SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
ประชุมหารือ
เครือข่ายภาคการศึกษาในกลุ่มภาคเหนือ
MICE Academic Cluster – Northern Region
27 มกราคม 2561 จังหวัดเชียงใหม่
สสปน โดยฝ่ายพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมไมซ์ (MICE Capabilities Department) มีภารกิจหลักในการ
พัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมไมซ์
• สู่การพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมทั้งที่อยู่ในอุตสาหกรรม และกาลังจะเข้าสู่อุตสาหกรรม เพื่อนาไปสู่
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของอุตสาหกรรม.ทั้ง ในส่วนกลางและเมืองสาคัญของ MICE City โดยมีจุดเน้น
ในการที่จะพัฒนานักเรียน นักศึกษา พัฒนาครู อาจารย์ ตลอดจนบุคคลากรในชับพลายเชนของอุตสาหกรรม
ไมช์ เพื่อสร้างโอกาสและคุณภาพในการจัดการองค์ความรู้ภายใต้แนวคิดอุตสาหกรรมไมช์ แต่การดาเนินการ
ให้บรรลุตามเป้าหมายและจุดเน้น ยังมีปัญหาและอุปสรรค อยู่พอสมควรอันสืบเนื่องจากข้อจากัดในการ
ส่งเสริมและสนับสนุน และการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสู่ภูมิภาค
• เพิ่มเครือข่ายและร่วมมือกับหน่วยคลัสเตอรในระดับพื้นที่ ดังนั้นจึงควรจะต้องมีการจัดแบ่งเขตพื้นที่ และ
จัดตั้งหน่วยคลัสเตอร์ให้เป็นหน่วยรองรับการกระจายอานาจที่สอดคล้องกับการจัดการตาม นโยบายและ
แนวคิดตาม Road Map ของฝ่ายพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมไมซ์ไปสู่การปฏิบัติที่เชื่อมโยงความร่วมมือกับ
ภาคส่วนการศึกษาในกลุ่มคลัสเตอร์และภาคส่วนอื่นๆ ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ตลอดจนใช้ทรัพยากร
ร่วมกัน
• การจัดตั้งกลุ่มคลัสเตอร์ จะสอดคล้องกับการแบ่งเขตตามภูมิภาคมี 5 เขต จะเป็นหน่วยคลัสเตอร์ที่รองรับ
การมอบภารกิจจาก สสปน. ในการส่งเสริม สนับสนุนการดาเนินงานกิจกรรมตามนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
ร่วมกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ทั้งนี้ หน่วยคลัสเตอรืสามารถคิดสร้างสรรคงานได้ด้วยทั้งนี้มีการ
ดาเนินการโดยคณะกรรมการทางานสอดคล้องกับหลักการกระจายอานาจตามวัตถุประสงค์การพัฒนา
อุตสาหกรรมไมช์เชิงบูรณาการ จะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการพัฒนา เรียนรู้ และ
ถ่ายทอด องค์ความรู้ในแนวคิดการจัดการอุตสาหกรรมไมช์ของชาติต่อไป
ความเป็นมา
วัตถุประสงค์โครงการ
• เพื่อสร้างความเข้มแข็งของ MICE Value Chain เพื่อนาปสู่การวางรากฐานอุตสาหกรรมไมซ์
ในอนาคตของประเทศไทย โดยเฉพาะการตั้งศูนย์เครือข่ายด้านการศึกษาไมซ์ในแต่ละภาค
(MICE Academic Cluster) เพื่อรองรับการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมไมซ์
• เพื่อร่วมพัฒนายกระดับ และบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนา
อุตสาหกรรมไมซ์ที่จะผลักดันและส่งเสริมให้การพัฒนาอุตสาหกรรมไมซ์ในพื้นที่แต่ละภาค โดย
การร่วมมือกันในทุกภาคส่วนทั้งรัฐต่อรัฐ รัฐต่อเอกชน และเอกชนต่อเอกชน
• เพื่อกระจายองค์ความรู้ไปยังภูมิภาคและท้องถิ่นตลอดจนยกระดับและสร้างขีดความสามารถ
ในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไมซ์ไทยในแต่ละภาคให้สามารถแข่งขันกับประเทศคู่แข่งใน
ระดับนานาชาติ
• เพื่อเป็นกรอบการจัดตั้งศูนย์เครือข่ายด้านการศึกษาไมซ์ในแต่ละภาค (MICE Academic
Cluster) โดยจัดทาแผนแผนปฏิบัติการประจาปีร่วมกับฝ่ายพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมไมซ์
โดยมีกลยุทธ์เป้าหมาย และแนวทางการดาเนินงานที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม เพื่อบรรลุ
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของฝ่ายฯ และขององค์กร
วัตถุประสงค์โครงการ
กรอบแนวคิด
• ภาคตะวันออก
• ภาคตะวันตก
• ภาคใต้
• ภาค
ตะวันออก
เฉียงเหนือ
• ภาคเหนือ
ขอบเขตพื้นที่ความรับผิดชอบแบ่งเป็น 6 ภาค
ภาคกลาง
เครือข่ายภาคเหนือ
• 14 มหาวิทยาลัย
• 7 อาชีวศึกษา
เครือข่ายภาคใต้
• 6 มหาวิทยาลัย
• 7 อาชีวศึกษา
เครือข่ายภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ
• 5 มหาวิทยาลัย
• 7 อาชีวศึกษา
เครือข่ายภาคตะวันออก
• 1 มหาวิทยาลัย
• 3 อาชีวศึกษา
เครือข่ายภาคกลาง
• 37 มหาวิทยาลัย
• 17 อาชีวศึกษา
เครือข่ายภาคตะวันตก
• 1 มหาวิทยาลัย
• 3 อาชีวศึกษา
เครือข่ายรวมทั้งสิ้น 106 สถาบัน
• 62 มหาวิทยาลัย
• 44 อาชีวศึกษา
บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
1. เป็นศูนย์กลางด้านองค์ความรู้ไมซ์ และพัฒนศักยภาพ
อุตสาหกรรมไมซ์ ร่วมกับ สสปน.
2. สนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายจาก สสปน เพื่อนาไปสู่การ
ปฏิบัติ
• ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข่าวสาร กิจกรรม อบรม
ความรู้ ความก้าวหน้า
• ประสานงานร่วมกับภาครัฐ และเอกชน
• ประเมินผล นโยบายตามภารกิจตลอดจนให้คาปรึกษา
และแนะนาเพื่อปรับปรุงและพัฒนา
3. ส่งเสริมประสิทธิภาพ ยกระดับบุคลากรไมซ์ของประเทศไทย
4. รูปแบบการรายงานผลงานทุก 6 เดือน
คุณสมบัติของคลัสเตอร์
• หนึ่งในพันธมิตรด้านการศึกษาไมซ์ ร่วมกับสสปน.
• สามารถเชื่อมโยงกิจกรรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อเอื้อประโยชน์
ในภูมิภาคและท้องถิ่นในเชิงเศรษฐกิจโดยรวม
• สามารถเชื่อมโยงดูแลพื้นที่ที่เหมาะสมในเชิงยุทธศาสตร์ของประเทศ
ตามภูมิภาค และมีเครือข่ายการศึกษาไมซ์อย่างชัดเจน
• มีการเชื่อมโยงเครือข่าย MICE Value Chain เพื่อสร้างความเข็ม
แข็งร่วมกัน ตั้งแต่ต้นน้า กลางน้า และปลายน้า อีกทั้งยังสามรถ
ทางานร่วมกับภาครัฐ ภาคการศึกษา ภาคเอกชน และองค์ประกอบ
อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
• ได้รับการเห็นชอบจากผู้บริหารที่มีอานาจลงนามของมหาวิทยาลัยใน
ต้นสังกัด
ตัวชี้วัดความสาเร็จด้านการกระจายความร่วมมือ
1. พัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศ
2. กาหนดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมยกระดับองค์ความรู้
เชื่อมโยงเครือข่ายไมซ์ ทั้งภาครัฐและเอกชน
1. เพิ่มจานวนบุคลากรที่ผ่าน Certified
2. ด้านโครงสร้าง จัดตั้งเป็นศูนย์สอบเทียบมาตฐานวิชาชีพไมซ์ในภูมิภาค
โครงการศึกษาแนวทางในการตั้งศูนย์เครือข่ายด้านการศึกษาไมซ์ในแต่ละภาค
(MICE Academic Cluster)
สำนักงำนส่งเสริมกำรจัดประชุมและนิทรรศกำรองค์กำรมหำชน
ได้มอบหมำยให้
คณะวิทยำกำรจัดกำร มหำวิทยำลัยศิลปำกร
บันทึกความร่วมมือโครงการจัดตั้งศูนย์เครือข่ายภาคการศึกษาไมซ์ในภูมิภาค
(MICE Academic Cluster)
สำนักงำนส่งเสริมกำรจัดประชุมและนิทรรศกำร (องค์กำรมหำชน) และสถำบันอุดมศึกษำ 5 แห่ง ซึ่งเป็นสถำบันกำรศึกษำของแต่ละภูมิภำค
ประกอบด้วย 1.มหำวิทยำลัยขอนแก่น กลุ่มภูมิภำคตะวันออกเฉียงเหนือ 2 .มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ กลุ่มภูมิภำคเหนือ 3 .มหำวิทยำลัยศิลปำกร กลุ่ม
ภูมิภำคกลำง 4.มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ กลุ่มภูมิภำคใต้ 5. วิทยำลัยดุสิตธำนี กลุ่มภูมิภำคตะวันออก จัดพิธีลงนำมบันทึกข้อตกลงควำมร่วมมือ
โครงกำรจัดตั้งศูนย์เครือข่ำยด้ำนกำรศึกษำไมซ์ในภูมิภำค ในวันพุธที่ 17 มกรำคม 2561

More Related Content

Similar to ประชุมหารือ เครือข่ายภาคการศึกษาในกลุ่มภาคเหนือ

สื่อการเรียนรู้ไอซีทีเพื่ออาชีวศึกษา
สื่อการเรียนรู้ไอซีทีเพื่ออาชีวศึกษาสื่อการเรียนรู้ไอซีทีเพื่ออาชีวศึกษา
สื่อการเรียนรู้ไอซีทีเพื่ออาชีวศึกษาPrachyanun Nilsook
 
Successes and failures of km
Successes and failures of kmSuccesses and failures of km
Successes and failures of kmmaruay songtanin
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้janepi49
 
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICTการประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICTPanita Wannapiroon Kmutnb
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
Papertest saman bio_2563
Papertest saman bio_2563Papertest saman bio_2563
Papertest saman bio_2563wichailik
 

Similar to ประชุมหารือ เครือข่ายภาคการศึกษาในกลุ่มภาคเหนือ (11)

Vision for Teacher Education
Vision for Teacher EducationVision for Teacher Education
Vision for Teacher Education
 
สื่อการเรียนรู้ไอซีทีเพื่ออาชีวศึกษา
สื่อการเรียนรู้ไอซีทีเพื่ออาชีวศึกษาสื่อการเรียนรู้ไอซีทีเพื่ออาชีวศึกษา
สื่อการเรียนรู้ไอซีทีเพื่ออาชีวศึกษา
 
Present by Nu
Present by NuPresent by Nu
Present by Nu
 
Successes and failures of km
Successes and failures of kmSuccesses and failures of km
Successes and failures of km
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICTการประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
Papertest saman bio_2563
Papertest saman bio_2563Papertest saman bio_2563
Papertest saman bio_2563
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
Aseanict masterplan2015
Aseanict masterplan2015Aseanict masterplan2015
Aseanict masterplan2015
 
Infographic
InfographicInfographic
Infographic
 

More from Chiang Mai University

More from Chiang Mai University (18)

2018 fall syllabus ASAEN tourism management
2018 fall syllabus  ASAEN tourism management2018 fall syllabus  ASAEN tourism management
2018 fall syllabus ASAEN tourism management
 
Usac 2018 -ilscm - scaan model
Usac   2018 -ilscm - scaan modelUsac   2018 -ilscm - scaan model
Usac 2018 -ilscm - scaan model
 
Time series decomposition | ECON403
Time series decomposition | ECON403Time series decomposition | ECON403
Time series decomposition | ECON403
 
2018 spring-syllabus-international-logistics-and-supply-chain-management
2018 spring-syllabus-international-logistics-and-supply-chain-management2018 spring-syllabus-international-logistics-and-supply-chain-management
2018 spring-syllabus-international-logistics-and-supply-chain-management
 
Econ304 1 intro (2560/1)
Econ304 1 intro (2560/1)Econ304 1 intro (2560/1)
Econ304 1 intro (2560/1)
 
Proceeding of ASCA 2016
Proceeding of ASCA 2016 Proceeding of ASCA 2016
Proceeding of ASCA 2016
 
Report template
Report template Report template
Report template
 
Review of Time series (ECON403)
Review of Time series (ECON403)Review of Time series (ECON403)
Review of Time series (ECON403)
 
Econ708 fidning topic
Econ708   fidning topicEcon708   fidning topic
Econ708 fidning topic
 
Econ304 1 intro
Econ304 1 introEcon304 1 intro
Econ304 1 intro
 
751708 - Chapter 1
751708 - Chapter 1751708 - Chapter 1
751708 - Chapter 1
 
Econ708 intro
Econ708   intro Econ708   intro
Econ708 intro
 
Asean CBT Standard
Asean CBT StandardAsean CBT Standard
Asean CBT Standard
 
Econ408 population and sampling
Econ408 population and samplingEcon408 population and sampling
Econ408 population and sampling
 
Econ304 1 intro 2016/1
Econ304 1 intro 2016/1Econ304 1 intro 2016/1
Econ304 1 intro 2016/1
 
Econ304 2 - Index Number
Econ304 2 - Index NumberEcon304 2 - Index Number
Econ304 2 - Index Number
 
Econ304 1 intro
Econ304 1 introEcon304 1 intro
Econ304 1 intro
 
Optimization of Collaborative Planing and Decision Making in the Tourism Supp...
Optimization of Collaborative Planing and Decision Making in the Tourism Supp...Optimization of Collaborative Planing and Decision Making in the Tourism Supp...
Optimization of Collaborative Planing and Decision Making in the Tourism Supp...
 

ประชุมหารือ เครือข่ายภาคการศึกษาในกลุ่มภาคเหนือ

  • 2. สสปน โดยฝ่ายพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมไมซ์ (MICE Capabilities Department) มีภารกิจหลักในการ พัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมไมซ์ • สู่การพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมทั้งที่อยู่ในอุตสาหกรรม และกาลังจะเข้าสู่อุตสาหกรรม เพื่อนาไปสู่ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของอุตสาหกรรม.ทั้ง ในส่วนกลางและเมืองสาคัญของ MICE City โดยมีจุดเน้น ในการที่จะพัฒนานักเรียน นักศึกษา พัฒนาครู อาจารย์ ตลอดจนบุคคลากรในชับพลายเชนของอุตสาหกรรม ไมช์ เพื่อสร้างโอกาสและคุณภาพในการจัดการองค์ความรู้ภายใต้แนวคิดอุตสาหกรรมไมช์ แต่การดาเนินการ ให้บรรลุตามเป้าหมายและจุดเน้น ยังมีปัญหาและอุปสรรค อยู่พอสมควรอันสืบเนื่องจากข้อจากัดในการ ส่งเสริมและสนับสนุน และการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสู่ภูมิภาค • เพิ่มเครือข่ายและร่วมมือกับหน่วยคลัสเตอรในระดับพื้นที่ ดังนั้นจึงควรจะต้องมีการจัดแบ่งเขตพื้นที่ และ จัดตั้งหน่วยคลัสเตอร์ให้เป็นหน่วยรองรับการกระจายอานาจที่สอดคล้องกับการจัดการตาม นโยบายและ แนวคิดตาม Road Map ของฝ่ายพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมไมซ์ไปสู่การปฏิบัติที่เชื่อมโยงความร่วมมือกับ ภาคส่วนการศึกษาในกลุ่มคลัสเตอร์และภาคส่วนอื่นๆ ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ตลอดจนใช้ทรัพยากร ร่วมกัน • การจัดตั้งกลุ่มคลัสเตอร์ จะสอดคล้องกับการแบ่งเขตตามภูมิภาคมี 5 เขต จะเป็นหน่วยคลัสเตอร์ที่รองรับ การมอบภารกิจจาก สสปน. ในการส่งเสริม สนับสนุนการดาเนินงานกิจกรรมตามนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ร่วมกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ทั้งนี้ หน่วยคลัสเตอรืสามารถคิดสร้างสรรคงานได้ด้วยทั้งนี้มีการ ดาเนินการโดยคณะกรรมการทางานสอดคล้องกับหลักการกระจายอานาจตามวัตถุประสงค์การพัฒนา อุตสาหกรรมไมช์เชิงบูรณาการ จะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการพัฒนา เรียนรู้ และ ถ่ายทอด องค์ความรู้ในแนวคิดการจัดการอุตสาหกรรมไมช์ของชาติต่อไป ความเป็นมา
  • 3. วัตถุประสงค์โครงการ • เพื่อสร้างความเข้มแข็งของ MICE Value Chain เพื่อนาปสู่การวางรากฐานอุตสาหกรรมไมซ์ ในอนาคตของประเทศไทย โดยเฉพาะการตั้งศูนย์เครือข่ายด้านการศึกษาไมซ์ในแต่ละภาค (MICE Academic Cluster) เพื่อรองรับการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมไมซ์ • เพื่อร่วมพัฒนายกระดับ และบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนา อุตสาหกรรมไมซ์ที่จะผลักดันและส่งเสริมให้การพัฒนาอุตสาหกรรมไมซ์ในพื้นที่แต่ละภาค โดย การร่วมมือกันในทุกภาคส่วนทั้งรัฐต่อรัฐ รัฐต่อเอกชน และเอกชนต่อเอกชน • เพื่อกระจายองค์ความรู้ไปยังภูมิภาคและท้องถิ่นตลอดจนยกระดับและสร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไมซ์ไทยในแต่ละภาคให้สามารถแข่งขันกับประเทศคู่แข่งใน ระดับนานาชาติ • เพื่อเป็นกรอบการจัดตั้งศูนย์เครือข่ายด้านการศึกษาไมซ์ในแต่ละภาค (MICE Academic Cluster) โดยจัดทาแผนแผนปฏิบัติการประจาปีร่วมกับฝ่ายพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมไมซ์ โดยมีกลยุทธ์เป้าหมาย และแนวทางการดาเนินงานที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม เพื่อบรรลุ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของฝ่ายฯ และขององค์กร วัตถุประสงค์โครงการ
  • 4. กรอบแนวคิด • ภาคตะวันออก • ภาคตะวันตก • ภาคใต้ • ภาค ตะวันออก เฉียงเหนือ • ภาคเหนือ ขอบเขตพื้นที่ความรับผิดชอบแบ่งเป็น 6 ภาค ภาคกลาง เครือข่ายภาคเหนือ • 14 มหาวิทยาลัย • 7 อาชีวศึกษา เครือข่ายภาคใต้ • 6 มหาวิทยาลัย • 7 อาชีวศึกษา เครือข่ายภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ • 5 มหาวิทยาลัย • 7 อาชีวศึกษา เครือข่ายภาคตะวันออก • 1 มหาวิทยาลัย • 3 อาชีวศึกษา เครือข่ายภาคกลาง • 37 มหาวิทยาลัย • 17 อาชีวศึกษา เครือข่ายภาคตะวันตก • 1 มหาวิทยาลัย • 3 อาชีวศึกษา เครือข่ายรวมทั้งสิ้น 106 สถาบัน • 62 มหาวิทยาลัย • 44 อาชีวศึกษา
  • 5. บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ 1. เป็นศูนย์กลางด้านองค์ความรู้ไมซ์ และพัฒนศักยภาพ อุตสาหกรรมไมซ์ ร่วมกับ สสปน. 2. สนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายจาก สสปน เพื่อนาไปสู่การ ปฏิบัติ • ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข่าวสาร กิจกรรม อบรม ความรู้ ความก้าวหน้า • ประสานงานร่วมกับภาครัฐ และเอกชน • ประเมินผล นโยบายตามภารกิจตลอดจนให้คาปรึกษา และแนะนาเพื่อปรับปรุงและพัฒนา 3. ส่งเสริมประสิทธิภาพ ยกระดับบุคลากรไมซ์ของประเทศไทย 4. รูปแบบการรายงานผลงานทุก 6 เดือน
  • 6. คุณสมบัติของคลัสเตอร์ • หนึ่งในพันธมิตรด้านการศึกษาไมซ์ ร่วมกับสสปน. • สามารถเชื่อมโยงกิจกรรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อเอื้อประโยชน์ ในภูมิภาคและท้องถิ่นในเชิงเศรษฐกิจโดยรวม • สามารถเชื่อมโยงดูแลพื้นที่ที่เหมาะสมในเชิงยุทธศาสตร์ของประเทศ ตามภูมิภาค และมีเครือข่ายการศึกษาไมซ์อย่างชัดเจน • มีการเชื่อมโยงเครือข่าย MICE Value Chain เพื่อสร้างความเข็ม แข็งร่วมกัน ตั้งแต่ต้นน้า กลางน้า และปลายน้า อีกทั้งยังสามรถ ทางานร่วมกับภาครัฐ ภาคการศึกษา ภาคเอกชน และองค์ประกอบ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง • ได้รับการเห็นชอบจากผู้บริหารที่มีอานาจลงนามของมหาวิทยาลัยใน ต้นสังกัด
  • 7. ตัวชี้วัดความสาเร็จด้านการกระจายความร่วมมือ 1. พัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศ 2. กาหนดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมยกระดับองค์ความรู้ เชื่อมโยงเครือข่ายไมซ์ ทั้งภาครัฐและเอกชน 1. เพิ่มจานวนบุคลากรที่ผ่าน Certified 2. ด้านโครงสร้าง จัดตั้งเป็นศูนย์สอบเทียบมาตฐานวิชาชีพไมซ์ในภูมิภาค
  • 9. บันทึกความร่วมมือโครงการจัดตั้งศูนย์เครือข่ายภาคการศึกษาไมซ์ในภูมิภาค (MICE Academic Cluster) สำนักงำนส่งเสริมกำรจัดประชุมและนิทรรศกำร (องค์กำรมหำชน) และสถำบันอุดมศึกษำ 5 แห่ง ซึ่งเป็นสถำบันกำรศึกษำของแต่ละภูมิภำค ประกอบด้วย 1.มหำวิทยำลัยขอนแก่น กลุ่มภูมิภำคตะวันออกเฉียงเหนือ 2 .มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ กลุ่มภูมิภำคเหนือ 3 .มหำวิทยำลัยศิลปำกร กลุ่ม ภูมิภำคกลำง 4.มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ กลุ่มภูมิภำคใต้ 5. วิทยำลัยดุสิตธำนี กลุ่มภูมิภำคตะวันออก จัดพิธีลงนำมบันทึกข้อตกลงควำมร่วมมือ โครงกำรจัดตั้งศูนย์เครือข่ำยด้ำนกำรศึกษำไมซ์ในภูมิภำค ในวันพุธที่ 17 มกรำคม 2561