย
ครังสุดท้าย
–หากผู้สัมผัสมีไข้> 38.5oC (101oF) ให้จัดเป็นผู้ป่วยใหม่และ
แยกออกจากผู้อืน
–เฝ้าระวังในพืนทีระบาดนาน 2 เท่าของระยะฟักตัว (21 x2=42
วัน) หลังจากวันทีผู้ป่วยเสียชีวิตหรือจําหน่ายออกจาก รพ.
การติดตามผู้ป่ วยและผู้สัมผัส
•ยืนยันการวินิจฉัยโรคด้วยวิธี ELISA ด้วยการตรวจ
ภูมิคุ้มกัน IgG และ IgM หรือการตรวจantigen ต่อเชือ
ไวรัส Ebola
•ส่งตรวจที คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
•กรณีผลบวกต่อ Ebola ส่งตรวจยืนยันที US-CDC หรือศูนย์
ประสานงานขององค์การอนัยโลก(WHO)
การตรวจและยืนยันผลทางห้องปฏิบัติการ
•สิงส่งตรวจทีควรเก็บตัวอย่างมี3 ประเภท
–เลือดในระยะเฉียบพลัน (acute phase)
• ให้เก็บจากผู้ป่วยในระยะ 7 วัน นับจากวันเริมป่วย
–ซีรัมในระยะฟืนตัว (convalescentphase)
• ให้เก็บจากผู้ป่วยในระยะอย่างน้อยทีสุดหลังจากวันเริมป่วย 14 วัน
• ควรเก็บ pair serum คือเก็บห่างกัน 7-20 วัน
• ไม่จําเป็นต้องแยก serum ระยะ acute จาก blood clot เพือลดความ
เสียงต่อการติดเชือของผู้ปฏิบัติงาน
• ควรใช้หลอดเก็บเลือดทีเป็นระบบปิดทีปลอดเชือ(Vacutainer type)
• เก็บเลือดมีอุณหภูมิ 4oC
–การเก็บตัวอย่างหลังจากเสียชีวิต และการตรวจชินเนือผิวหนัง/
อวัยวะอืนๆ เช่น ตับ
การเก็บตัวอย่าง
•ข้อคํานึงในการส่งตัวผู้ป่ วย
–สถานพยาบาลเดิมไม่มีห้องแยกโรค
–สภาพแวดล้อมของสถานพยาบาลเดิมสามารถเพิมโอกาสในการ
แพร่กระจายเชือ
–สถานพยาบาลแห่งใหม่มีห้องแยกหรือหอผู้ป่วยแยกทีสามารถรองรับ
ผู้ป่วยเพือการดูแลรักษาได้
–เส้นทางในการส่งตัวผู้ป่วยควรเป็นระยะทางทีสันทีสุด
–มีอุปกรณ์ป้องกันการติดเชือสําหรับบุคลากรทีเกียวข้อง
–พาหนะสามารถบรรทุกเตียงเคลือนย้ายผู้ป่วย และสามารถทําความ
สะอาดทําลายเชือได้
–บุคลากรทีนําส่งผู้ป่วยต้องผ่านการอบรมการป้ องกันการติดเชือมาแล้ว
การส่งตัวผู้ป่ วย
•ชุดป้ องกัน
•การล้างมือ
•อุปกรณ์ต่างๆ
•ผ้าคลุมเตียง
•เตียงและหมอน
การป้ องกันการติดเชือระหว่างดูแลผู้ป่ วย
•อาหาร
•แฟ้ มบันทึกการรักษา
•วิธีการทําลายเชือ
•การแยกผู้ป่ วย
•วัสดุทีปนเปือนเชือ
•ชุดป้ องกัน
–ควรจัดเก็บในพืนทีเฉพาะ
–ภายหลังการสวมใส่ให้ทําลายเชือ หรือทําลายอุปกรณ์นันๆ
•การล้างมือ
–ล้างมือทุกครังทีสัมผัสผู้ป่วยหรืออุปกรณ์
–ด้วยนํายาทําความสะอาดและฆ่าเชือก่อน
–แล้วจึงล้างมือด้วยสบู่และนําสะอาด
–อ่างล้างมือควรอยู่นอกห้องแยก
การป้ องกันการติดเชือระหว่างดูแลผู้ป่ วย
•อุปกรณ์ต่างๆ
–อุปกรณ์ทีใช้สัมผัสผู้ป่วยโดยตรง ต้องทําความสะอาดด้วยนํา
ยาฆ่าเชือก่อนนําไปใช้กับผู้ป่วยอืน ทีวัดอุณหภูมิร่างกายให้ใช้
เฉพาะราย
•ผ้าคลุมเตียง
–ใช้แผ่นพลาสติกป้องกันการซึมซับลงไปทีเตียง แผ่นพลาสติก
ทีใช้ต้องใหญ่พอทีจะคลุมเตียงได้ทังหมด และนําไปฆ่าเชือ
ภายหลังการใช้ หลังจากทีผู้ป่วยออกจาก รพ. หรือ เสียชีวิต
การป้ องกันการติดเชือระหว่างดูแลผู้ป่ วย
•เตียงและหมอน
–ฟูกและหมอนจะต้องใส่ถุงพลาสติก และนําออกมาทําลายเชือ(ด้วย
วิธีการแช่ในนํายาฆ่าเชือ อบทําลายเชือ หรือ ต้ม) ก่อนนําไปทําความ
สะอาด
•อาหาร
–ใช้ภาชนะและช้อมส้อมส่วนตัวเท่านัน ไม่ใช้ร่วมกับผู้ป่วยอืน ล้าง
และทําความสะอาดฆ่าเชือภายในห้องแยก
–อาหารทีไม่ได้รับประทานหรือเหลือให้ทิง ทําลาย และจัดการตาม
แนวทางเดียวกับอุปกรณ์ทีปนเปือนเชือ
•แฟ้ มบันทึกการรักษา
–ห้ามนําเข้าห้องผู้ป่วย
การป้ องกันการติดเชือระหว่างดูแลผู้ป่ วย
•วิธีการทําลายเชือ
–นํายาทําความสะอาดทัวไป
• เชือไวรัสมีความไวต่อนํายาฟอกขาว (Bleach) โดยผสมนํายาฟอก
ขาวด้วยอัตราส่วน 1:10 หรือ แช่ลงนํายาทําความสะอาด
อัตราส่วน 1:100 นาน 10 นาที
–สบู่และนําสะอาด
• ล้างและขัดด้วยสบู่และนําเพือล้างสิงปนเปือนออกจากวัสดุ
อุปกรณ์ต่างๆ
• ควรใช้นํายาทําความสะอาดซึงมีประสิทธิภาพากกว่าสบู่
–ทําลายเชือด้วยวิธี sterilization
• ควรใช้วิธี autoclave หรือ stream sterilizer หากไม่มีให้ต้มเดือด
นาน 20 นาที
การป้ องกันการติดเชือระหว่างดูแลผู้ป่ วย
•การแยกผู้ป่ วย
–ถ้ามีห้อง Negativepressure ให้แยกไว้ในห้องจนกว่าจะหายป่วย
–กรณีทีไม่มีห้อง Negative pressure ให้จัดห้องแยกทีอยู่ห่างจากที
สาธารณะ มีระบบระบายอากาศทีดี และระวังการใช้พัดลม
–มีสัญลักษณ์ระบุเขตระวังหน้าห้องหรือประตูทางเข้าห้องผู้ป่วย
–จํากัดการเข้าออกหรือปะปนกับผู้ป่วยอืน
–จัดเจ้าหน้าทีประจํา ไม่ผลัดเปลียนกับเจ้าหน้าทีชุดอืนๆ
–อุปกรณ์ใช้เฉพาะหอผู้ป่วย ห้ามปะปนกับหอผู้ป่วยอืน
–การย้ายผู้ป่วยออกจากห้อง ให้พิจารณาตามอาการและอาการ
แสดงของผู้ป่วยว่าไม่มีไข้อย่างน้อย 7 วัน หรือ นับจากวันเริม
ป่วย 21 วัน
การป้ องกันการติดเชือระหว่างดูแลผู้ป่ วย
การป้ องกันการติดเชือระหว่างดูแลผู้ป่ วย
•วัสดุทีปนเปือนเชือ
–อุปกรณ์หรือบริเวณทีเปือนเลือดหรือสารคัดหลัง ให้ทําความ
สะอาดด้วยนํายาทําความสะอาด
–อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการให้อบทําลายเชือด้วยความร้อนต้ม
หรือ เผา ซีรัมของผู้ป่วยทีอุณหภูมิ 60oC นาน 1 ชัวโมง
•บุคลากรทีสัมผัสเลือด/สารคัดหลังผู้ป่ วยบริเวณบาดแผล
หรือเยือบุอ่อน
–ให้ล้างผิวบริเวณทีสัมผัสทันทีด้วยนํายาฆ่าเชือแล้วล้างด้วยสบู่
และนํา
–บริเวณเยือบุอ่อนให้ล้างผ่านนําหรือนํายาล้างเฉพาะ
–ให้ตรวจร่างกายและติดตามเฝ้าระวังอาการนาน21 วัน
•ห่อศพด้วยถุงหรือวัสดุทีป้องกันการรัวซึมของนํา
•ให้ฝังหรือเผาศพทันทีพร้อมถุงห่อศพณ จุดทีตังศพ เพือจะ
ได้เคลือนย้ายศพน้อยทีสุด
การจัดการศพ
Ebola
Ebola

More Related Content

Featured

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

Ebola