SlideShare a Scribd company logo
1 of 88
Download to read offline
0

สถิติและข้อมูลกิจกรรมการบริการ
ปีงบประมาณ 2555

ศูนย์ขอมูลสารสนเทศและการวิจัย
้
โรงพยาบาลมหาสารคาม
1

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปโรงพยาบาลมหาสารคาม
ประวัติโรงพยาบาลมหาสารคาม
ปี พ.ศ. 2490 โรงพยาบาลมหาสารคามเริ่มก่อสร้างบนเนื้อที่ 12 ไร่เศษ ตั้งอยู่เลขที่ 168 ถนนผดุงวิถี
ตําบลตลาด อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม โดยได้รับโอนที่ดินจากสถานีสุขศาลา เทศบาลเมืองมหาสารคาม
พ.ศ. 2532 เป็นต้นมา โรงพยาบาลมหาสารคามมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มีผู้อํานวยการโรงพยาบาลอีก
หลายท่านที่ทมเททั้งแรงกายและแรงใจ เพือพัฒนาโรงพยาบาลมหาสารคามเป็นโรงพยาบาลขนาด 472 เตียง ใน
ุ่
่
เนื้อที่ 30 ไร่เศษ ตั้งอยู่ท่ี 168 ถนนผดุงวิถี ตําบลตลาด อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม โทร 043-711029,
711463, 740993-6 โทรสาร 043-711433 และได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาลในวันที่ 10 เดือนพฤศจิกายน
2548 จากสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล
รายนามผู้อํานวยการโรงพยาบาลมหาสารคามตั้งแต่เริ่มเปิดดําเนินการจนถึงปัจจุบัน
นายแพทย์บรรลุ
นายแพทย์วุฒิ
นายแพทย์วิสิษฐ์
นายแพทย์สุพฒก์
ั
แพทย์หญิงชูศรี
นายแพทย์สมศักดิ์
นายแพทย์มงคล
นายแพทย์สุวัฒน์
นายแพทย์ชาย
นายแพทย์วิชิต
นายแพทย์วีระพันธ์
แพทย์หญิงเสาวลักษณ์
นายแพทย์สุนทร

ศิริพานิช
โพธิสุนทร
สุวรรณิก
ตระกูลดิษฐ์
โพธิสุนทร
ธันวารชร
เชฏฐากุล
เลิศสุขประเสริฐ
ธีระสูต
ว่องสัธนพงษ์
สุพรรณไชยมาตย์
นาคะพงษ์
ยนต์ตระกูล

พ.ศ. 2494-2496
พ.ศ. 2496-2498
พ.ศ. 2498-2500
พ.ศ. 2500-2518
พ.ศ. 2518-2532
พ.ศ. 2532-2536
พ.ศ. 2536-2537
พ.ศ. 2537-2542
พ.ศ. 2542-2545
พ.ศ. 2545-2547
พ.ศ. 2547-2550
พ.ศ. 2550-2552
พ.ศ. 2552-ปัจจุบัน
2

วิสัยทัศน์
“โรงพยาบาลมหาสารคามให้บริการด้านสุขภาพ มุ่งสู่มาตรฐานระดับชาติ”
ปรัชญา
“คุณภาพมาตรฐาน บริการดุจญาติมิตร”
เป้าประสงค์
1. จัดบริการทางการแพทย์ระดับตติยภูมิ
2. เป็นสถาบันร่วมผลิตแพทย์ชั้นคลินิกที่ได้มาตรฐาน
3. ประชาชนมีทักษะในการจัดการสุขภาพให้ปลอดภัยจากภาวะคุกคามด้านสุขภาพ
4. บุคลากรมีคณภาพชีวิตที่สมดุล
ุ
วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์
1. เพื่อยกระดับการบริการทางการแพทย์และพัฒนาคุณภาพให้ได้รับรองมาตรฐาน HA
2. เพื่อพัฒนาวิชาการด้านการแพทย์ให้เป็นสถาบันร่วมผลิตแพทย์ชั้นคลินิก
3. เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดโรคจากภาวะคุกคามด้านสุขภาพ
4. เพื่อพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีประสิทธิภาพ
ค่านิยมหลัก : Core Value
ค่านิยมร่วม : Share Value
สมรรถนะหลัก : Core Competency

“มุ่งงาน เชี่ยวชาญ บริการดี
มีภาวะผู้นํา เป็นทีม เป็นธรรม
น้อมนําเศรษฐกิจพอเพียง”

พันธกิจ
1. ให้บริการสุขภาพด้านส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟูอย่างเป็นองค์รวม ด้วยจิตใจความเป็นมนุษย์
และสร้างความพึงพอใจสูงสุดแก่ผู้รับบริการ
2. พัฒนาระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ
3. มีการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่องในทุกสาขาและการวิจัย เพื่อคงไว้ซึ่งบริการที่มคุณภาพ
ี
บุคลากรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
4. สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน การวิจัยทางการแพทย์
5. พัฒนาให้เป็นศูนย์เรียนรู้ทครบวงจรและพัฒนาการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้สุขภาพชุมชนที่
ี่
สามารถจัดการด้านสุขภาพได้อย่างดีเลิศ
3

ส่วนที่ 2 ข้อมูลบุคลากร
1. ข้อมูลบุคลากร
ตารางที่ 1 อัตรากําลังเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลมหาสารคาม ตามบัญชีถือจ่ายเงินเดือน ระดับ 1 – 9
ปีงบประมาณ
ประเภท
2552
2553
2554
2555
ข้าราชการ
565
568
569
565
ลูกจ้างประจํา
168
150
148
142
ลูกจ้างชั่วคราว (รายเดือน)
377
415
491
530
ลูกจ้างชั่วคราว (รายวัน)
82
92
99
101
พนักงานราชการ
11
11
16
18
รวม

1,203

1,236

1,323

1,356

ที่มา : ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 1 มีนาคม 2555
ตารางที่ 2 อัตรากําลังเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลมหาสารคาม จําแนกประเภทข้าราชการ ตาม จ.18
ตามบัญชีถือจ่ายเงินเดือน จํานวน
ประเภท
ปฏิบัติงานจริง จํานวน (คน)
(คน)
แพทย์
65
56
- แพทย์ใช้ทุน(Intern)
20
ทันตแพทย์
12
11
เภสัชกร
29
30
พยาบาลวิชาชีพ
358
372
รวม
464
489
ที่มา : ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 1 มีนาคม 2555
* หมายเหตุ : แพทย์ใช้ทุน(Intern) ปฏิบัติงานที่รพช. 5 คน
4

ตารางที่ 3 จําแนกแพทย์เฉพาะทางสาขาต่างๆ ในโรงพยาบาลมหาสารคาม
จํานวน
แพทย์เฉพาะทาง
แพทย์เฉพาะทาง
(คน)
อายุรกรรมทั่วไป
7
ศัลยกรรมระบบประสาท
อายุรกรรมโรคไต
1
ศัลยกรรมทางเดินปัสสาวะ
อายุรกรรมระบบประสาท
1
ศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์
กุมารเวชกรรม
8
สูติ-นรีเวชกรรม
รังสีแพทย์
3
จักษุแพทย์
เวชกรรมฟื้นฟู
1
หู คอ จมูก
เวชปฏิบัติทั่วไป
4
วิสัญญีแพทย์
ศัลยกรรมทั่วไป
7
รวม
ที่มา : ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 1 มีนาคม 2555

จํานวน
(คน)
1
3
7
7
3
2
4
59
5

ส่วนที่ 3 ข้อมูลทางการเงิน
3. ข้อมูลทางการเงิน
ตาราง 4 สถานะเงินบํารุงปีงบประมาณ 2553- 2555
รายการ

2553

ปีงบประมาณ (บาท)
2554

2555

เงินสด/เงินฝากธนาคาร/
เงินฝากคลัง
ลูกหนี้เงินยืม

297,687,450.50

385,838,791.10

380,361,300.06

1,626,741.00

1,548,704

699,765

ลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาล
และอื่น ๆสุทธิ
เงินUCจ่ายล่วงหน้า

88,607,959.89

81,358,346.33

120,408,196.08

หนี้สิน
วัสดุคงคลัง
รายได้
ค่าใช้จ่าย

5,100,000.00
161,959,161.91

185,594,513.20

194,330,122.38

31,568,391.96

30,183,060.00

42,350,764.58

1,109,764,080.30

1,002,435,257.26

346,654,818.30

1,077,274,903.05

914,299,449.73

312,652,315.15

ที่มา : ฝ่ายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 มกราคม 2555

ตาราง 5 ประมาณการรายรับและรับจริง ปี 2555
ลําดับที่
หมวด
ประมาณการ (บาท)
รับจริง (บาท)
1
งบประมาณ
346,225,100
95,743,709.59
2
เงินบํารุง
- UC
401,000,000
182,881,298.88
- อื่นๆ
384,100,000
71,218,760.76
รวม
1,131,325.100
349,843,769.29
ที่มา : ฝ่ายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 มกราคม 2555

ร้อยละ
27.65
45.60
18.54
30.90
6

ตาราง 6 แผนประมาณการรายรับและรายรับจริง ปี 2556 ประจําเดือน ตุลาคม 2554 – มกราคม 2555
รับจริง
ประมาณการ
ลําดับที่
รายการ
(บาท)
(บาท)
ร้อยละ
1
เงินเดือน
205,000,000
58,598,889.18
28.58
2
ค่าจ้างประจํา
30,000,000
9,635400
32.12
3
ค่าเช่าบ้าน
228,000
76,000
33.33
4
เงินประจําตําแหน่ง
25,000,000
7,498,454.20
29.99
5
ค่าตอบแทน เงินเดือนเต็มขั้น
500,000
63,507.24
12.70
6
เงินค่าตอบแทน (ง/ด < 11,700
67,040
500,000
บาท)
13.41
7
เงินเดือนพนักงานราชการ
2,500,000
792,720.67
31.71
8
เงิน พตส.
17,500,000
5,414,000
30.94
9
กบข.
9,600,000
2,870,624.30
29.90
10
กสจ.
780,000
261,330
33.50
11
ค่าเล่าเรียนบุตร
2,600,000
773,295
29.74
12
ค่ารักษาพยาบาล
1,300,000
619,145.50
47.63
13
ประกันสังคมสมทบ
150,000
30,404
20.27
14
งบลงทุน ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง
57,567,100
14,947,971.61
25.97
15
ค่าเหมาจ่ายรายหัว UC
- กองทุนผู้ป่วยนอก
35,000,000
27,691,299.28
79.12
- กองทุนผู้ป่วยใน
210,000,000
111,829,067.35
53.25
- กองทุนส่งเสริมสุขภาพ
18,000,000
6,353,437.14
35.30
- กองทุนโรคไต ,ฟื้นฟูคนพิการ ,
29,000,000
4,285,020.70
14.78
งบบริการทันตกรรม,แพทย์แผนไทย
- กองทุนโรคเอดส์
7,000,000
0.00
- กองทุน Central Reimburse
33,000,0000
47.57
15,697,874.08
- ผลงาน
20,000,000
1,568,087.60
7.84
- คัดกรอง
7,000,000
0.00
16
รับจากการเรียกเก็บ
25,000,000
27.08
6,770,001
17
18

รับโอนสนับสนุนโครงการ
สวัสดิการข้าราชการ-รัฐวิสาหกิจ

5,000,000
270,000,000

1,945,745
49,959,037.11

19.46
18.50
7

ลําดับที่
19
20
21
22
23

รายการ
กองทุนประกันสังคม
กองทุนผู้ประสบภัยจากรถ
ค่าธรรมเนียมผู้ป่วยจ่ายเอง
เงินบริจาค
รายรับอื่นๆ
รวมประมาณการรายรับ

ประมาณการ
(บาท)
37,000,000
9,200,000
55,000,000
2,900,000
10,000,000
1,31,325,100

รับจริง
(บาท)
2,043,818.92
2,558.749
14,481.554
254.000
2,757,297.13
349,843,769.23

ร้อยละ
5.52
27.81
26.33
8.76
27.57
30.92

ที่มา : ฝ่ายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 มกราคม 2555

ตาราง 7 ประมาณการรายจ่าย และรายจ่ายจริง ปี 2555 จําแนกตามหมวด
หมวด
ประมาณการ (บาท)
จ่ายจริง (บาท)
งบดําเนินการ
421,333,000
146,555,276.26
งบบุคลากร
452,278,000
139,964,479.29
งบลงทุน
220,311,071
32,733,005.50
รวม
1,093,922,071
319,252,761.05
ที่มา : ฝ่ายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 มกราคม 2555

ร้อยละ
34.78
30.95
14.86
29.18
8

ตาราง 8 แผนรายจ่าย และรายจ่ายจริง ปี 2555 ช่วงเดือนตุลาคม 2554 -มกราคม 2555 หมวดงบบุคลากร
ลําดับที่
1
2
3
4
5
6
7
8
9

รายการ

ประมาณการ (บาท)

เงินเดือน
205,000,000
ค่าจ้างลูกจ้างประจํา
30,000,000
พนักงานราชการ
3,000,000
เงินประจําตําแหน่ง
25,000,000
เงินค่าตอบแทนเงินงบประมาณ
1,000,000
61,000,000
ค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราว
6,550,000
ค่าจ้างชั่วคราวรายวัน
13,500,000
ค่าตอบแทน พตส
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลา
75,000,000
(OT)
10
32,000,000
ค่าตอบแทนอื่นๆ ทุกหมวด
11
ค่าเช่าบ้าน
228,000
รวม
452,278,000
ที่มา : ฝ่ายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 มกราคม 2555

จ่ายจริง (บาท)

ร้อยละ

58,598,889.18
9,635,400.00
792,720.67
7,498,454.20
130,547.24
20,043,073.00
2,748,420
5,447,000
32,462,515

28.58
32.12
26.42
29.99
13.05
32.86
41.96
40.35
43.28

2,531,460.00
76,000
139,964,479

7.91
33.33
30.95

ตาราง 9 แผนรายจ่าย และรายจ่ายจริง ปี 2555 ช่วงเดือนตุลาคม 2554 – มกราคม 2555 หมวด
งบดําเนินการ
ประมาณการ
จ่ายจริง (บาท)
ลําดับที่
รายการ
(บาท)
ค่าใช้สอย (M1)
1
76,468,000
18,022,293.56
2
ค่าสาธารณูปโภค (M2)
19,950,000
6,846,655.90
3
ค่าวัสดุ (M3)
66,415,000
23,888,268
4
ค่าวัสดุยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา (M4)
225,000,000
89,563,230
5
การสนับสนุนเครือข่าย
15,500,000
8,234,728.94
6
งบกลาง
15,000,000
รวมงบดําเนินการ
421,333,000
146,555,276.26
ที่มา : ฝ่ายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 มกราคม 2555

ร้อยละ
23.57
34.32
19.20
39.81
53.12
34.78
9

ตาราง 10 แผนรายจ่าย และรายจ่ายจริง ปี 2555 ช่วงเดือนมกราคม 2554 หมวดงบลงทุน
ลําดับที่
รายการ
ปี 2554 (บาท)
จ่ายจริง (บาท)
1
2
3
4
5

ที่ดิน
สิ่งก่อสร้างใหม่
ครุภัณฑ์การแพทย์
ครุภัณฑ์ไม่ใช่การแพทย์
ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์

15,000,000
78,871,430
117,487,515
5,144,361
3,807,765

ร้อยละ

1,988,869.00
28,242,604.50
2,452,537.00
48,995.00

2.52
24.04
47.47
1.29

220,311,071
32,733,005.50
รวม
ที่มา : ฝ่ายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 มกราคม 2555

14.86

ตาราง 11 ดัชนีทางการเงิน ปี 2553 – 255
ลําดับ
ดัชนีทางการเงิน
ที่
1 อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน
(Current ratio) (ค่ามาตรฐาน = 1.50)
2 อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว
(Quick ratio) (ค่ามาตรฐาน = 1.00)
3 อัตราส่วนเงินสด(Cash ratio)
(ค่ามาตรฐาน = 0.80)
4 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บลูกหนี้ค่า
รักษาNON UC (ค่ามาตรฐาน=90 วัน)
5 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชําระหนี้การค้า
(ค่ามาตรฐาน = 90 วัน)
6 อัตรากําไรสุทธิ รวมค่าเสื่อมฯ (ร้อยละ)
7 ต้นทุนดําเนินการต่อหน่วยการรักษา
8 รายได้ตอค่าใช้จ่าย(I/E)

ปี 2552

ปี 2553

ปี 2554

2555

2.82

2.82

2.52

2.82

2.63

2.63

2.31

2.58

2.41

1.84

1.93

1.96

69 วัน

96 วัน

66 วัน

73 วัน

66 วัน

62 วัน

67 วัน

68 วัน

7.36
6,852.14
1.08

2.93
6,893.91
1.03

9.28
6,718
1.10

9.81
6,664
1.11

ทุนสํารองสุทธิ(Net Working Capital)
225.96
260.28
หน่วย : ล้านบาท
ที่มา : ฝ่ายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 มกราคม 2555

313.70

354.60

9
10

ส่วนที่ 4 สถิติและข้อมูลกิจกรรมการบริการ
ตารางที่ 1 จํานวนผู้มารับบริการผู้ป่วยนอกทั้งหมด ปีงบประมาณ 2550-2555
ปีงบประมาณ

จํานวน (คน)

จํานวน (ครั้ง)

เฉลี่ย (ครั้ง/คน)

อัตราการเพิ่มขึ้นของผู้ป่วยนอก*

2550

116,200

383,457

3.30

2.91

2551

123,379

422,446

3.42

10.17

2552

131,027

452,142

3.45

7.03

2553

133,447

467,582

3.50

3.41

2554

137,536

488,872

3.55

4.55

2555

140,041

506,608

3.62

3.63

หมายเหตุ
1. อัตราการเพิ่มขึ้นของผูปวยนอก*
้ ่
หมายถึง
11

ตารางที่ 2 จํานวนผู้มารับบริการผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลมหาสารคาม จําแนกตามแผนกปีงบประมาณ
2553-2555
ปีงบประมาณ 2553
ปีงบประมาณ 2554
ปีงบประมาณ 2555
1
แผนก
จํานวน จํานวน เฉลี่ย จํานวน จํานวน เฉลี่ย จํานวน จํานวน เฉลี่ย
(คน)
(ครั้ง)
(คน)
(ครั้ง)
(คน)
(ครั้ง)
อายุรกรรม
97,289 194,848 534 87,580 205,234 562 95,570 217,386 596
ศัลยกรรมทั่วไป

32,445

59,919

164

31,653

61,552

169

34,474

61,625

169

ศัลยกรรมกระดูก

28,349

48,936

134

26,449

51,338

141

26,557

50,610

139

กุมารเวชกรรม

20,313

34,649

95

23,571

36,711

101

22,404

31,735

87

สูต-นรีเวชกรรม
ิ

17,917

29,664

81

18,236

30,422

83

20,545

30,982

85

จักษุ

13,809

25,418

70

13,804

26,148

72

13,026

26,621

73

โสต ศอ นาสิก

7,363

11,876

33

6,847

12,284

34

7,083

12,983

36

ทันตกรรม

16,371

27,528

75

15,226

27,853

76

17,383

28,921

79

จิตเวช

1,815

5,993

16

1,582

6,086

17

2,325

9,186

25

งานบริการอืนๆ
่

14,970

28,750

79

12,879

31,244

86

16,662

36,559

100

รวมผู้ป่วยนอก
1,93
2,004
2
ทั้งหมด*
250,643 467,582
237,827 488,872
256,029 506,608
รวมผู้ป่วยนอก
1,28
1,339
1
ทั้งหมด**
หมายเหตุ
1. ที่มา: รหัสแผนกมาตรฐาน ปี 2555 ศูนย์มาตรฐานรหัสและข้อมูลสุขภาพแห่งชาติ
สํานักนโยบายและยุทธศาสตร์
2. ผู้มารับบริการเฉลี่ย หมายถึง
3. รวมผู้ป่วยนอกทั้งหมด * หมายถึง
- ปีงบประมาณ 2553 มีวันทําการ 243 วัน
- ปีงบประมาณ 2554 มีวันทําการ 244 วัน
- ปีงบประมาณ 2555 มีวันทําการ 244 วัน
4. รวมผู้ป่วยนอกทั้งหมด ** หมายถึง

2,076
1,388
12

ตารางที่ 3 จํานวนผู้มารับบริการผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลมหาสารคาม จําแนกตามสิทธิ์
ปีงบประมาณ 2553-2555
ปีงบประมาณ 2553
ปีงบประมาณ 2554
ปีงบประมาณ 2555
ประเภทสิทธิ์ จํานวน
(คน)

จํานวน
(ครั้ง)

ข้าราชการ/
25,891 127,655
รัฐวิสาหกิจ
ประกันสังคม 9,387 31,234
UC บัตรทอง
38,572 127,127
ไม่มี ท
UC บัตรทอง
37,399 125,966
มี ท
รวม UC*

75,971 253,093

แรงงานต่าง
ด้าวที่ขึ้น
33
116
ทะเบียน
อื่นๆ (ต่าง
ด้าวไม่ขึ้น
ทะเบียน,
22,165 55,484
สิทธิ์ไม่
ชัดเจน,ไม่ใช้
สิทธิ์)
รวมผู้มารับ
133,447 467,582
บริการ

เฉลี่ย
(ครั้ง/คน)**

จํานวน
(คน)

จํานวน
(ครั้ง)

4.93

25,120

3.33

เฉลี่ย

เฉลี่ย

(ครั้ง/คน)**

จํานวน
(คน)

จํานวน
(ครั้ง)

(ครั้ง/คน)**

123,311

4.91

24,738

124,432

5.03

8,922

31,538

3.53

9,313

33,185

3.56

3.30

38,990

138,425

3.55

41,360

144,252

3.49

3.37

35,543

130,106

3.66

37,475

139,978

3.74

3.33

74,533

268,531

3.60

78,835

284,230

3.61

3.52

42

149

3.55

52

175

3.37

2.50

46,218

65,343

1.41

37,527

64,586

1.72

3.50

154,835 488,872

3.16

150,465 506,608

3.37

หมายเหตุ
1. รวม UC* หมายถึง UC บัตรทองไม่มี ท + UC บัตรทองมี ท
2. เฉลี่ย (ครั้ง/คน)** หมายถึง
13

ตารางที่ 4 10 อันดับกลุ่มโรค ผู้ป่วยนอกที่พบบ่อย (ตามรายงาน 504) ปีงบประมาณ 2553-2555
สาเหตุการปวย (กลุมโรค)
1. โรคเกี่ยวกับตอมไรทอ โภชนาการ และเมตะบอลิ
ซึม
2. โรคระบบไหลเวียนเลือด
3. โรคระบบยอยอาหาร รวมโรคในชองปาก
4. โรคระบบกลามเนื้อ รวมโครงราง และเนื้อยึดเสริม
5. โรคระบบหายใจ
6. โรคระบบสืบพันธุรวมปสสาวะ
7. โรคติดเชื้อและปรสิต
8. อาการ, อาการแสดงและสิงผิดปกติที่พบไดจาก
่
การตรวจทางคลีนิก และทางหองปฏิบติการ
ั
9. โรคตารวมสวนประกอบของตา
10.โรคระบบประสาท

2553

รอยละ

ปงบประมาณ
2554 รอยละ

69,622
54,749
59,751
51,991
56,249
40,160
28,111

14.89
11.71
12.78
11.12
12.03
8.59
6.01

80,877
68,352
64,581
54,247
55,738
47,352
29,053

16.54
13.98
13.21
11.10
11.40
9.69
5.94

92,097
75,035
59,169
58,171
57,288
47,012
29,180

18.18
14.81
11.68
11.48
11.31
9.28
5.76

30,015

6.42

31,245

6.39

29,152

5.75

15,402
15,296

3.29
3.27

18,655
17,398

3.82
3.56

19,208
18,357

3.79
3.62

หมายเหตุ
1 .ร้อยละ =

จํานวนผู้ป่วยนอกที่ป่วยด้วยโรคนั้น (ครั้ง) X 100
จํานวนผู้ป่วยนอกผุ้มารับบริการทั้งหมดของปีนั้น (ครั้ง)
- ปีงบประมาณ 2553 มีจํานวนผู้ป่วยนอกที่มารับบริการทั้งหมด 467,582 ครั้ง
- ปีงบประมาณ 2554 มีจํานวนผู้ป่วยนอกที่มารับบริการทั้งหมด 488,872 ครั้ง
- ปีงบประมาณ 2555 มีจํานวนผู้ป่วยนอกที่มารับบริการทั้งหมด 506,608 ครั้ง

2555

รอยละ
14

ตารางที่ 5 10 อันดับโรคผู้ปวยนอกที่พบบ่อย (ตามรหัสโรค 3 ตําแหน่ง) ปีงบประมาณ 2553-2555
่

ลําดับ

ปีงบประมาณ

รหัส
โรค

โรค

2553

2554

2555

จํานวน

ร้อยละ*

จํานวน

ร้อยละ*

จํานวน

ร้อยละ*

1

I10

Essential (primary)
hypertension

33,320

7.13

36,144

7.39

39,630

7.82

2

E11

Non-insulin-dependent
diabetes mellitus

27,754

5.94

31,677

6.48

37,311

7.36

3

Disorders of lipoprotein
E78 metabolism and other
lipidaemias

28,250

6.04

31,453

6.43

34,765

6.86

4

N18 Chronic renal failure

13,969

2.99

16,720

3.42

18,320

3.62

5

K30 Dyspepsia

15,379

3.29

15,315

3.13

15,133

2.99

6

M62

5,922

1.27

6,797

1.39

13,819

2.73

7

U57 โรคที่เกี่ยวกับลม

-

0.00

-

0.00

11,410

2.25

8

Other soft tissue
M79 disorders, not
elsewhere classified

19,596

4.19

16,988

3.47

10,985

2.17

9

J02 Acute pharyngitis

14,511

3.10

9,715

1.99

8,846

1.75

10

K02 Dental caries

7,945

1.70

8,183

1.67

8,312

1.64

Other disorders of
muscle

หมายเหตุ
1. ร้อยละ =
- ปีงบประมาณ 2553 มีจํานวนผู้ป่วยนอกที่มารับบริการทั้งหมด 467,582 ครั้ง
- ปีงบประมาณ 2554 มีจํานวนผู้ป่วยนอกที่มารับบริการทั้งหมด 467,582 ครั้ง
- ปีงบประมาณ 2555 มีจํานวนผู้ป่วยนอกที่มารับบริการทั้งหมด 506,608 ครั้ง
15

ตาราง 6 การให้บริการผู้ป่วยนอก เครือข่ายสถานบริการสุขภาพ โรงพยาบาลมหาสารคาม
ปี 2553
รายการ

271

จํานวน
(ราย)
62,587

147,992

405

220,620

467,582
รวม
246,482
สอ.17 แห่ง
เครือข่าย
PCU ในเขตเมือง
45,775
โรงพยาบาล
(4แห่ง)
มหาสารคาม
292,257
รวม
759,839
รวม
ที่มา : ศูนย์ข้อมูล โรงพยาบาลมหาสารคาม

ในเขต
ในเขต เทศบาล
ผู้ป่วยนอก
อ. นอกเขต
โรงพยาบาล เมือง เทศบาล
มหาสารคาม
นอกเขต อ.เมือง

จํานวน
(ราย)
98,970

ปี 2554

ปี 2555

258

จํานวน
(ราย)
104,319

96,119

396

177,667

487

604

150,616

620

224,574

615

1,281
675
125

309,322
148,880
22,679

1,273
613
93

506,560
248,547
24,666

1,388
681
68

801
2,082

171,559
480,881

706
1,979

273,213
779,773

749
2,136

เฉลี่ย / วัน

เฉลี่ย / วัน

หมายเหตุ : จัดเป็นกลุ่มโรค 3 หลัก ร้อยละ เทียบกับจํานวนผู้ป่วยที่มารับบริการทั้งหมด

เฉลี่ย / วัน
286
16

ตารางที่ 7 จํานวนผู้มารับบริการผู้ป่วยในทั้งหมด ปีงบประมาณ 2550-2555

2550

จํานวน
(คน)
30,357

จํานวน
(ครั้ง)
36,548

2551

33,803

2552

1.20

อัตราเพิ่มขึ้น
ของผู้ป่วยใน*
9.52

40,470

1.20

10.73

36,381

43,228

1.19

6.81

2553

37,817

45,748

1.21

5.83

2554

37,264

45,414

1.24

-0.73

2555
หมายเหตุ

39,518

47,258

1.20

4.06

ปีงบประมาณ

เฉลี่ย (ครั้ง/คน)

1. อัตราเพิ่มขึ้นของผู้ป่วยใน หมายถึง

ตารางที่ 8 ผูมารับบริการผูป่วยใน โรงพยาบาลมหาสารคาม จําแนกตามแผนก ปีงบประมาณ 2553– 2555
้
้
ปีงบประมาณ 2553
แผนก

ปีงบประมาณ 2554

ปีงบประมาณ 2555

จํานวน
จําหน่าย

วันนอน

วันนอน
เฉลี่ย*

จํานวน
จําหน่าย

วันนอน

วันนอน
เฉลี่ย*

จํานวน
จําหน่าย

วันนอน

วันนอน
เฉลี่ย*

อายุรกรรม

13,205

53,745

4.07

13,360

55,024

4.12

13,565

54,953

4.04

ศัลยกรรมทั่วไป

11,951

49,313

4.13

11,763

51,042

4.34

12,400

54,374

4.38

ศัลยกรรมกระดูก

4,654

15,097

3.24

4,601

17,296

3.76

4,397

17,816

4.05

กุมารเวชกรรม

7,729

28,209

3.65

7,291

26,186

3.59

8,118

30,054

3.70

สูติ-นรีเวชกรรม

5,896

17,689

3.00

6,159

17,897

2.91

6,382

18,803

2.95

ทันตกรรม

129

410

3.18

3

13

4.33

31

91

3.14

จักษุ

1,897

4,925

2.60

1,927

6,332

3.29

2,055

6,042

2.95

โสต ศอ นาสิก

286

948

3.31

310

973

3.14

271

877

3.22

1

2

2.00

-

-

-

1

14

14.00

45,748

170,338

3.72

45,414

174,763

3.85

47,258

183,024

3.87

อื่น ๆ
รวมผู้ป่วยในทั้งหมด

หมายเหตุ 1. วันนอนเฉลี่ย หมายถึง จํานวนวันนอนของแผนกนั้น /จํานวนจําหน่ายของแผนกนั้น
17

ตารางที่ 9 สรุปการให้บริการผูป่วยใน โรงพยาบาลมหาสารคาม ปีงบประมาณ 2550-2555
้
ปีงบประมาณ
รายการ
2550
2551
2552
2553
2554

2555

ผู้ป่วยในทั้งหมด

ครั้ง

36,548

40,468

43,227

45,748

45,414

ผู้ป่วยในสูติ - นรีเวชกรรม

ครั้ง

7,978

8,436

6,246

5,896

6,159

47,258
6,382

ผู้ป่วยในศัลยกรรม

ครั้ง

8,986

9,149

10,703

11,951

11,763

12,400

ผู้ป่วยในศัลยกรรมกระดูก

ครั้ง

3,312

3,734

4,273

4,640

4,601

4,397

ผู้ป่วยในอายุรกรรม

ครั้ง

8,872

11,027

12,020

13,205

13,360

13,565

ผู้ป่วยในกุมารเวชกรรม

ครั้ง

5,361

5,154

7,490

7,729

7,291

8,118

ผู้ป่วยในจักษุ

ครั้ง

1,724

1,914

1,998

1,897

1,927

2,055

ผู้ป่วยใน หู คอ จมูก

ครั้ง

289

317

319

286

310

271

ผู้ป่วยในจิตเวช

ครั้ง

0

0

0

0

0

1

ผู้ป่วยในทันตกรรม

ครั้ง

26

20

176

129

3

31

ผู้ป่วยในเวชกรรมฟื้นฟู

ครั้ง

0

2

0

1

0

0
18

ตารางที่ 10 จํานวนผู้มารับบริการผู้ป่วยในโรงพยาบาลมหาสารคาม จําแนกตามสิทธิ์
ปีงบประมาณ 2553 -2555
ปงบประมาณ 2553
ประเภทสิทธิ์

จํานวน จํานวน
(คน) (ครั้ง)

เฉลี่ย
(ครั้ง/คน)

**

ปงบประมาณ 2554

รอยละ จํานวน จํานวน
***
(คน) (ครั้ง)

เฉลี่ย
(ครั้ง/คน)

**

ปงบประมาณ 2555

รอยละ จํานวน จํานวน
***
(คน) (ครั้ง)

เฉลี่ย
(ครั้ง/คน)

**

รอยละ
***

ขาราชการ/
รัฐวิสาหกิจ

4,547

5,848

1.29

12.78

4,886

6,278

1.28

13.82

4,613

5,987

0.77

12.67

ประกันสังคม

1,376

1,611

1.17

3.52

1,402

1,705

1.22

3.75

1,570

1,881

0.83

3.98

UC บัตรทองไมมี
10,591
ท

13,152

1.24

28.75

10,519

13,206

1.26

29.08

10,935

13,901

0.79

29.42

UC บัตรทองมี ท

12,865

16,497

1.28

36.06

12,315

15,876

1.29

34.96

12,689

16,500

0.77

34.91

รวม UC*

23,456

29,649

1.26

64.81

22,834

29,082

1.27

64.04

23,624

30,401

1.29

64.33

แรงงานตางดาวที่
ขึ้นทะเบียน

10

11

1.10

0.02

11

12

1.09

0.03

16

22

0.73

0.05

8,428

8,629

1.02

18.86

8,131

8,337

1.03

18.36

8,761

8,967

0.98

18.97

37,817

45,748

1.21

100.00

37,264

45,414

1.22

100.00

38,584

47,258

1.22

100.00

อื่นๆ (ตางดาวไม
ขึ้นทะเบียน,สิทธิ์
ไมชัดเจน,ไมใช
สิทธิ์)
รวมผูมารับ
บริการ

หมายเหตุ
1. รวม UC* หมายถึง UC บัตรทองไมมี ท + UC บัตรทองมี ท
2. เฉลี่ย (ครั้ง/คน)** หมายถึง
3. รอยละ*** หมายถึง
19

ตารางที่ 11 10 อันดับ สาเหตุการป่วยผูป่วยใน (รายงาน505) ปีงบประมาณ 2553-2555
้
ลําดับ

โรค

1

Other endocrine, nutrition and metabolic
diseases

2

Diseases of the blood and blood forming
organs and certain
Complication of
pregnancy,labour,delivery,puerperium and
other
Hypertensive diseases
Diabetics mellitus
Other diseases of the digestive system

3

4
5
6
7
8
9
10

ปงบประมาณ
2554 รอยละ*

2555

รอยละ*

2553

Symptom,signs and abnormal clinical and
laboratory finding,NEC
Diseases of the eye and adnexa
Other infectious diseases
Other disorder originating in the perinatal
period

รอยละ*

11,610

11.84

12,812

12.20

14,395

12.93

5,972

6.09

6,727

6.41

7,669

6.89

5,966

6.08

6,022

5.74

6,435

5.78

3,940
4,669
4,069

4.02
4.76
4.15

4,889
5,199
4,257

4.66
4.95
4.05

5,306
5,300
4,460

4.76
4.76
4.00

3,971

4.05

4,081

3.89

4,256

3.82

3,294
4,439

3.36
4.53

3,371
4,247

3.21
4.04

3,883
3,879

3.49
3.48

2,603

2.65

3,229

3.08

3,681

3.31

หมายเหตุ
1. ร้อยละ* หมายถึง

ปี 2553 มีจํานวนผู้ป่วยใน รง.505 ทั้งสิ้น 98,062 คน
ปี 2554 มีจํานวนผู้ป่วยใน รง.505 ทั้งสิ้น 105,003 คน
ปี 2555 มีจํานวนผู้ป่วยใน รง.505 ทั้งสิ้น 111,372 คน
20

ตารางที่ 12 10 อันดับโรค ผู้ป่วยในที่พบบ่อย (ตามรหัสโรคหลัก) ปีงบประมาณ 2553-2555
ลําดับ

โรค

1

K35 Acute appendicitis
Diarrhoea and
A09 gastroenteritis of presumed
infectious origin
Calculus of kidney and
N20
ureter
H25 Senile cataract
Bacterial pneumonia, not
J15
elsewhere classified
Single spontaneous
O80
delivery
N18 Chronic renal failure
S06 Intracranial injury
S52 Fracture of forearm
I63 Cerebral infarction

2
3
4
5
6
7
8
9
10

ปีงบประมาณ
ปีงบประมาณ
ปีงบประมาณ
2553
2554
2555
จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ
1,780 3.88 1,516 3.32 1,582 3.34
1,479

3.22

1,390

3.05

1,457

3.08

1,649

3.60

1,491

3.27

1,378

2.91

1,390

3.03

1,288

2.82

1,337

2.83

1,152

2.51

1,026

2.25

1,308

2.77

1,038

2.26

1,168

2.56

1,225

2.59

653
804
796
395

1.42
1.75
1.74
0.86

904
822
786
582

1.98
1.80
1.72
1.28

963
861
793
672

2.04
1.82
1.68
1.42

หมายเหตุ
1. ร้อยละ หมายถึง
- ปีงบประมาณ 2553 มีจํานวนจําหน่าย 48,748 คน
- ปีงบประมาณ 2554 มีจํานวนจําหน่าย 45,414 คน
- ปีงบประมาณ 2555 มีจํานวนจําหน่าย 47,258 คน
21

ตารางที่ 13 จํานวน ร้อยละ ผู้ป่วยในทีเสียชีวิต โรงพยาบาลมหาสารคาม จําแนกตามแผน
่
ปีงบประมาณ 2553 -2555
ปีงบประมาณ 2553
ปีงบประมาณ 2554
ปีงบประมาณ 2555
แผนก
จํานวนผู้ป่วย
จํานวนผู้ป่วย
จํานวนผู้ป่วย
ร้อยละ
ร้อยละ
ร้อยละ
เสียชีวิต(คน)
เสียชีวิต(คน)
เสียชีวิต(คน)
อายุรกรรม
496
4.13
592
4.42
623
1.32
ศัลยกรรมทั่วไป
144
1.33
160
1.35
224
0.47
ศัลยกรรมกระดูก
2
0.05
5
0.11
1
0
กุมารเวชกรรม
36
0.51
34
0.47
64
0.13
สูต-นรีเวชกรรม
ิ
1
0.02
1
0.02
3
0
ทันตกรรม
1
0.85
0
0
0
0
โสต ศอ นาสิก
0
0
0
0
1
0
รวมผู้ป่วยในทั้งหมด
680
1.64
792
1.74
916
1.94
หมายเหตุ
1. ร้อยละ หมายถึง
- ปีงบประมาณ 2553 มีจํานวนจําหน่าย 48,748 คน
- ปีงบประมาณ 2554 มีจํานวนจําหน่าย 45,414 คน
- ปีงบประมาณ 2555 มีจํานวนจําหน่าย 47,258 คน
ตาราง 14 ผู้ปวยในจําหน่ายต่อวัน โรงพยาบาลมหาสารคาม
่
รายการ
ผู้ป่วยใน
ในเขต อ.เมือง
โรงพยาบาล
นอกเขต อ. เมือง
มหาสารคาม
รวม

ปี 2553
จํานวนราย
เฉลี่ย / วัน
(ราย)
14,688
40

ปี 2554
จํานวนราย
เฉลี่ย / วัน
(ราย)
14,420
40

ปี 2555
จํานวนราย
เฉลี่ย / วัน
(ราย)
15,276
42

31,060

85

30,994

85

31,982

88

45,748

125

45,414

124

47,258

129

ที่มา : ศูนย์ข้อมูล โรงพยาบาลมหาสารคาม
22

ตารางที่ 15 สถิติการผ่าตัดของโรงพยาบาลมหาสารคาม จําแนกตามแผนก ปีงบประมาณ 2553-2555
แผนก

ปีงบประมาณ 2553

ปีงบประมาณ 2554

ปีงบประมาณ 2555

Elective Emergency Elective Emergency Elective Emergency

อายุรกรรม

30

36

141

218

139

323

ศัลยกรรม

1,279

629

4,894

4,661

4,747

4,995

สูติกรรม

95

77

984

852

1,033

1,101

นรีเวชกรรม

3,648

3,704

655

119

623

113

กุมารเวชกรรม

730

2,698

13

30

43

116

โสต ศอ นาสิก

52

2

125

38

149

47

จักษุ

220

3

1,661

117

1,667

174

ศัลยกรรมกระดูก

117

439

1,000

3,365

970

3,289

ทันตกรรม

72

377

2

-

8

4

ฉุกเฉิน

243

166

364

16

96

7

อื่น ๆ

3,070

1,021

156

2

394

7

9,556

9,152

9,995

9,418

9,869

10,176

รวม
23

ตารางที่ 16 อัตราการครองเตียงผู้ป่วยใน จําแนกตามสาขา ปีงบประมาณ 2555
ปงบประมาณ 2555

ลําดับ

สาขา

1

ศัลยกรรม

152

11,247

49,782

89.73

2

ศัลยกรรมกระดูก

55

4,068

15,552

77.47

3

อายุรกรรม

153

15,634

64,872

116.16

4

สูติ-นรีเวชกรรม

59

7,681

21,340

99.09

5

กุมารเวชกรรม

89

5,948

25,293

77.86

6

จักษุ

19

2,314

5,231

75.43

7

หู คอ จมูก

15

366

954

17.42

542

47,258

183,024

92.52

รวม

จํานวนเตียง

จําหนาย วันนอน

อัตราการครองเตียง

หมายเหตุ
1. สาขาศัลยกรรม ประกอบด้วย ตึกศัลยกรรมชาย,ศัลยกรรมยูโรพิเศษ, ศัลยกรรมหญิง, ศัลยกรรม
ทั่วไปพิเศษ, ศัลยกรรมยูโร, ศัลยกรรมทั่วไป
2. ศัลยกรรมกระดูก ประกอบด้วย ตึกศัลยกรรมกระดูกชาย,ศัลยกรรมกระดูกหญิง
3. อายุรกรรม ประกอบด้วย ตึกอายุกรรมชาย, อายุกรรมหญิง, ทองดีแก้วชั้น 4 ,พิเศษเดี่ยวชั้น 3 สงฆ์,
สงฆ์อาพาธ ชั้น 4, ทองดีแก้ว ชั้น 5,อายุกรรม 1, อายุกรรม 2, อายุกรรม 3
4. สูติ-นรีเวชกรรมประกอบด้วย ตึกสูติกรรม-ล่าง, นรีเวช-พิเศษสูติกรรม,ห้องคลอด (LR),ตึก 114 เตียง
ชั้น 5
5. กุมารเวชกรรมประกอบด้วย ตึกเด็กล่าง,พิเศษเด็ก (เดี่ยว),เด็กโต,ทารกป่วย (NS),พิเศษเด็ก (รวม),ตึก
114 เตียงชั้น 4
6. เฉลี่ยจํานวนอัตราการครองเตียงผู้ป่วยใน หมายถึง
24

ตารางที่ 17 อัตราตรองเตียงจําแนกตาม ประเภทหอผู้ป่วย (พิเศษ สามัญ) รายแผนก ปีงบประมาณ 2555
พิเศษ
ลําดับ

แผนก

สามัญ

จํานวน
จําหน่าย

วันนอน

723

4,520

16

-

-

จํานวน อัตราครอง
เตียง
เตียง

จํานวน
จําหน่าย

วันนอน

จํานวน
เตียง

อัตราครอง
เตียง

77.40

10,524

45,262

136

91.18

-

-

4,068

15,552

55

77.47

1

ศัลยกรรม

2

ศัลยกรรมกระดูก

3

อายุรกรรม

7,491

32,497

71

125.40

8,143

32,375

82

108.17

4

สูติ-นรีเวชกรรม

1,892

4,993

29

47.17

5,789

16,347

30

149.29

5

กุมารเวชกรรม

891

3,300

14

64.58

5,057

21,993

75

80.34

6

จักษู

142

525

4

35.96

2,172

4,706

15

85.95

7

โสต ศอ นาสิก

-

-

-

366

954

15

17.42

รวมทั้งสิ้น
11,139 45,835 134
93.71
36,119 137,189 408
หมายเหตุ
ศัลยกรรม
พิเศษ ประกอบด้วย ศัลยกรรมทั่วไปพิเศษ ศัลยกรรมยูโรพิเศษ ตึก114เตียงชั้น3
สามัญ ประกอบด้วย ศัลยกรรมชาย ศัลยกรรมหญิง ศัลยกรรมทั่วไป ศัลยกรรมยูโร
ศัลยกรรมกระดูก
พิเศษ ประกอบด้วย สามัญ ประกอบด้วย ตึกศัลยกรรมกระดูกชาย ตึกศัลยกรรมกระดูกหญิง
อายุรกรรม
พิเศษ ประกอบด้วย ทองดีแก้วชั้น4 พิเศษเดี่ยวชั้น3สงฆ์ ทองดีแก้วชั้น5 ตึกพิเศษรวม
สามัญ ประกอบด้วย อายุกรรมชาย อายุกรรมหญิง สงฆ์อาพาธชั้น 4 อายุกรรม1, อายุกรรม 2,
อายุกรรม 3
สูติ-นรีเวชกรรม
พิเศษ ประกอบด้วย นรีเวช-พิเศษสูติกรรม
สามัญ ประกอบด้วย สูติกรรม-ล่าง ห้องคลอด (LR), ตึก114เตียงชั้น 5
กุมารเวชกรรม
พิเศษ ประกอบด้วย พิเศษเด็ก(เดี่ยว) ตึก 114 เตียงชั้น 4 พิเศษเด็ก (รวม),
สามัญ ประกอบด้วย เด็กล่าง เด็กโต ทารกป่วย (NS)

92.12
25

ตารางที่ 18 ค่า RW จําแนกตามแผนก ปีงบประมาณ 2553-2555
แผนก
อายุรกรรม
ศัลยกรรมทั่วไป
สูติ-นรีเวชกรรม
กุมารเวชกรรม
โสต ศอ นาสิก
จักษุ
ศัลยกรรมกระดูก
ทันตกรรม
เวชกรรมฟื้นฟู
โรงพยาบาล

ปีงบประมาณ 2554
ปีงบประมาณ 2553
RW รวม RW เฉลี่ย** RW รวม RW เฉลี่ย**
20,452.43
1.55
22,068.75
1.65
25,546.38
2.14
25,794.80
2.19
5,416.89
0.92
5,538.92
0.89
4,644.16
0.60
4,388.59
0.61
268.11
0.94
326.67
0.93
2,506.38
1.32
2,528.82
1.31
4,769.52
1.02
7,129.17
1.55
151.03
1.17
4.43
1.32
0.83
0.83
63,861.67
1.40
67,780.15
1.49

หมายเหตุ
1. RW เฉลี่ย** หมายถึง

ปีงบประมาณ 2555
RW รวม
RW เฉลี่ย**
22,289.13
1.64
25,883.47
2.09
5,712.86
0.89
5,318.59
0.66
277.93
1.02
2,768.87
1.35
6,402.15
1.45
30.12
1.04
1.45
68,683.12
26

ตารางที่ 19 ค่า Adj. RW จําแนกตามแผนก ปีงบประมาณ 2553-2555
แผนก
อายุรกรรม
ศัลยกรรมทั่วไป
สูต-นรีเวชกรรม
ิ
กุมารเวชกรรม
โสต ศอ นาสิก
จักษุ
ศัลยกรรมกระดูก
ทันตกรรม
เวชกรรมฟื้นฟู
อื่นๆ
โรงพยาบาล

ปีงบประมาณ 2553
Adj.RW
Adj.RWรวม
เฉลี่ย**
18,573.54
1.41
22,186.18
2.01
5,391.52
0.91
4,559.80
0.59
247.40
0.87
2,481.58
1.31
6,231.93
0.94
135.76
1.05
0.83
0.83
59,928.53
1.31

ปีงบประมาณ 2554
Adj.RW
Adj.RWรวม
เฉลี่ย**
20,009.08
1.50
24,174.93
2.05
5,458.60
0.89
4,318.94
0.59
198.82
0.87
2,517.39
1.30
6,645.81
1.44
91.40
1.21
63,414.97
1.40

หมายเหตุ
1. Adj.RW เฉลี่ย** หมายถึง

- ปีงบประมาณ 2553 มีจํานวนจําหน่าย 48,748 คน
- ปีงบประมาณ 2554 มีจํานวนจําหน่าย 45,414 คน
- ปีงบประมาณ 2555 มีจํานวนจําหน่าย 47,258 คน

ปีงบประมาณ 2555
Adj.RW
Adj.RWรวม
เฉลี่ย**
20,924.51
1.54
24,740.40
1.99
5,689.77
0.89
5,281.56
0.65
269.07
0.99
2,742.89
1.34
6,158.49
1.40
29.24
1.01
65,835.94
1.39
27

ตารางที่ 20 ค่า RW จําแนกตามสิทธิ์ โรงพยาบาลมหาสารคาม ปีงบประมาณ 2553- 2555

UC

ปีงบประมาณ 2553
จํานวน
RW
RW รวม
(ครั้ง)
เฉลี่ย**
29,649 45,285.39 1.53

ปีงบประมาณ 2554
จํานวน
RW
RW รวม
(ครั้ง)
เฉลี่ย**
29,081 47,458.32 1.63

ปีงบประมาณ 2555
จํานวน
RW
RW รวม
(ครั้ง)
เฉลี่ย**
30,401 47,169.86 1.55

ข้าราชการ

5,848

1,986.92

0.34

6,264

9,729.33

1.55

5,987

9,173.36

1.53

ประกันสังคม

1,611

8,605.63

5.34

1,705

2,188.51

1.28

1,881

2,450.56

1.30

พรบ.

2,661

3,500.52

1.32

2,292

3,802.42

1.66

0

0.00

0.00

อื่นๆ

5,979

4,483.21

0.75

6,072

4,601.57

0.76

8,989

9,897.28

1.10

รวม

45,748

63,861.67

1.4

45,414

67,780.15

1.49

47,258

68,691.06

1.45

สิทธิ์

หมายเหตุ
1. RW เฉลี่ย** หมายถึง
28

ตารางที่ 21 ร้อยละ ค่า RW การให้บริการผูป่วยใน โรงพยาบาลมหาสารคาม ปีงบประมาณ 2552 – 2555
้
ปีงบประมาณ
RW
2552
2553
2554
2555
34.20
32.96
33.38
34.88
RW < 0.5
(15,078) (15,646) (14,968)
(15,777)
60.07
60.00
60.26
59.98
0.5<=RW<4.0
(25,929) (27,480) (27,248)
(28,479)
5.73
7.04
6.35
5.12
RW>=4.0
(2,215)
(2,622)
(3,198)
(3,002)
RW รวม
58,468.51 63,861.67 67,780.15 68,683.12
RW เฉลี่ย

1.35

1.40

1.49

1.45

ตารางที่ 22 ร้อยละการกระจายผูป่วยตามระดับค่า RW โรงพยาบาลมหาสารคาม ปีงบประมาณ 2552–2555
้
ปีงบประมาณ 2552
ปีงบประมาณ 2553
ปีงบประมาณ 2554
ปีงบประมาณ 2555
RW
จํานวน (ราย) ร้อยละ จํานวน (ราย) ร้อยละ จํานวน (ราย) ร้อยละ จํานวน (ราย) ร้อยละ
RW1

23,583

54.56

24,056

52.58

23,025

50.70

22,336

50.00

1<=RW=<2

11,465

26.52

12,065

26.42

12,047

26.53

12,683

28.39

2<RW=<3

4,438

10.27

5,165

11.29

5,318

11.71

4,756

10.65

RW>3

3,742

8.66

4,442

9.71

5,024

11.06

4,897

10.96

รวม

43,227

100

45,748

100

45,414

100

44,672

100

RW รวม

58,468.51

63,861.67

67,780.15

68,683.12

RW เฉลี่ย

1.35

1.4

1.49

1.45

หมายเหตุ
1. ร้อยละ* หมายถึง
29

ตารางที่ 23 ร้อยละของการเพิ่มขึนหรือลดลงของค่า RW จําแนกตามแผนก ปีงบประมาณ
้
2553 - 2555
แผนก
อายุรกรรม
ศัลยกรรมทั่วไป
สูต-นรีเวชกรรม
ิ
กุมารเวชกรรม
โสต ศอ นาสิก
จักษุ
ศัลยกรรมกระดูก
ทันตกรรม
โรงพยาบาล

ปีงบประมาณ
2552 (ร้อยละ)*

ปีงบประมาณ
2553 (ร้อยละ)*

ปีงบประมาณ
2554 (ร้อยละ)*

ปีงบประมาณ 2555
(ร้อยละ)*

1.53
5.24
2.15
1.87
4.68
3.92
6.08
1,467.28
6.36

12.09
27.25
2.9
11.79
-6.97
-2.04
-23.78
-36.56
9.3

7.9
0.97
2.25
-5.5
21.84
0.9
49.47
-97.07
6.14

1.00
0.34
3.14
21.19
-14.92
8.67
-91.04
579.91
1.34

หมายเหตุ
1. ร้อยละของการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของค่า RW หมายถึง
30

ตารางที่ 24 ค่าดัชนี CMI ของโรงพยาบาลมหาสารคาม จําแนกตามกลุ่มวินิจฉัยโรคหลัก (MDC)
ปีงบประมาณ 2555

กลุ่มวินิจโรคหลัก
(Major Diagnostic Category - MDC)
Nervous System
Eye
ENT
Respiratory
Circulation
Digestive System
Hepatobiliary
Musculoskeleton
Skin, Subcutaneous and Breast
Endocrine, Metabolism
KUB
Disorder of male
Disorder of female
Pregnancy, Childbirth
Newborn , perinatal
Blood , Immuno
Myeloproliferative
Infectious
Alcohol, druguse
Injuries, poison
Burns
Factor influence health status
Multiple significant trauma
HIV

CMI
โรงพยาบาลมหาสารคามปี 2555
RW (เฉลี่ย)
1.97
1.28
0.61
3.21
0.92
1.23
3.86
1.02
1.29
0.90
1.62
1.39
1.53
0.74
0.32
0.54
3.47
0.80
0.54
0.66
0.78
0.29
3.03
1.68

Adj. RW (เฉลี่ย)
1.95
1.27
0.61
3.21
0.92
1.23
3.85
1.02
1.30
0.90
1.61
1.39
1.53
0.74
0.32
0.54
3.45
0.79
0.54
0.66
0.78
0.29
3.02
1.68
31

กลุ่มวินิจโรคหลัก
(Major Diagnostic Category - MDC)
Unacceptable, Ungroupable
รวม

CMI
โรงพยาบาลมหาสารคามปี 2555
RW (เฉลี่ย)
0.01
1.13

Adj. RW (เฉลี่ย)
0.01
1.12
32

ตารางที่ 25 จํานวนผู้ป่วยที่โรงพยาบาลส่งต่อไปรักษาต่อ จําแนกตามแผนก ปีงบประมาณ 2553-2555
ปีงบประมาณ
2553*
จํานวน ร้อยละ

ปีงบประมาณ
2554*
จํานวน ร้อยละ

ปีงบประมาณ
2555*
จํานวน ร้อยละ

อายุรกรรม

1,958

29.51

2,709

41.52

2,811

44.43

ศัลยกรรม

1,925

29.02

1,263

19.36

1,352

21.37

ศัลยกรรมกระดูก

171

2.58

208

3.19

203

3.21

กุมารเวชกรรม

270

4.07

271

4.15

269

4.25

สูติ - นรีเวชกรรม

821

12.38

646

9.90

643

10.16

จักษุ

201

3.03

228

3.49

190

3.00

โสต ศอ นาสิก

153

2.31

218

3.34

246

3.89

ทันตกรรม

129

1.94

62

0.95

67

1.06

จิตเวช

49

0.74

117

1.79

121

1.91

เวชปฎิบัติทั่วไป

107

1.61

11

0.17

12

0.19

เวชปฎิบัติครอบครัว

84

1.27

-

-

-

ฉุกเฉิน

600

9.04

783

385

6.09

อาชีวคลินิก

52

0.78

-

-

-

อื่นๆ

114

1.72

9

0.14

28

0.44

6,634

100

6,525

100.00

6,327

100

แผนก

รวม

12.00

หมายเหตุ
1. ร้อยละ หมายถึง

ปีงบประมาณ 2553 มีจํานวนผู้ป่
ปีงบประมาณ 2554 มีจํานวนผู้ป่
ปีงบประมาณ 2555 มีจํานวนผู้ป่

6,634 ครั้ง
6,525 ครั้ง
6,327 ครั้ง
33

ตารางที่ 26 จํานวนผู้ป่วยที่โรงพยาบาลรับไว้รักษาต่อ จําแนกตามแผนก ปีงบประมาณ 2553-2555
แผนก
อายุรกรรม
ศัลยกรรม
สูติกรรม
นรีเวชกรรม
กุมารเวชกรรม
โสต ศอ นาสิก
จักษุ
ศัลยกรรมกระดูก
จิตเวช
ทันตกรรม
ฉุกเฉิน
เวชปฎิบัติทั่วไป
อาชีวคลินิก
ศัลยกรรมประสาท
รวม
หมายเหตุ
1. ร้อยละ หมายถึง

ปีงบประมาณ 2553
จํานวน ร้อยละ
10,804
15.48
17,089
24.48
4,405
6.31
6,117
8.76
3,152
4.51
1,836
2.63
5,719
8.19
3,981
5.70
267
0.38
378
0.54
3,498
5.01
12,033
17.24
533
0.76
0.00
69,812
100

ปีงบประมาณ 2554
จํานวน ร้อยละ
12,896
17.67
19,332
26.49
5,374
7.36
4,555
6.24
2,294
3.14
2,190
3.00
8,362
11.46
5,569
7.63
380
0.52
24
0.03
3,610
4.95
8,384
11.49
2
0.00
0.00
72,972
100

ปีงบประมาณ 2555
จํานวน ร้อยละ
13,069
18.00
17,770
24.47
5,298
7.30
4,363
6.01
2,358
3.25
2,036
2.80
7,926
10.92
5,756
7.93
552
0.76
39
0.05
3,387
4.66
9,760
13.44
1
0.00
295
0.41
72,610
100
34

ตารางที่ 27 10 อันดับโรคที่ส่งต่อไปรักษาต่อ ปีงบประมาณ 2553-2555
ลําดับ

โรค

1

E11 Non-insulin-dependent
diabetes mellitus
I21 Acute myocardial infarction
C22 Malignant neoplasm of liver
and intrahepatic bile ducts
E05 Thyrotoxicosis
[hyperthyroidism]
I10 Essential (primary)
hypertension
I05 Rheumatic mitral valve
diseases
C53 Malignant neoplasm of
cervix uteri
C50 Malignant neoplasm of
breast
I25 Chronic ischaemic heart
disease
C34 Malignant neoplasm of
bronchus and lung
หมายเหตุ
1. ร้อยละ หมายถึง

2
3
4
5
6
7
8
9
10

ปีงบประมาณ
2553
จํานวน ร้อยละ

ปีงบประมาณ
2554
จํานวน ร้อยละ

ปีงบประมาณ
2555
จํานวน ร้อยละ

135

2.03

146

2.24

179

2.83

103

1.55

122

1.87

135

2.13

142

2.14

158

2.42

132

2.09

60

0.90

87

1.33

118

1.87

60

0.90

67

1.03

114

1.80

112

1.69

126

1.93

112

1.77

109

1.64

94

1.44

99

1.56

82

1.24

98

1.50

99

1.56

78

1.18

90

1.38

97

1.53

64

0.96

78

1.20

88

1.39

- ปีงบประมาณ 2553 มีการส่งต่อ 6,634 ครั้ง
- ปีงบประมาณ 2554 มีการส่งต่อ 6,525 ครั้ง
- ปีงบประมาณ 2555 มีการส่งต่อ 6,327 ครั้ง
35

ตารางที่ 28 จํานวนผู้ป่วยรับไว้รักษาต่อ จําแนกตามโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2553-2555
ปงบประมาณ
ลําดับ

โรค

1

N20 Calculus of kidney and ureter
Non-insulin-dependent
E11 diabetes mellitus
N40 Hyperplasia of prostate
H25 Senile cataract
C50 Malignant neoplasm of breast
Essential (primary)
I10 hypertension
N18 Chronic renal failure
H40 Glaucoma
K30 Dyspepsia
K80 Cholelithiasis

2
3
4
5
6
7
8
9
10

2553
จํานวน รอยละ
2,269
3.40

ปงบประมาณ
2554
จํานวน รอยละ
2,343
3.21

ปงบประมาณ
2555
จํานวน รอยละ
2,088
2.84

706
1,633
812
747

1.06
2.45
1.22
1.12

1,033
1,631
891
706

1.42
2.24
1.22
0.97

1,043
1,035
919
779

1.42
1.41
1.25
1.06

592
1,425
1,039
562
398

0.89
2.13
1.56
0.84
0.60

807
888
822
611
550

1.11
1.22
1.13
0.84
0.75

758
739
698
666
505

1.03
1.01
0.95
0.91
0.69

หมายเหตุ
1. ร้อยละ หมายถึง

- ปีงบประมาณ 2553 มีการส่งต่อ 69,812 ครั้ง
- ปีงบประมาณ 2554 มีการส่งต่อ 72,972 ครั้ง
- ปีงบประมาณ 2555 มีการส่งต่อ 73,431 ครั้ง
36

ตารางที่ 29 ภาพรวมการให้บริการ โรงพยาบาลมหาสารคาม ปีงบประมาณ 2553-2555
รายการ
- จํานวนผู้ป่วยนอกที่มารับบริการ(จํานวนครั้ง)
- เฉลี่ยจํานวนผู้ป่วยนอกที่มารับบริการต่อวัน*
- เฉลี่ยจํานวนผู้ป่วยในที่ให้บริการต่อวัน**
- ร้อยละของผูป่วยในต่อผู้ป่วยนอก
้
- จํานวนผู้ป่วยที่รับไว้รักษาต่อ
- จํานวนผู้ป่วยที่ส่งไปรักษาต่อ
- สัดส่วนการรับไว้รักษาต่อ ต่อการส่งไปรักษาต่อ
- สัดส่วนการรับไว้รักษาต่อ ต่อผู้ป่วยนอก
- สัดส่วนการส่งไปรักษาต่อ ต่อผู้ป่วยนอก
- จํานวนการผ่าตัดใหญ่ทั้งหมด
- ร้อยละการผ่าตัดใหญ่ต่อผู้ป่วยใน
- จํานวนผู้ป่วยในที่เสียชีวิต
- ร้อยละการตายของผู้ป่วยใน ในโรงพยาบาล
- จํานวนวันนอนทั้งหมดของผู้ป่วยใน
- จํานวนเตียงผู้ป่วยที่ขออนุมัติตามกรอบ
- จํานวนเตียงผู้ป่วยที่บริการจริง
- อัตราการครองเตียงตามกรอบ
- อัตราการครองเตียงตามที่บริการจริง
- จํานวนวันนอนของผู้ป่วยในเฉลี่ย (คนต่อวัน)
- จํานวนผู้ป่วยนอกที่เสียชีวิต(ห้องอุบัติเหตุฉุกเฉิน)
หมายเหตุ
1. เฉลี่ยจํานวนผู้ป่วยนอกที่มารับบริการต่อวัน** =
2. เฉลี่ยจํานวนผู้ป่วยในที่มารับบริการต่อวัน** =

2553
467,582
1,281
467
9.78
66,784
6,587
10.14
0.14
0.01
13,981
30.56
680
1.49
170,357
472
542
98.88
86.11
3.72
62

ปีงบประมาณ
2554
488,872
1,339
479
9.29
72,905
6,525
11.17
0.15
0.01
14,235
31.34
792
1.74
174,763
472
542
101.44
88.34
3.85
68

2555
506,608
1,388
501
9.32
73,431
6,327
11.49
0.14
0.01
15,161
32.11
917
1.94
183,024
472
542
106.24
92.52
3.87
80
37

ตารางที่ 30 ผลผลิตงานรักษา โรงพยาบาลมหาสารคาม ปีงบประมาณ 2546-2555
ปี

OP Visit

IP Case LOS

RW

ผลผลิตผู้ป่วยนอก

ผลผลิตผู้ป่วยใน

ผลผลิตรวม

2546
2547
2548
2549
2550
2551
2552
2553
2554
2555

335,988
364,164
338,047
372,621
383,457
422,446
452,142
467,582
488,872
506,608

34,405
29,212
35,088
33,365
36,548
40,468
43,227
45,748
45,414
47,258

0.87
0.93
1.04
1.07
1.16
1.36
1.35
1.40
1.49
1.45

16,463,412
17,844,036
16,564,303
18,258,429
18,789,393
20,699,854
22,154,958
22,911,518
23,954,728
24,823,792

704,152.55
663,894.76
834,404.15
752,967.44
892,026.31
1,068,703.87
1,124,295.37
1,207,955.81
1,320,823.27
1344504.51

17,167,564.55
18,507,930.76
17,398,707.15
19,011,396.44
19,681,419.31
21,768,557.87
23,279,253.37
24,119,473.81
25,275,551.27
26,168,296.51

4.64
4.82
4.51
4.16
4.15
3.83
3.80
3.72
3.85
3.87

หมายเหตุ
1. ผลผลิตผู้ป่วยนอก (Weighted OP Visit ) = OP Visit * (1 + X% )
OP Visit หมายถึงจํานวนครั้งของผู้ป่วยนอกที่มารับบริการ
X% หมายถึง เปอร์เซ็นต์ความต้องการแพทย์เฉพาะทาง
2. ผลผลิตงานรักษาผู้ป่วยใน ( Weighted IP Case )
= IP Case * RW * los * Unit Cost Ratio
Unit Cost Ratio โรงพยาบาลทั่วไป = 5.07
ผลผลิตรวม = ผลผลิตผู้ป่วยนอก + ผลผลิตผู้ป่วยใน
38

ตารางที่ 31 ผลผลิตงานรักษา ของโรงพยาบาลมหาสารคาม จําแนกตามแผนก ปีงบประมาณ 2555
แผนก
อายุรกรรม
ศัลยกรรม
ศัลยกรรมกระดูก
กุมารเวชกรรม
สูต-นรีเวชกรรม
ิ
จักษุวิทยา
หู คอ จมูก
อื่นๆ (ทันตกรรม,
จิตเวช,อื่นๆ)
รวม

X%
28.6
16.1
46.1
4
29.1
74.2
94.5

OP Visit IP CASE
137,386 13,599
47,625 12,408
21,610 4,402
21,735 8,112
30,982 6,384
18,621 2,051
8,983
272

59

219,666

30

48 506,608 47,258

LOS
4.04
4.38
4.05
3.7
2.95
2.95
3.22

RW ผลผลิตผู้ป่วยนอก ผลผลิตผู้ป่วยใน
1.64 4,066,625.60
456,814.78
2.09
814,387.50
575,877.54
1.45 1,017,831.00
131,063.28
0.66
108,675.00
100,434.19
0.89
932,558.20
84,979.24
1.35 1,400,299.20
41,412.31
1.02
857,876.50
4,529.32

ผลผลิตรวม
4,523,440.38
1,390,265.04
1,148,894.28
209,109.19
1,017,537.44
1,441,711.51
862,405.82

3.5

1.04

13,179,960.00

553.64

13,180,513.64

3.87 1.45

22,378,213.00

1,395,664.29

23,773,877.29

หมายเหตุ
1. ผลผลิตผู้ป่วยนอก (Weighted OP Visit ) = OP Visit * (1 + X% )
OP Visit หมายถึงจํานวนครั้งของผู้ป่วยนอกที่มารับบริการ
X% หมายถึง เปอร์เซ็นต์ความต้องการแพทย์เฉพาะทาง
2. ผลผลิตงานรักษาผู้ป่วยใน ( Weighted IP Case )
= IP Case * RW * los * Unit Cost Ratio
Unit Cost Ratio โรงพยาบาลทั่วไป = 5.07
ผลผลิตรวม = ผลผลิตผู้ป่วยนอก + ผลผลิตผู้ป่วยใน
39

ส่วนที่ 5 เปรียบเทียบข้อมูลบริการสุขภาพ (ระบบรายงาน 0110 รง.5)
5.1 มิติด้านประสิทธิผล
ตารางที่ 1 ประมาณการอัตราการใช้บริการผูป่วยนอก 1 ปี (อัตราการเข้าถึงผู้ป่วยนอก)
้
ทั้งประเทศ
โรงพยาบาลศูนย์ รพท. >300 เตียง
ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม
2552
2.24
1.72
2.05
1.97
2553
2.47
1.79
2.16
2.08
2554
2.81
1.79
2.11
2.12
2555
2.62
1.84
2.18
2.17
ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
จากตารางที่ 1 แสดงให้เห็นว่าประชาชนมีความสะดวกสามารถเข้าการบริการผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาล
มหาสารคามได้ดีกว่าโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง
ตารางที่ 2 ประมาณการอัตราการใช้บริการผูป่วยนอก สิทธิ UC 1 ปี (อัตราการเข้าถึงผู้ป่วยนอก)
้
ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม
ทั้งประเทศ
โรงพยาบาลศูนย์ รพท. >300 เตียง
2552
1.18
1.45
1.26
1.25
2553
1.13
1.52
1.38
1.34
2554
1.16
1.52
1.36
1.39
2555
1.26
1.58
1.42
1.43
ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
จากตารางที่ 2 แสดงให้เห็นว่าประชาชนมีความสะดวกสามารถเข้าการบริการผู้ป่วยนอก (สิทธิ์ UC) ของ
โรงพยาบาลมหาสารคามได้น้อยกว่าโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง
40

ตารางที่ 3 ประมาณการอัตราการใช้บริการผูป่วยใน 1 ปี (อัตราการเข้าถึงผูป่วยใน)
้
้
ทั้งประเทศ
โรงพยาบาลศูนย์ รพท. >300 เตียง
ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม
2552
0.18
0.09
0.12
0.13
2553
0.17
0.09
0.12
0.14
2554
0.17
0.09
0.12
0.14
2555
0.18
0.09
0.12
0.15
ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
จากตารางที่ 3 แสดงให้เห็นว่าประชาชนมีความสะดวกสามารถเข้าการบริการผู้ป่วยในของโรงพยาบาล
มหาสารคามได้ดีกว่าโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง
ตารางที่ 4 ประมาณการอัตราการใช้บริการผูป่วยใน สิทธิ UC 1 ปี (อัตราการเข้าถึงผู้ป่วยใน)
้
ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม
ทั้งประเทศ
โรงพยาบาลศูนย์ รพท. >300 เตียง
2552
0.07
0.08
0.08
0.10
2553
0.07
0.08
0.09
0.10
2554
0.07
0.08
0.09
0.11
2555
0.08
0.08
0.08
0.12
ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
จากตารางที่ 4 แสดงให้เห็นว่าประชาชนมีความสะดวกสามารถเข้าการบริการผู้ป่วยใน (สิทธิ์ UC) ของ
โรงพยาบาลมหาสารคามได้เทียบเท่ากับโรงพยาบาลศูนย์แต่น้อยกว่าโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง
41

5.2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
5.2.1 ด้านผูป่วยและลูกค้า
้
ตารางที่ 5 อัตราตายผู้ป่วยในอย่างหยาบ (:1,000) (Crude Death Rate)
ปีงบประมาณ

รพ.มหาสารคาม

ทั้งประเทศ

โรงพยาบาลศูนย์

รพท.>300 เตียง

2552
2553
2554
2555

16.74
13.36
17.59
19.14

21.38
18.10
24.54
18.14

36.51
37.48
37.99
38.39

29.25
30.17
30.26
30.85

ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
จากตารางที่ 5 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีศักยภาพในการรักษาพยาบาล ส่งผลให้อัตราการตายอย่าง
หยาบของผู้ป่วยในโรงพยาบาลมหาสารคามต่ํากว่าโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง
ตารางที่ 6 อัตราตายของมารดา (:100,000) (Maternal Mortality Rate)
ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม
ทั้งประเทศ
โรงพยาบาลศูนย์
2552
0.00
16.27
32.49
2553
0.00
13.98
30.85
2554
58.39
14.41
27.87
2555
47.78
17.79
37.10

รพท. >300 เตียง
17.32
16.14
20.58
22.86

ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
จากตารางที่ 6 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีอัตราการตายของมารดาสูงกว่าของโรงพยาบาลศูนย์และ
โรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง ซึ่งอาจเป็นผลมาจากคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภฺ และการให้บริการในระยะก่อน
คลอด ขณะคลอด และหลังคลอด
42

ตารางที่ 7 อัตราตายทารกต่ํากว่า 7 วัน (:1,000) หรืออัตราตายทารกแรกเกิดระยะต้น
(Early Neonatal Mortality Rate)
ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม
ทั้งประเทศ
โรงพยาบาลศูนย์ รพท. >300 เตียง
2552
1.09
3.00
5.88
4.61
2553
8.41
2.96
6.16
4.56
2554
2.34
3.00
6.37
4.21
2555
11.47
2.93
6.21
4.51
ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
จากตารางที่ 7 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีอัตราการตายของทารกต่ํากว่า 7 วันของโรงพยาบาล
มหาสารคามสูงกว่าของโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง
ตารางที่ 8 อัตราตายคลอด (:1,000) (Stillbirth Rate)
ทั้งประเทศ
โรงพยาบาลศูนย์
ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม
2552
4.08
4.78
6.6
2553
6.27
4.63
5.73
2554
5.81
5.22
6.17
2555
0.00
4.3
6.55

รพท. >300 เตียง
6.44
5.63
6.50
6.31

ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
จากตารางที่ 8 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีศักยภาพสูงในการรักษาพยาบาล ส่งผลให้อัตราการ
คลอดตายของผู้ป่วยในของโรงพยาบาลมหาสารคามต่ํากว่าของโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง
43

ตารางที่ 9 อัตราการแท้ง (:1,000)
ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม
2552
2.22
2553
0.64
2554
1.00
2555
87.5

ทั้งประเทศ
44.33
42.45
53.71
47.38

โรงพยาบาลศูนย์
116.72
116.3
115.47
98.6

รพท. >300 เตียง
77.11
79.21
68.48
52.18

ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
จากตารางที่ 9 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีอัตราการแท้งต่ํากว่าของโรงพยาบาลศูนย์ แต่สูงกว่า
โรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง
ตารางที่ 10 ร้อยละของทารกคลอดผิดปกติ
ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม
ทั้งประเทศ
2552
54.53
29.74
2553
56.9
33.82
2554
51.97
31.99
2555
0.00
31.53

โรงพยาบาลศูนย์
46.38
46.84
49.27
46.92

รพท. >300 เตียง
43.61
42.47
48.79
47.84

ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
จากตารางที่ 10 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีศักยภาพสูงในการรักษาพยาบาล ส่งผลให้ร้อยละของการร
คลอดทารกผิดปกติต่ํากว่าของโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง
44

ตารางที่ 11 สัดส่วน Refer in ต่อผู้ป่วยนอก
ทั้งประเทศ
ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม
2552
0.12
0.02
2553
0.14
0.02
2554
0.13
0.02
2555
0.14
0.02

โรงพยาบาลศูนย์
0.08
0.08
0.09
0.09

รพท. >300 เตียง
0.06
0.06
0.06
0.06

ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
จากตารางที่ 11 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีสัดส่วนการรับผู้ป่วยไว้รักษากับจํานวนผู้ป่วย
นอกทั้งหมดของโรงพยาบาลสูงกว่าของ โรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง
ตารางที่ 12 สัดส่วน Refer out ต่อผู้ป่วยนอก
ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม
ทั้งประเทศ
2552
0.02
0.02
2553
0.01
0.02
2554
0.01
0.02
2555
0.01
0.03

โรงพยาบาลศูนย์
0.01
0.01
0.01
0.01

รพท. >300 เตียง
0.01
0.01
0.01
0.01

ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
จากตารางที่ 12 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีสัดส่วนการส่งผู้ป่วยนอกไปรักษาต่ํากว่าของ
โรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง ซึ่งบ่งชี้ถึงการมีศักยภาพในการรักษาพยาบาลสูง
45

ตารางที่ 13 สัดส่วน Refer in ต่อ Refer out
ทั้งประเทศ
ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม
2552
7.87
0.92
2553
10.69
0.93
2554
12.31
0.96
2555
13.01
0.95

โรงพยาบาลศูนย์
11.73
12.61
12.44
10.21

รพท. >300 เตียง
4.80
4.65
4.66
5.11

ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
จากตารางที่ 13 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีสัดส่วนการรับผู้ป่วยไว้รักษาต่อการส่งผู้ป่วยไป
รักษาสูงกว่าของโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง ชี้ให้เห็นว่าโรงพยาบาล
มหาสารคามมีลักษณะเป็นหน่วยรับผู้ป่วยไว้รักษาต่อ
ตารางที่ 14 อัตราส่วนการข้ามเขตสุทธิ (Net Flow Ratio)
ทั้งประเทศ
โรงพยาบาลศูนย์
ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม
2552
18.97
2.85
0.52
2553
13.84
3.00
0.51
2554
14.90
2.23
0.52
2555
8.74
1.66
0.53

รพท. >300 เตียง
2.77
4.02
1.51
0.85

ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
จากตารางที่ 14 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีอัตราส่วนการข้ามเขตสุทธิ (มีการส่งต่อไป
รักษาต่อนอกจังหวัด) สูงกว่าโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง ซึ่งจะส่งผลให้โรงพยาบาลมหาสารคาม
จะต้องมีรายจ่ายค่ารักษา(ตามจ่าย)สูงขึ้น
46

5.3 มิติด้านประสิทธิภาพของ การปฏิบติราชการ
ั
5.3.1 ด้านคลินิก
ตารางที่ 15 ประมาณการอัตราวันนอนผูป่วยใน 1 ปี (อัตราการครองเตียง)
้
ทั้งประเทศ
โรงพยาบาลศูนย์
ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม
2552
96.69
87.96
98.18
2553
100.39
90.52
99.67
2554
100.51
88.09
100.78
2555
106.24
90.50
100.28

รพท. >300 เตียง
87.67
93.15
90.67
93.45

ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
จากตารางที่ 15 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีอัตราการครองเตียงสูงกว่าโรงพยาบาลศูนย์
และทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง ซึ่งจัดมีการใช้เตียงอย่างเหมาะสม (ค่า>120 หมายถึงผู้ป่วยมีเตียงไม่พอ แออัด
ค่า 80-100 หมายถึง เหมาะสม ค่า< 80 หมายถึง ใช้เตียงไม่คุ้มค่า ต้องปรับระบบให้บริการ)
ตารางที่ 16 สัดส่วนการรักษาผู้ป่วยนอกสิทธิ UC นอกเครื่อข่ายต่อในเครือข่าย
ทั้งประเทศ
โรงพยาบาลศูนย์ รพท. >300 เตียง
ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม
2552
0.62
0.14
0.63
0.34
2553
0.76
0.14
0.63
0.36
2554
0.83
0.15
0.67
0.39
2555
0.80
0.16
0.69
0.44
ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
จากตารางที่ 16 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีสัดส่วนการรักษาผู้ป่วยนอกสิทธิ UC สูงกว่า
โรงพยาบาลศูนย์และทั่วไปขนาดมากกว่า 300 ซึ่งเป็นการเพิ่มภาระงานของเจ้าหน้าที่ในการดูแลผุป่วยนอก้ครือ
้
ข่าย
47

ตารางที่ 17 ประมาณการอัตราการใช้เตียง 1 ปี
ทั้งประเทศ
ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม
2552
91.60
83.20
2553
96.87
85.40
2554
94.65
81.77
2555
100.09
84.25

โรงพยาบาลศูนย์
72.22
74.37
73.98
73.78

รพท. >300 เตียง
70.55
74.06
72.05
74.01

ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
จากตารางที่ 17 พบว่า อัตราการใช้เตียงของโรงพยาบาลมหาสารคามสูงกว่าโรงพยาบาลศูนย์และทั่วไป
ขนาดมากกว่า 300 เตียง แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีการใช้เตียงมากมีการหมุนเวียนเตียงเร็ว
ตารางที่ 18 วันนอนเฉลี่ยผูป่วยใน (Length of Stay)
้
ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม
ทั้งประเทศ
โรงพยาบาลศูนย์
2552
3.85
3.86
4.96
2553
3.78
3.87
4.89
2554
3.88
3.93
4.97
2555
3.87
3.92
4.96

รพท. >300 เตียง
4.54
4.59
4.59
4.61

ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
จากตารางที่ 18 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีวันนอนเฉลียผู้ป่วยในต่ํากว่าโรงพยาบาลศูนย์
่
และทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง ซึงบ่งชี้ถึงการมีคุณภาพและประสิทธภาพการดูแลผู้ป่วยที่ดี
48

ตารางที่ 19 อัตราผูป่วยใน ต่อ ผู้ป่วยนอก
้
ทั้งประเทศ
ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม
2552
9.56
5.88
2553
9.82
5.74
2554
8.45
5.58
2555
9.33
5.42

โรงพยาบาลศูนย์
8.74
8.40
8.46
8.09

รพท. >300 เตียง
8.66
8.46
7.98
7.91

ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
จากตารางที่ 19 พบว่าโรงพยาบาลมหาสารคามมีอัตราผูป่วยในต่อผู้ป่วยนอกสูงกว่าโรงพยาบาลศูนย์ และ
้
โรงพยาบาลทั่วไป ขนาดมากกว่า 300 เตียง
49

สวนที่ 6 เปรียบเทียบขอมูลงานบริการสุขภาพรายบุคคล
ตารางที่ 1 คาน้ําหนักสัมพัทธเฉลี่ย (Average RW) ของโรงพยาบาลทั่วไป ปงบประมาณ 2554
อันดับ
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
21
42
59
69

โรงพยาบาล
รพท.นครพิงค
รพท.สกลนคร
รพท.พิจิตร
รพท.นาน
รพท.รอยเอ็ด
รพท.ศรีสะเกษ
รพท.พระนารายณมหาราช
รพท.พระนั่งเกลา
รพท.หัวหิน
รพท.หนองคาย
รพท.มหาสารคาม
รพท.แพร
รพท.เลย
รพท.กาฬสินธุ
รพท.ยโสธร
รพท.ตราด
รพท.สิรินธร(ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ)

RW รวม

ผูปวยใน (ราย)

RWเฉลี่ย

63,569
68,303
40,728
52,220
79,039
66,572
33,984
45,034
18,876
33,138
58,834
46,815
47,556
48,145
35,161
17,901

32,884
37,821
23,469
31,158
48,182
40,902
21,011
28,745
12,097
21,829
38,659
30,846
32,102
33,867
27,610
16,519

1.93
1.81
1.74
1.68
1.64
1.63
1.62
1.57
1.56
1.52
1.52
1.52
1.48
1.42
1.27
1.08

2,329

3,358

0.69

ที่มา : โปรแกรมดัชนีชี้วัดขอมูลงานบริการสุขภาพรายบุคคล สํานักบริหารการสาธารณสุข
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
จากตารางที่ 1 คาน้ําหนักสัมพัทธเฉลี่ย (Average Rw) ของโรงพยาบาลทั่วไป ปงบประมาณ 2554 พบวา
โรงพยาบาลมหาสารคามมีคา RW รวม เทากับ 58,834 หนวย มีผูปวยใน 38,659 ราย มีคาน้ําหนักสัมพัทธเฉลี่ย
(RW) เทากับ 1.52 ซึ่งสูงเปนอันดับที่ 11 ของโรงพยาบาลทั่วไปทุกระดับจากทั้งหมด 69 อันดับ
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1
สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1

More Related Content

Featured

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at WorkGetSmarter
 

Featured (20)

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 

สถิติปี2555 แก้ไขเอกสารบทที่ 1

  • 2. 1 ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปโรงพยาบาลมหาสารคาม ประวัติโรงพยาบาลมหาสารคาม ปี พ.ศ. 2490 โรงพยาบาลมหาสารคามเริ่มก่อสร้างบนเนื้อที่ 12 ไร่เศษ ตั้งอยู่เลขที่ 168 ถนนผดุงวิถี ตําบลตลาด อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม โดยได้รับโอนที่ดินจากสถานีสุขศาลา เทศบาลเมืองมหาสารคาม พ.ศ. 2532 เป็นต้นมา โรงพยาบาลมหาสารคามมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มีผู้อํานวยการโรงพยาบาลอีก หลายท่านที่ทมเททั้งแรงกายและแรงใจ เพือพัฒนาโรงพยาบาลมหาสารคามเป็นโรงพยาบาลขนาด 472 เตียง ใน ุ่ ่ เนื้อที่ 30 ไร่เศษ ตั้งอยู่ท่ี 168 ถนนผดุงวิถี ตําบลตลาด อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม โทร 043-711029, 711463, 740993-6 โทรสาร 043-711433 และได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาลในวันที่ 10 เดือนพฤศจิกายน 2548 จากสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล รายนามผู้อํานวยการโรงพยาบาลมหาสารคามตั้งแต่เริ่มเปิดดําเนินการจนถึงปัจจุบัน นายแพทย์บรรลุ นายแพทย์วุฒิ นายแพทย์วิสิษฐ์ นายแพทย์สุพฒก์ ั แพทย์หญิงชูศรี นายแพทย์สมศักดิ์ นายแพทย์มงคล นายแพทย์สุวัฒน์ นายแพทย์ชาย นายแพทย์วิชิต นายแพทย์วีระพันธ์ แพทย์หญิงเสาวลักษณ์ นายแพทย์สุนทร ศิริพานิช โพธิสุนทร สุวรรณิก ตระกูลดิษฐ์ โพธิสุนทร ธันวารชร เชฏฐากุล เลิศสุขประเสริฐ ธีระสูต ว่องสัธนพงษ์ สุพรรณไชยมาตย์ นาคะพงษ์ ยนต์ตระกูล พ.ศ. 2494-2496 พ.ศ. 2496-2498 พ.ศ. 2498-2500 พ.ศ. 2500-2518 พ.ศ. 2518-2532 พ.ศ. 2532-2536 พ.ศ. 2536-2537 พ.ศ. 2537-2542 พ.ศ. 2542-2545 พ.ศ. 2545-2547 พ.ศ. 2547-2550 พ.ศ. 2550-2552 พ.ศ. 2552-ปัจจุบัน
  • 3. 2 วิสัยทัศน์ “โรงพยาบาลมหาสารคามให้บริการด้านสุขภาพ มุ่งสู่มาตรฐานระดับชาติ” ปรัชญา “คุณภาพมาตรฐาน บริการดุจญาติมิตร” เป้าประสงค์ 1. จัดบริการทางการแพทย์ระดับตติยภูมิ 2. เป็นสถาบันร่วมผลิตแพทย์ชั้นคลินิกที่ได้มาตรฐาน 3. ประชาชนมีทักษะในการจัดการสุขภาพให้ปลอดภัยจากภาวะคุกคามด้านสุขภาพ 4. บุคลากรมีคณภาพชีวิตที่สมดุล ุ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ 1. เพื่อยกระดับการบริการทางการแพทย์และพัฒนาคุณภาพให้ได้รับรองมาตรฐาน HA 2. เพื่อพัฒนาวิชาการด้านการแพทย์ให้เป็นสถาบันร่วมผลิตแพทย์ชั้นคลินิก 3. เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดโรคจากภาวะคุกคามด้านสุขภาพ 4. เพื่อพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีประสิทธิภาพ ค่านิยมหลัก : Core Value ค่านิยมร่วม : Share Value สมรรถนะหลัก : Core Competency “มุ่งงาน เชี่ยวชาญ บริการดี มีภาวะผู้นํา เป็นทีม เป็นธรรม น้อมนําเศรษฐกิจพอเพียง” พันธกิจ 1. ให้บริการสุขภาพด้านส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟูอย่างเป็นองค์รวม ด้วยจิตใจความเป็นมนุษย์ และสร้างความพึงพอใจสูงสุดแก่ผู้รับบริการ 2. พัฒนาระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ 3. มีการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่องในทุกสาขาและการวิจัย เพื่อคงไว้ซึ่งบริการที่มคุณภาพ ี บุคลากรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 4. สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน การวิจัยทางการแพทย์ 5. พัฒนาให้เป็นศูนย์เรียนรู้ทครบวงจรและพัฒนาการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้สุขภาพชุมชนที่ ี่ สามารถจัดการด้านสุขภาพได้อย่างดีเลิศ
  • 4. 3 ส่วนที่ 2 ข้อมูลบุคลากร 1. ข้อมูลบุคลากร ตารางที่ 1 อัตรากําลังเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลมหาสารคาม ตามบัญชีถือจ่ายเงินเดือน ระดับ 1 – 9 ปีงบประมาณ ประเภท 2552 2553 2554 2555 ข้าราชการ 565 568 569 565 ลูกจ้างประจํา 168 150 148 142 ลูกจ้างชั่วคราว (รายเดือน) 377 415 491 530 ลูกจ้างชั่วคราว (รายวัน) 82 92 99 101 พนักงานราชการ 11 11 16 18 รวม 1,203 1,236 1,323 1,356 ที่มา : ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 1 มีนาคม 2555 ตารางที่ 2 อัตรากําลังเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลมหาสารคาม จําแนกประเภทข้าราชการ ตาม จ.18 ตามบัญชีถือจ่ายเงินเดือน จํานวน ประเภท ปฏิบัติงานจริง จํานวน (คน) (คน) แพทย์ 65 56 - แพทย์ใช้ทุน(Intern) 20 ทันตแพทย์ 12 11 เภสัชกร 29 30 พยาบาลวิชาชีพ 358 372 รวม 464 489 ที่มา : ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 1 มีนาคม 2555 * หมายเหตุ : แพทย์ใช้ทุน(Intern) ปฏิบัติงานที่รพช. 5 คน
  • 5. 4 ตารางที่ 3 จําแนกแพทย์เฉพาะทางสาขาต่างๆ ในโรงพยาบาลมหาสารคาม จํานวน แพทย์เฉพาะทาง แพทย์เฉพาะทาง (คน) อายุรกรรมทั่วไป 7 ศัลยกรรมระบบประสาท อายุรกรรมโรคไต 1 ศัลยกรรมทางเดินปัสสาวะ อายุรกรรมระบบประสาท 1 ศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ กุมารเวชกรรม 8 สูติ-นรีเวชกรรม รังสีแพทย์ 3 จักษุแพทย์ เวชกรรมฟื้นฟู 1 หู คอ จมูก เวชปฏิบัติทั่วไป 4 วิสัญญีแพทย์ ศัลยกรรมทั่วไป 7 รวม ที่มา : ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 1 มีนาคม 2555 จํานวน (คน) 1 3 7 7 3 2 4 59
  • 6. 5 ส่วนที่ 3 ข้อมูลทางการเงิน 3. ข้อมูลทางการเงิน ตาราง 4 สถานะเงินบํารุงปีงบประมาณ 2553- 2555 รายการ 2553 ปีงบประมาณ (บาท) 2554 2555 เงินสด/เงินฝากธนาคาร/ เงินฝากคลัง ลูกหนี้เงินยืม 297,687,450.50 385,838,791.10 380,361,300.06 1,626,741.00 1,548,704 699,765 ลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาล และอื่น ๆสุทธิ เงินUCจ่ายล่วงหน้า 88,607,959.89 81,358,346.33 120,408,196.08 หนี้สิน วัสดุคงคลัง รายได้ ค่าใช้จ่าย 5,100,000.00 161,959,161.91 185,594,513.20 194,330,122.38 31,568,391.96 30,183,060.00 42,350,764.58 1,109,764,080.30 1,002,435,257.26 346,654,818.30 1,077,274,903.05 914,299,449.73 312,652,315.15 ที่มา : ฝ่ายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 มกราคม 2555 ตาราง 5 ประมาณการรายรับและรับจริง ปี 2555 ลําดับที่ หมวด ประมาณการ (บาท) รับจริง (บาท) 1 งบประมาณ 346,225,100 95,743,709.59 2 เงินบํารุง - UC 401,000,000 182,881,298.88 - อื่นๆ 384,100,000 71,218,760.76 รวม 1,131,325.100 349,843,769.29 ที่มา : ฝ่ายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 มกราคม 2555 ร้อยละ 27.65 45.60 18.54 30.90
  • 7. 6 ตาราง 6 แผนประมาณการรายรับและรายรับจริง ปี 2556 ประจําเดือน ตุลาคม 2554 – มกราคม 2555 รับจริง ประมาณการ ลําดับที่ รายการ (บาท) (บาท) ร้อยละ 1 เงินเดือน 205,000,000 58,598,889.18 28.58 2 ค่าจ้างประจํา 30,000,000 9,635400 32.12 3 ค่าเช่าบ้าน 228,000 76,000 33.33 4 เงินประจําตําแหน่ง 25,000,000 7,498,454.20 29.99 5 ค่าตอบแทน เงินเดือนเต็มขั้น 500,000 63,507.24 12.70 6 เงินค่าตอบแทน (ง/ด < 11,700 67,040 500,000 บาท) 13.41 7 เงินเดือนพนักงานราชการ 2,500,000 792,720.67 31.71 8 เงิน พตส. 17,500,000 5,414,000 30.94 9 กบข. 9,600,000 2,870,624.30 29.90 10 กสจ. 780,000 261,330 33.50 11 ค่าเล่าเรียนบุตร 2,600,000 773,295 29.74 12 ค่ารักษาพยาบาล 1,300,000 619,145.50 47.63 13 ประกันสังคมสมทบ 150,000 30,404 20.27 14 งบลงทุน ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง 57,567,100 14,947,971.61 25.97 15 ค่าเหมาจ่ายรายหัว UC - กองทุนผู้ป่วยนอก 35,000,000 27,691,299.28 79.12 - กองทุนผู้ป่วยใน 210,000,000 111,829,067.35 53.25 - กองทุนส่งเสริมสุขภาพ 18,000,000 6,353,437.14 35.30 - กองทุนโรคไต ,ฟื้นฟูคนพิการ , 29,000,000 4,285,020.70 14.78 งบบริการทันตกรรม,แพทย์แผนไทย - กองทุนโรคเอดส์ 7,000,000 0.00 - กองทุน Central Reimburse 33,000,0000 47.57 15,697,874.08 - ผลงาน 20,000,000 1,568,087.60 7.84 - คัดกรอง 7,000,000 0.00 16 รับจากการเรียกเก็บ 25,000,000 27.08 6,770,001 17 18 รับโอนสนับสนุนโครงการ สวัสดิการข้าราชการ-รัฐวิสาหกิจ 5,000,000 270,000,000 1,945,745 49,959,037.11 19.46 18.50
  • 8. 7 ลําดับที่ 19 20 21 22 23 รายการ กองทุนประกันสังคม กองทุนผู้ประสบภัยจากรถ ค่าธรรมเนียมผู้ป่วยจ่ายเอง เงินบริจาค รายรับอื่นๆ รวมประมาณการรายรับ ประมาณการ (บาท) 37,000,000 9,200,000 55,000,000 2,900,000 10,000,000 1,31,325,100 รับจริง (บาท) 2,043,818.92 2,558.749 14,481.554 254.000 2,757,297.13 349,843,769.23 ร้อยละ 5.52 27.81 26.33 8.76 27.57 30.92 ที่มา : ฝ่ายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 มกราคม 2555 ตาราง 7 ประมาณการรายจ่าย และรายจ่ายจริง ปี 2555 จําแนกตามหมวด หมวด ประมาณการ (บาท) จ่ายจริง (บาท) งบดําเนินการ 421,333,000 146,555,276.26 งบบุคลากร 452,278,000 139,964,479.29 งบลงทุน 220,311,071 32,733,005.50 รวม 1,093,922,071 319,252,761.05 ที่มา : ฝ่ายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 มกราคม 2555 ร้อยละ 34.78 30.95 14.86 29.18
  • 9. 8 ตาราง 8 แผนรายจ่าย และรายจ่ายจริง ปี 2555 ช่วงเดือนตุลาคม 2554 -มกราคม 2555 หมวดงบบุคลากร ลําดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 รายการ ประมาณการ (บาท) เงินเดือน 205,000,000 ค่าจ้างลูกจ้างประจํา 30,000,000 พนักงานราชการ 3,000,000 เงินประจําตําแหน่ง 25,000,000 เงินค่าตอบแทนเงินงบประมาณ 1,000,000 61,000,000 ค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราว 6,550,000 ค่าจ้างชั่วคราวรายวัน 13,500,000 ค่าตอบแทน พตส ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลา 75,000,000 (OT) 10 32,000,000 ค่าตอบแทนอื่นๆ ทุกหมวด 11 ค่าเช่าบ้าน 228,000 รวม 452,278,000 ที่มา : ฝ่ายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 มกราคม 2555 จ่ายจริง (บาท) ร้อยละ 58,598,889.18 9,635,400.00 792,720.67 7,498,454.20 130,547.24 20,043,073.00 2,748,420 5,447,000 32,462,515 28.58 32.12 26.42 29.99 13.05 32.86 41.96 40.35 43.28 2,531,460.00 76,000 139,964,479 7.91 33.33 30.95 ตาราง 9 แผนรายจ่าย และรายจ่ายจริง ปี 2555 ช่วงเดือนตุลาคม 2554 – มกราคม 2555 หมวด งบดําเนินการ ประมาณการ จ่ายจริง (บาท) ลําดับที่ รายการ (บาท) ค่าใช้สอย (M1) 1 76,468,000 18,022,293.56 2 ค่าสาธารณูปโภค (M2) 19,950,000 6,846,655.90 3 ค่าวัสดุ (M3) 66,415,000 23,888,268 4 ค่าวัสดุยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา (M4) 225,000,000 89,563,230 5 การสนับสนุนเครือข่าย 15,500,000 8,234,728.94 6 งบกลาง 15,000,000 รวมงบดําเนินการ 421,333,000 146,555,276.26 ที่มา : ฝ่ายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 มกราคม 2555 ร้อยละ 23.57 34.32 19.20 39.81 53.12 34.78
  • 10. 9 ตาราง 10 แผนรายจ่าย และรายจ่ายจริง ปี 2555 ช่วงเดือนมกราคม 2554 หมวดงบลงทุน ลําดับที่ รายการ ปี 2554 (บาท) จ่ายจริง (บาท) 1 2 3 4 5 ที่ดิน สิ่งก่อสร้างใหม่ ครุภัณฑ์การแพทย์ ครุภัณฑ์ไม่ใช่การแพทย์ ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 15,000,000 78,871,430 117,487,515 5,144,361 3,807,765 ร้อยละ 1,988,869.00 28,242,604.50 2,452,537.00 48,995.00 2.52 24.04 47.47 1.29 220,311,071 32,733,005.50 รวม ที่มา : ฝ่ายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 มกราคม 2555 14.86 ตาราง 11 ดัชนีทางการเงิน ปี 2553 – 255 ลําดับ ดัชนีทางการเงิน ที่ 1 อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน (Current ratio) (ค่ามาตรฐาน = 1.50) 2 อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick ratio) (ค่ามาตรฐาน = 1.00) 3 อัตราส่วนเงินสด(Cash ratio) (ค่ามาตรฐาน = 0.80) 4 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บลูกหนี้ค่า รักษาNON UC (ค่ามาตรฐาน=90 วัน) 5 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชําระหนี้การค้า (ค่ามาตรฐาน = 90 วัน) 6 อัตรากําไรสุทธิ รวมค่าเสื่อมฯ (ร้อยละ) 7 ต้นทุนดําเนินการต่อหน่วยการรักษา 8 รายได้ตอค่าใช้จ่าย(I/E) ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 2555 2.82 2.82 2.52 2.82 2.63 2.63 2.31 2.58 2.41 1.84 1.93 1.96 69 วัน 96 วัน 66 วัน 73 วัน 66 วัน 62 วัน 67 วัน 68 วัน 7.36 6,852.14 1.08 2.93 6,893.91 1.03 9.28 6,718 1.10 9.81 6,664 1.11 ทุนสํารองสุทธิ(Net Working Capital) 225.96 260.28 หน่วย : ล้านบาท ที่มา : ฝ่ายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลมหาสารคาม ณ วันที่ 31 มกราคม 2555 313.70 354.60 9
  • 11. 10 ส่วนที่ 4 สถิติและข้อมูลกิจกรรมการบริการ ตารางที่ 1 จํานวนผู้มารับบริการผู้ป่วยนอกทั้งหมด ปีงบประมาณ 2550-2555 ปีงบประมาณ จํานวน (คน) จํานวน (ครั้ง) เฉลี่ย (ครั้ง/คน) อัตราการเพิ่มขึ้นของผู้ป่วยนอก* 2550 116,200 383,457 3.30 2.91 2551 123,379 422,446 3.42 10.17 2552 131,027 452,142 3.45 7.03 2553 133,447 467,582 3.50 3.41 2554 137,536 488,872 3.55 4.55 2555 140,041 506,608 3.62 3.63 หมายเหตุ 1. อัตราการเพิ่มขึ้นของผูปวยนอก* ้ ่ หมายถึง
  • 12. 11 ตารางที่ 2 จํานวนผู้มารับบริการผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลมหาสารคาม จําแนกตามแผนกปีงบประมาณ 2553-2555 ปีงบประมาณ 2553 ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2555 1 แผนก จํานวน จํานวน เฉลี่ย จํานวน จํานวน เฉลี่ย จํานวน จํานวน เฉลี่ย (คน) (ครั้ง) (คน) (ครั้ง) (คน) (ครั้ง) อายุรกรรม 97,289 194,848 534 87,580 205,234 562 95,570 217,386 596 ศัลยกรรมทั่วไป 32,445 59,919 164 31,653 61,552 169 34,474 61,625 169 ศัลยกรรมกระดูก 28,349 48,936 134 26,449 51,338 141 26,557 50,610 139 กุมารเวชกรรม 20,313 34,649 95 23,571 36,711 101 22,404 31,735 87 สูต-นรีเวชกรรม ิ 17,917 29,664 81 18,236 30,422 83 20,545 30,982 85 จักษุ 13,809 25,418 70 13,804 26,148 72 13,026 26,621 73 โสต ศอ นาสิก 7,363 11,876 33 6,847 12,284 34 7,083 12,983 36 ทันตกรรม 16,371 27,528 75 15,226 27,853 76 17,383 28,921 79 จิตเวช 1,815 5,993 16 1,582 6,086 17 2,325 9,186 25 งานบริการอืนๆ ่ 14,970 28,750 79 12,879 31,244 86 16,662 36,559 100 รวมผู้ป่วยนอก 1,93 2,004 2 ทั้งหมด* 250,643 467,582 237,827 488,872 256,029 506,608 รวมผู้ป่วยนอก 1,28 1,339 1 ทั้งหมด** หมายเหตุ 1. ที่มา: รหัสแผนกมาตรฐาน ปี 2555 ศูนย์มาตรฐานรหัสและข้อมูลสุขภาพแห่งชาติ สํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ 2. ผู้มารับบริการเฉลี่ย หมายถึง 3. รวมผู้ป่วยนอกทั้งหมด * หมายถึง - ปีงบประมาณ 2553 มีวันทําการ 243 วัน - ปีงบประมาณ 2554 มีวันทําการ 244 วัน - ปีงบประมาณ 2555 มีวันทําการ 244 วัน 4. รวมผู้ป่วยนอกทั้งหมด ** หมายถึง 2,076 1,388
  • 13. 12 ตารางที่ 3 จํานวนผู้มารับบริการผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลมหาสารคาม จําแนกตามสิทธิ์ ปีงบประมาณ 2553-2555 ปีงบประมาณ 2553 ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2555 ประเภทสิทธิ์ จํานวน (คน) จํานวน (ครั้ง) ข้าราชการ/ 25,891 127,655 รัฐวิสาหกิจ ประกันสังคม 9,387 31,234 UC บัตรทอง 38,572 127,127 ไม่มี ท UC บัตรทอง 37,399 125,966 มี ท รวม UC* 75,971 253,093 แรงงานต่าง ด้าวที่ขึ้น 33 116 ทะเบียน อื่นๆ (ต่าง ด้าวไม่ขึ้น ทะเบียน, 22,165 55,484 สิทธิ์ไม่ ชัดเจน,ไม่ใช้ สิทธิ์) รวมผู้มารับ 133,447 467,582 บริการ เฉลี่ย (ครั้ง/คน)** จํานวน (คน) จํานวน (ครั้ง) 4.93 25,120 3.33 เฉลี่ย เฉลี่ย (ครั้ง/คน)** จํานวน (คน) จํานวน (ครั้ง) (ครั้ง/คน)** 123,311 4.91 24,738 124,432 5.03 8,922 31,538 3.53 9,313 33,185 3.56 3.30 38,990 138,425 3.55 41,360 144,252 3.49 3.37 35,543 130,106 3.66 37,475 139,978 3.74 3.33 74,533 268,531 3.60 78,835 284,230 3.61 3.52 42 149 3.55 52 175 3.37 2.50 46,218 65,343 1.41 37,527 64,586 1.72 3.50 154,835 488,872 3.16 150,465 506,608 3.37 หมายเหตุ 1. รวม UC* หมายถึง UC บัตรทองไม่มี ท + UC บัตรทองมี ท 2. เฉลี่ย (ครั้ง/คน)** หมายถึง
  • 14. 13 ตารางที่ 4 10 อันดับกลุ่มโรค ผู้ป่วยนอกที่พบบ่อย (ตามรายงาน 504) ปีงบประมาณ 2553-2555 สาเหตุการปวย (กลุมโรค) 1. โรคเกี่ยวกับตอมไรทอ โภชนาการ และเมตะบอลิ ซึม 2. โรคระบบไหลเวียนเลือด 3. โรคระบบยอยอาหาร รวมโรคในชองปาก 4. โรคระบบกลามเนื้อ รวมโครงราง และเนื้อยึดเสริม 5. โรคระบบหายใจ 6. โรคระบบสืบพันธุรวมปสสาวะ 7. โรคติดเชื้อและปรสิต 8. อาการ, อาการแสดงและสิงผิดปกติที่พบไดจาก ่ การตรวจทางคลีนิก และทางหองปฏิบติการ ั 9. โรคตารวมสวนประกอบของตา 10.โรคระบบประสาท 2553 รอยละ ปงบประมาณ 2554 รอยละ 69,622 54,749 59,751 51,991 56,249 40,160 28,111 14.89 11.71 12.78 11.12 12.03 8.59 6.01 80,877 68,352 64,581 54,247 55,738 47,352 29,053 16.54 13.98 13.21 11.10 11.40 9.69 5.94 92,097 75,035 59,169 58,171 57,288 47,012 29,180 18.18 14.81 11.68 11.48 11.31 9.28 5.76 30,015 6.42 31,245 6.39 29,152 5.75 15,402 15,296 3.29 3.27 18,655 17,398 3.82 3.56 19,208 18,357 3.79 3.62 หมายเหตุ 1 .ร้อยละ = จํานวนผู้ป่วยนอกที่ป่วยด้วยโรคนั้น (ครั้ง) X 100 จํานวนผู้ป่วยนอกผุ้มารับบริการทั้งหมดของปีนั้น (ครั้ง) - ปีงบประมาณ 2553 มีจํานวนผู้ป่วยนอกที่มารับบริการทั้งหมด 467,582 ครั้ง - ปีงบประมาณ 2554 มีจํานวนผู้ป่วยนอกที่มารับบริการทั้งหมด 488,872 ครั้ง - ปีงบประมาณ 2555 มีจํานวนผู้ป่วยนอกที่มารับบริการทั้งหมด 506,608 ครั้ง 2555 รอยละ
  • 15. 14 ตารางที่ 5 10 อันดับโรคผู้ปวยนอกที่พบบ่อย (ตามรหัสโรค 3 ตําแหน่ง) ปีงบประมาณ 2553-2555 ่ ลําดับ ปีงบประมาณ รหัส โรค โรค 2553 2554 2555 จํานวน ร้อยละ* จํานวน ร้อยละ* จํานวน ร้อยละ* 1 I10 Essential (primary) hypertension 33,320 7.13 36,144 7.39 39,630 7.82 2 E11 Non-insulin-dependent diabetes mellitus 27,754 5.94 31,677 6.48 37,311 7.36 3 Disorders of lipoprotein E78 metabolism and other lipidaemias 28,250 6.04 31,453 6.43 34,765 6.86 4 N18 Chronic renal failure 13,969 2.99 16,720 3.42 18,320 3.62 5 K30 Dyspepsia 15,379 3.29 15,315 3.13 15,133 2.99 6 M62 5,922 1.27 6,797 1.39 13,819 2.73 7 U57 โรคที่เกี่ยวกับลม - 0.00 - 0.00 11,410 2.25 8 Other soft tissue M79 disorders, not elsewhere classified 19,596 4.19 16,988 3.47 10,985 2.17 9 J02 Acute pharyngitis 14,511 3.10 9,715 1.99 8,846 1.75 10 K02 Dental caries 7,945 1.70 8,183 1.67 8,312 1.64 Other disorders of muscle หมายเหตุ 1. ร้อยละ = - ปีงบประมาณ 2553 มีจํานวนผู้ป่วยนอกที่มารับบริการทั้งหมด 467,582 ครั้ง - ปีงบประมาณ 2554 มีจํานวนผู้ป่วยนอกที่มารับบริการทั้งหมด 467,582 ครั้ง - ปีงบประมาณ 2555 มีจํานวนผู้ป่วยนอกที่มารับบริการทั้งหมด 506,608 ครั้ง
  • 16. 15 ตาราง 6 การให้บริการผู้ป่วยนอก เครือข่ายสถานบริการสุขภาพ โรงพยาบาลมหาสารคาม ปี 2553 รายการ 271 จํานวน (ราย) 62,587 147,992 405 220,620 467,582 รวม 246,482 สอ.17 แห่ง เครือข่าย PCU ในเขตเมือง 45,775 โรงพยาบาล (4แห่ง) มหาสารคาม 292,257 รวม 759,839 รวม ที่มา : ศูนย์ข้อมูล โรงพยาบาลมหาสารคาม ในเขต ในเขต เทศบาล ผู้ป่วยนอก อ. นอกเขต โรงพยาบาล เมือง เทศบาล มหาสารคาม นอกเขต อ.เมือง จํานวน (ราย) 98,970 ปี 2554 ปี 2555 258 จํานวน (ราย) 104,319 96,119 396 177,667 487 604 150,616 620 224,574 615 1,281 675 125 309,322 148,880 22,679 1,273 613 93 506,560 248,547 24,666 1,388 681 68 801 2,082 171,559 480,881 706 1,979 273,213 779,773 749 2,136 เฉลี่ย / วัน เฉลี่ย / วัน หมายเหตุ : จัดเป็นกลุ่มโรค 3 หลัก ร้อยละ เทียบกับจํานวนผู้ป่วยที่มารับบริการทั้งหมด เฉลี่ย / วัน 286
  • 17. 16 ตารางที่ 7 จํานวนผู้มารับบริการผู้ป่วยในทั้งหมด ปีงบประมาณ 2550-2555 2550 จํานวน (คน) 30,357 จํานวน (ครั้ง) 36,548 2551 33,803 2552 1.20 อัตราเพิ่มขึ้น ของผู้ป่วยใน* 9.52 40,470 1.20 10.73 36,381 43,228 1.19 6.81 2553 37,817 45,748 1.21 5.83 2554 37,264 45,414 1.24 -0.73 2555 หมายเหตุ 39,518 47,258 1.20 4.06 ปีงบประมาณ เฉลี่ย (ครั้ง/คน) 1. อัตราเพิ่มขึ้นของผู้ป่วยใน หมายถึง ตารางที่ 8 ผูมารับบริการผูป่วยใน โรงพยาบาลมหาสารคาม จําแนกตามแผนก ปีงบประมาณ 2553– 2555 ้ ้ ปีงบประมาณ 2553 แผนก ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2555 จํานวน จําหน่าย วันนอน วันนอน เฉลี่ย* จํานวน จําหน่าย วันนอน วันนอน เฉลี่ย* จํานวน จําหน่าย วันนอน วันนอน เฉลี่ย* อายุรกรรม 13,205 53,745 4.07 13,360 55,024 4.12 13,565 54,953 4.04 ศัลยกรรมทั่วไป 11,951 49,313 4.13 11,763 51,042 4.34 12,400 54,374 4.38 ศัลยกรรมกระดูก 4,654 15,097 3.24 4,601 17,296 3.76 4,397 17,816 4.05 กุมารเวชกรรม 7,729 28,209 3.65 7,291 26,186 3.59 8,118 30,054 3.70 สูติ-นรีเวชกรรม 5,896 17,689 3.00 6,159 17,897 2.91 6,382 18,803 2.95 ทันตกรรม 129 410 3.18 3 13 4.33 31 91 3.14 จักษุ 1,897 4,925 2.60 1,927 6,332 3.29 2,055 6,042 2.95 โสต ศอ นาสิก 286 948 3.31 310 973 3.14 271 877 3.22 1 2 2.00 - - - 1 14 14.00 45,748 170,338 3.72 45,414 174,763 3.85 47,258 183,024 3.87 อื่น ๆ รวมผู้ป่วยในทั้งหมด หมายเหตุ 1. วันนอนเฉลี่ย หมายถึง จํานวนวันนอนของแผนกนั้น /จํานวนจําหน่ายของแผนกนั้น
  • 18. 17 ตารางที่ 9 สรุปการให้บริการผูป่วยใน โรงพยาบาลมหาสารคาม ปีงบประมาณ 2550-2555 ้ ปีงบประมาณ รายการ 2550 2551 2552 2553 2554 2555 ผู้ป่วยในทั้งหมด ครั้ง 36,548 40,468 43,227 45,748 45,414 ผู้ป่วยในสูติ - นรีเวชกรรม ครั้ง 7,978 8,436 6,246 5,896 6,159 47,258 6,382 ผู้ป่วยในศัลยกรรม ครั้ง 8,986 9,149 10,703 11,951 11,763 12,400 ผู้ป่วยในศัลยกรรมกระดูก ครั้ง 3,312 3,734 4,273 4,640 4,601 4,397 ผู้ป่วยในอายุรกรรม ครั้ง 8,872 11,027 12,020 13,205 13,360 13,565 ผู้ป่วยในกุมารเวชกรรม ครั้ง 5,361 5,154 7,490 7,729 7,291 8,118 ผู้ป่วยในจักษุ ครั้ง 1,724 1,914 1,998 1,897 1,927 2,055 ผู้ป่วยใน หู คอ จมูก ครั้ง 289 317 319 286 310 271 ผู้ป่วยในจิตเวช ครั้ง 0 0 0 0 0 1 ผู้ป่วยในทันตกรรม ครั้ง 26 20 176 129 3 31 ผู้ป่วยในเวชกรรมฟื้นฟู ครั้ง 0 2 0 1 0 0
  • 19. 18 ตารางที่ 10 จํานวนผู้มารับบริการผู้ป่วยในโรงพยาบาลมหาสารคาม จําแนกตามสิทธิ์ ปีงบประมาณ 2553 -2555 ปงบประมาณ 2553 ประเภทสิทธิ์ จํานวน จํานวน (คน) (ครั้ง) เฉลี่ย (ครั้ง/คน) ** ปงบประมาณ 2554 รอยละ จํานวน จํานวน *** (คน) (ครั้ง) เฉลี่ย (ครั้ง/คน) ** ปงบประมาณ 2555 รอยละ จํานวน จํานวน *** (คน) (ครั้ง) เฉลี่ย (ครั้ง/คน) ** รอยละ *** ขาราชการ/ รัฐวิสาหกิจ 4,547 5,848 1.29 12.78 4,886 6,278 1.28 13.82 4,613 5,987 0.77 12.67 ประกันสังคม 1,376 1,611 1.17 3.52 1,402 1,705 1.22 3.75 1,570 1,881 0.83 3.98 UC บัตรทองไมมี 10,591 ท 13,152 1.24 28.75 10,519 13,206 1.26 29.08 10,935 13,901 0.79 29.42 UC บัตรทองมี ท 12,865 16,497 1.28 36.06 12,315 15,876 1.29 34.96 12,689 16,500 0.77 34.91 รวม UC* 23,456 29,649 1.26 64.81 22,834 29,082 1.27 64.04 23,624 30,401 1.29 64.33 แรงงานตางดาวที่ ขึ้นทะเบียน 10 11 1.10 0.02 11 12 1.09 0.03 16 22 0.73 0.05 8,428 8,629 1.02 18.86 8,131 8,337 1.03 18.36 8,761 8,967 0.98 18.97 37,817 45,748 1.21 100.00 37,264 45,414 1.22 100.00 38,584 47,258 1.22 100.00 อื่นๆ (ตางดาวไม ขึ้นทะเบียน,สิทธิ์ ไมชัดเจน,ไมใช สิทธิ์) รวมผูมารับ บริการ หมายเหตุ 1. รวม UC* หมายถึง UC บัตรทองไมมี ท + UC บัตรทองมี ท 2. เฉลี่ย (ครั้ง/คน)** หมายถึง 3. รอยละ*** หมายถึง
  • 20. 19 ตารางที่ 11 10 อันดับ สาเหตุการป่วยผูป่วยใน (รายงาน505) ปีงบประมาณ 2553-2555 ้ ลําดับ โรค 1 Other endocrine, nutrition and metabolic diseases 2 Diseases of the blood and blood forming organs and certain Complication of pregnancy,labour,delivery,puerperium and other Hypertensive diseases Diabetics mellitus Other diseases of the digestive system 3 4 5 6 7 8 9 10 ปงบประมาณ 2554 รอยละ* 2555 รอยละ* 2553 Symptom,signs and abnormal clinical and laboratory finding,NEC Diseases of the eye and adnexa Other infectious diseases Other disorder originating in the perinatal period รอยละ* 11,610 11.84 12,812 12.20 14,395 12.93 5,972 6.09 6,727 6.41 7,669 6.89 5,966 6.08 6,022 5.74 6,435 5.78 3,940 4,669 4,069 4.02 4.76 4.15 4,889 5,199 4,257 4.66 4.95 4.05 5,306 5,300 4,460 4.76 4.76 4.00 3,971 4.05 4,081 3.89 4,256 3.82 3,294 4,439 3.36 4.53 3,371 4,247 3.21 4.04 3,883 3,879 3.49 3.48 2,603 2.65 3,229 3.08 3,681 3.31 หมายเหตุ 1. ร้อยละ* หมายถึง ปี 2553 มีจํานวนผู้ป่วยใน รง.505 ทั้งสิ้น 98,062 คน ปี 2554 มีจํานวนผู้ป่วยใน รง.505 ทั้งสิ้น 105,003 คน ปี 2555 มีจํานวนผู้ป่วยใน รง.505 ทั้งสิ้น 111,372 คน
  • 21. 20 ตารางที่ 12 10 อันดับโรค ผู้ป่วยในที่พบบ่อย (ตามรหัสโรคหลัก) ปีงบประมาณ 2553-2555 ลําดับ โรค 1 K35 Acute appendicitis Diarrhoea and A09 gastroenteritis of presumed infectious origin Calculus of kidney and N20 ureter H25 Senile cataract Bacterial pneumonia, not J15 elsewhere classified Single spontaneous O80 delivery N18 Chronic renal failure S06 Intracranial injury S52 Fracture of forearm I63 Cerebral infarction 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ 2553 2554 2555 จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ 1,780 3.88 1,516 3.32 1,582 3.34 1,479 3.22 1,390 3.05 1,457 3.08 1,649 3.60 1,491 3.27 1,378 2.91 1,390 3.03 1,288 2.82 1,337 2.83 1,152 2.51 1,026 2.25 1,308 2.77 1,038 2.26 1,168 2.56 1,225 2.59 653 804 796 395 1.42 1.75 1.74 0.86 904 822 786 582 1.98 1.80 1.72 1.28 963 861 793 672 2.04 1.82 1.68 1.42 หมายเหตุ 1. ร้อยละ หมายถึง - ปีงบประมาณ 2553 มีจํานวนจําหน่าย 48,748 คน - ปีงบประมาณ 2554 มีจํานวนจําหน่าย 45,414 คน - ปีงบประมาณ 2555 มีจํานวนจําหน่าย 47,258 คน
  • 22. 21 ตารางที่ 13 จํานวน ร้อยละ ผู้ป่วยในทีเสียชีวิต โรงพยาบาลมหาสารคาม จําแนกตามแผน ่ ปีงบประมาณ 2553 -2555 ปีงบประมาณ 2553 ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2555 แผนก จํานวนผู้ป่วย จํานวนผู้ป่วย จํานวนผู้ป่วย ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ เสียชีวิต(คน) เสียชีวิต(คน) เสียชีวิต(คน) อายุรกรรม 496 4.13 592 4.42 623 1.32 ศัลยกรรมทั่วไป 144 1.33 160 1.35 224 0.47 ศัลยกรรมกระดูก 2 0.05 5 0.11 1 0 กุมารเวชกรรม 36 0.51 34 0.47 64 0.13 สูต-นรีเวชกรรม ิ 1 0.02 1 0.02 3 0 ทันตกรรม 1 0.85 0 0 0 0 โสต ศอ นาสิก 0 0 0 0 1 0 รวมผู้ป่วยในทั้งหมด 680 1.64 792 1.74 916 1.94 หมายเหตุ 1. ร้อยละ หมายถึง - ปีงบประมาณ 2553 มีจํานวนจําหน่าย 48,748 คน - ปีงบประมาณ 2554 มีจํานวนจําหน่าย 45,414 คน - ปีงบประมาณ 2555 มีจํานวนจําหน่าย 47,258 คน ตาราง 14 ผู้ปวยในจําหน่ายต่อวัน โรงพยาบาลมหาสารคาม ่ รายการ ผู้ป่วยใน ในเขต อ.เมือง โรงพยาบาล นอกเขต อ. เมือง มหาสารคาม รวม ปี 2553 จํานวนราย เฉลี่ย / วัน (ราย) 14,688 40 ปี 2554 จํานวนราย เฉลี่ย / วัน (ราย) 14,420 40 ปี 2555 จํานวนราย เฉลี่ย / วัน (ราย) 15,276 42 31,060 85 30,994 85 31,982 88 45,748 125 45,414 124 47,258 129 ที่มา : ศูนย์ข้อมูล โรงพยาบาลมหาสารคาม
  • 23. 22 ตารางที่ 15 สถิติการผ่าตัดของโรงพยาบาลมหาสารคาม จําแนกตามแผนก ปีงบประมาณ 2553-2555 แผนก ปีงบประมาณ 2553 ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2555 Elective Emergency Elective Emergency Elective Emergency อายุรกรรม 30 36 141 218 139 323 ศัลยกรรม 1,279 629 4,894 4,661 4,747 4,995 สูติกรรม 95 77 984 852 1,033 1,101 นรีเวชกรรม 3,648 3,704 655 119 623 113 กุมารเวชกรรม 730 2,698 13 30 43 116 โสต ศอ นาสิก 52 2 125 38 149 47 จักษุ 220 3 1,661 117 1,667 174 ศัลยกรรมกระดูก 117 439 1,000 3,365 970 3,289 ทันตกรรม 72 377 2 - 8 4 ฉุกเฉิน 243 166 364 16 96 7 อื่น ๆ 3,070 1,021 156 2 394 7 9,556 9,152 9,995 9,418 9,869 10,176 รวม
  • 24. 23 ตารางที่ 16 อัตราการครองเตียงผู้ป่วยใน จําแนกตามสาขา ปีงบประมาณ 2555 ปงบประมาณ 2555 ลําดับ สาขา 1 ศัลยกรรม 152 11,247 49,782 89.73 2 ศัลยกรรมกระดูก 55 4,068 15,552 77.47 3 อายุรกรรม 153 15,634 64,872 116.16 4 สูติ-นรีเวชกรรม 59 7,681 21,340 99.09 5 กุมารเวชกรรม 89 5,948 25,293 77.86 6 จักษุ 19 2,314 5,231 75.43 7 หู คอ จมูก 15 366 954 17.42 542 47,258 183,024 92.52 รวม จํานวนเตียง จําหนาย วันนอน อัตราการครองเตียง หมายเหตุ 1. สาขาศัลยกรรม ประกอบด้วย ตึกศัลยกรรมชาย,ศัลยกรรมยูโรพิเศษ, ศัลยกรรมหญิง, ศัลยกรรม ทั่วไปพิเศษ, ศัลยกรรมยูโร, ศัลยกรรมทั่วไป 2. ศัลยกรรมกระดูก ประกอบด้วย ตึกศัลยกรรมกระดูกชาย,ศัลยกรรมกระดูกหญิง 3. อายุรกรรม ประกอบด้วย ตึกอายุกรรมชาย, อายุกรรมหญิง, ทองดีแก้วชั้น 4 ,พิเศษเดี่ยวชั้น 3 สงฆ์, สงฆ์อาพาธ ชั้น 4, ทองดีแก้ว ชั้น 5,อายุกรรม 1, อายุกรรม 2, อายุกรรม 3 4. สูติ-นรีเวชกรรมประกอบด้วย ตึกสูติกรรม-ล่าง, นรีเวช-พิเศษสูติกรรม,ห้องคลอด (LR),ตึก 114 เตียง ชั้น 5 5. กุมารเวชกรรมประกอบด้วย ตึกเด็กล่าง,พิเศษเด็ก (เดี่ยว),เด็กโต,ทารกป่วย (NS),พิเศษเด็ก (รวม),ตึก 114 เตียงชั้น 4 6. เฉลี่ยจํานวนอัตราการครองเตียงผู้ป่วยใน หมายถึง
  • 25. 24 ตารางที่ 17 อัตราตรองเตียงจําแนกตาม ประเภทหอผู้ป่วย (พิเศษ สามัญ) รายแผนก ปีงบประมาณ 2555 พิเศษ ลําดับ แผนก สามัญ จํานวน จําหน่าย วันนอน 723 4,520 16 - - จํานวน อัตราครอง เตียง เตียง จํานวน จําหน่าย วันนอน จํานวน เตียง อัตราครอง เตียง 77.40 10,524 45,262 136 91.18 - - 4,068 15,552 55 77.47 1 ศัลยกรรม 2 ศัลยกรรมกระดูก 3 อายุรกรรม 7,491 32,497 71 125.40 8,143 32,375 82 108.17 4 สูติ-นรีเวชกรรม 1,892 4,993 29 47.17 5,789 16,347 30 149.29 5 กุมารเวชกรรม 891 3,300 14 64.58 5,057 21,993 75 80.34 6 จักษู 142 525 4 35.96 2,172 4,706 15 85.95 7 โสต ศอ นาสิก - - - 366 954 15 17.42 รวมทั้งสิ้น 11,139 45,835 134 93.71 36,119 137,189 408 หมายเหตุ ศัลยกรรม พิเศษ ประกอบด้วย ศัลยกรรมทั่วไปพิเศษ ศัลยกรรมยูโรพิเศษ ตึก114เตียงชั้น3 สามัญ ประกอบด้วย ศัลยกรรมชาย ศัลยกรรมหญิง ศัลยกรรมทั่วไป ศัลยกรรมยูโร ศัลยกรรมกระดูก พิเศษ ประกอบด้วย สามัญ ประกอบด้วย ตึกศัลยกรรมกระดูกชาย ตึกศัลยกรรมกระดูกหญิง อายุรกรรม พิเศษ ประกอบด้วย ทองดีแก้วชั้น4 พิเศษเดี่ยวชั้น3สงฆ์ ทองดีแก้วชั้น5 ตึกพิเศษรวม สามัญ ประกอบด้วย อายุกรรมชาย อายุกรรมหญิง สงฆ์อาพาธชั้น 4 อายุกรรม1, อายุกรรม 2, อายุกรรม 3 สูติ-นรีเวชกรรม พิเศษ ประกอบด้วย นรีเวช-พิเศษสูติกรรม สามัญ ประกอบด้วย สูติกรรม-ล่าง ห้องคลอด (LR), ตึก114เตียงชั้น 5 กุมารเวชกรรม พิเศษ ประกอบด้วย พิเศษเด็ก(เดี่ยว) ตึก 114 เตียงชั้น 4 พิเศษเด็ก (รวม), สามัญ ประกอบด้วย เด็กล่าง เด็กโต ทารกป่วย (NS) 92.12
  • 26. 25 ตารางที่ 18 ค่า RW จําแนกตามแผนก ปีงบประมาณ 2553-2555 แผนก อายุรกรรม ศัลยกรรมทั่วไป สูติ-นรีเวชกรรม กุมารเวชกรรม โสต ศอ นาสิก จักษุ ศัลยกรรมกระดูก ทันตกรรม เวชกรรมฟื้นฟู โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2553 RW รวม RW เฉลี่ย** RW รวม RW เฉลี่ย** 20,452.43 1.55 22,068.75 1.65 25,546.38 2.14 25,794.80 2.19 5,416.89 0.92 5,538.92 0.89 4,644.16 0.60 4,388.59 0.61 268.11 0.94 326.67 0.93 2,506.38 1.32 2,528.82 1.31 4,769.52 1.02 7,129.17 1.55 151.03 1.17 4.43 1.32 0.83 0.83 63,861.67 1.40 67,780.15 1.49 หมายเหตุ 1. RW เฉลี่ย** หมายถึง ปีงบประมาณ 2555 RW รวม RW เฉลี่ย** 22,289.13 1.64 25,883.47 2.09 5,712.86 0.89 5,318.59 0.66 277.93 1.02 2,768.87 1.35 6,402.15 1.45 30.12 1.04 1.45 68,683.12
  • 27. 26 ตารางที่ 19 ค่า Adj. RW จําแนกตามแผนก ปีงบประมาณ 2553-2555 แผนก อายุรกรรม ศัลยกรรมทั่วไป สูต-นรีเวชกรรม ิ กุมารเวชกรรม โสต ศอ นาสิก จักษุ ศัลยกรรมกระดูก ทันตกรรม เวชกรรมฟื้นฟู อื่นๆ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2553 Adj.RW Adj.RWรวม เฉลี่ย** 18,573.54 1.41 22,186.18 2.01 5,391.52 0.91 4,559.80 0.59 247.40 0.87 2,481.58 1.31 6,231.93 0.94 135.76 1.05 0.83 0.83 59,928.53 1.31 ปีงบประมาณ 2554 Adj.RW Adj.RWรวม เฉลี่ย** 20,009.08 1.50 24,174.93 2.05 5,458.60 0.89 4,318.94 0.59 198.82 0.87 2,517.39 1.30 6,645.81 1.44 91.40 1.21 63,414.97 1.40 หมายเหตุ 1. Adj.RW เฉลี่ย** หมายถึง - ปีงบประมาณ 2553 มีจํานวนจําหน่าย 48,748 คน - ปีงบประมาณ 2554 มีจํานวนจําหน่าย 45,414 คน - ปีงบประมาณ 2555 มีจํานวนจําหน่าย 47,258 คน ปีงบประมาณ 2555 Adj.RW Adj.RWรวม เฉลี่ย** 20,924.51 1.54 24,740.40 1.99 5,689.77 0.89 5,281.56 0.65 269.07 0.99 2,742.89 1.34 6,158.49 1.40 29.24 1.01 65,835.94 1.39
  • 28. 27 ตารางที่ 20 ค่า RW จําแนกตามสิทธิ์ โรงพยาบาลมหาสารคาม ปีงบประมาณ 2553- 2555 UC ปีงบประมาณ 2553 จํานวน RW RW รวม (ครั้ง) เฉลี่ย** 29,649 45,285.39 1.53 ปีงบประมาณ 2554 จํานวน RW RW รวม (ครั้ง) เฉลี่ย** 29,081 47,458.32 1.63 ปีงบประมาณ 2555 จํานวน RW RW รวม (ครั้ง) เฉลี่ย** 30,401 47,169.86 1.55 ข้าราชการ 5,848 1,986.92 0.34 6,264 9,729.33 1.55 5,987 9,173.36 1.53 ประกันสังคม 1,611 8,605.63 5.34 1,705 2,188.51 1.28 1,881 2,450.56 1.30 พรบ. 2,661 3,500.52 1.32 2,292 3,802.42 1.66 0 0.00 0.00 อื่นๆ 5,979 4,483.21 0.75 6,072 4,601.57 0.76 8,989 9,897.28 1.10 รวม 45,748 63,861.67 1.4 45,414 67,780.15 1.49 47,258 68,691.06 1.45 สิทธิ์ หมายเหตุ 1. RW เฉลี่ย** หมายถึง
  • 29. 28 ตารางที่ 21 ร้อยละ ค่า RW การให้บริการผูป่วยใน โรงพยาบาลมหาสารคาม ปีงบประมาณ 2552 – 2555 ้ ปีงบประมาณ RW 2552 2553 2554 2555 34.20 32.96 33.38 34.88 RW < 0.5 (15,078) (15,646) (14,968) (15,777) 60.07 60.00 60.26 59.98 0.5<=RW<4.0 (25,929) (27,480) (27,248) (28,479) 5.73 7.04 6.35 5.12 RW>=4.0 (2,215) (2,622) (3,198) (3,002) RW รวม 58,468.51 63,861.67 67,780.15 68,683.12 RW เฉลี่ย 1.35 1.40 1.49 1.45 ตารางที่ 22 ร้อยละการกระจายผูป่วยตามระดับค่า RW โรงพยาบาลมหาสารคาม ปีงบประมาณ 2552–2555 ้ ปีงบประมาณ 2552 ปีงบประมาณ 2553 ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2555 RW จํานวน (ราย) ร้อยละ จํานวน (ราย) ร้อยละ จํานวน (ราย) ร้อยละ จํานวน (ราย) ร้อยละ RW1 23,583 54.56 24,056 52.58 23,025 50.70 22,336 50.00 1<=RW=<2 11,465 26.52 12,065 26.42 12,047 26.53 12,683 28.39 2<RW=<3 4,438 10.27 5,165 11.29 5,318 11.71 4,756 10.65 RW>3 3,742 8.66 4,442 9.71 5,024 11.06 4,897 10.96 รวม 43,227 100 45,748 100 45,414 100 44,672 100 RW รวม 58,468.51 63,861.67 67,780.15 68,683.12 RW เฉลี่ย 1.35 1.4 1.49 1.45 หมายเหตุ 1. ร้อยละ* หมายถึง
  • 30. 29 ตารางที่ 23 ร้อยละของการเพิ่มขึนหรือลดลงของค่า RW จําแนกตามแผนก ปีงบประมาณ ้ 2553 - 2555 แผนก อายุรกรรม ศัลยกรรมทั่วไป สูต-นรีเวชกรรม ิ กุมารเวชกรรม โสต ศอ นาสิก จักษุ ศัลยกรรมกระดูก ทันตกรรม โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2552 (ร้อยละ)* ปีงบประมาณ 2553 (ร้อยละ)* ปีงบประมาณ 2554 (ร้อยละ)* ปีงบประมาณ 2555 (ร้อยละ)* 1.53 5.24 2.15 1.87 4.68 3.92 6.08 1,467.28 6.36 12.09 27.25 2.9 11.79 -6.97 -2.04 -23.78 -36.56 9.3 7.9 0.97 2.25 -5.5 21.84 0.9 49.47 -97.07 6.14 1.00 0.34 3.14 21.19 -14.92 8.67 -91.04 579.91 1.34 หมายเหตุ 1. ร้อยละของการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของค่า RW หมายถึง
  • 31. 30 ตารางที่ 24 ค่าดัชนี CMI ของโรงพยาบาลมหาสารคาม จําแนกตามกลุ่มวินิจฉัยโรคหลัก (MDC) ปีงบประมาณ 2555 กลุ่มวินิจโรคหลัก (Major Diagnostic Category - MDC) Nervous System Eye ENT Respiratory Circulation Digestive System Hepatobiliary Musculoskeleton Skin, Subcutaneous and Breast Endocrine, Metabolism KUB Disorder of male Disorder of female Pregnancy, Childbirth Newborn , perinatal Blood , Immuno Myeloproliferative Infectious Alcohol, druguse Injuries, poison Burns Factor influence health status Multiple significant trauma HIV CMI โรงพยาบาลมหาสารคามปี 2555 RW (เฉลี่ย) 1.97 1.28 0.61 3.21 0.92 1.23 3.86 1.02 1.29 0.90 1.62 1.39 1.53 0.74 0.32 0.54 3.47 0.80 0.54 0.66 0.78 0.29 3.03 1.68 Adj. RW (เฉลี่ย) 1.95 1.27 0.61 3.21 0.92 1.23 3.85 1.02 1.30 0.90 1.61 1.39 1.53 0.74 0.32 0.54 3.45 0.79 0.54 0.66 0.78 0.29 3.02 1.68
  • 32. 31 กลุ่มวินิจโรคหลัก (Major Diagnostic Category - MDC) Unacceptable, Ungroupable รวม CMI โรงพยาบาลมหาสารคามปี 2555 RW (เฉลี่ย) 0.01 1.13 Adj. RW (เฉลี่ย) 0.01 1.12
  • 33. 32 ตารางที่ 25 จํานวนผู้ป่วยที่โรงพยาบาลส่งต่อไปรักษาต่อ จําแนกตามแผนก ปีงบประมาณ 2553-2555 ปีงบประมาณ 2553* จํานวน ร้อยละ ปีงบประมาณ 2554* จํานวน ร้อยละ ปีงบประมาณ 2555* จํานวน ร้อยละ อายุรกรรม 1,958 29.51 2,709 41.52 2,811 44.43 ศัลยกรรม 1,925 29.02 1,263 19.36 1,352 21.37 ศัลยกรรมกระดูก 171 2.58 208 3.19 203 3.21 กุมารเวชกรรม 270 4.07 271 4.15 269 4.25 สูติ - นรีเวชกรรม 821 12.38 646 9.90 643 10.16 จักษุ 201 3.03 228 3.49 190 3.00 โสต ศอ นาสิก 153 2.31 218 3.34 246 3.89 ทันตกรรม 129 1.94 62 0.95 67 1.06 จิตเวช 49 0.74 117 1.79 121 1.91 เวชปฎิบัติทั่วไป 107 1.61 11 0.17 12 0.19 เวชปฎิบัติครอบครัว 84 1.27 - - - ฉุกเฉิน 600 9.04 783 385 6.09 อาชีวคลินิก 52 0.78 - - - อื่นๆ 114 1.72 9 0.14 28 0.44 6,634 100 6,525 100.00 6,327 100 แผนก รวม 12.00 หมายเหตุ 1. ร้อยละ หมายถึง ปีงบประมาณ 2553 มีจํานวนผู้ป่ ปีงบประมาณ 2554 มีจํานวนผู้ป่ ปีงบประมาณ 2555 มีจํานวนผู้ป่ 6,634 ครั้ง 6,525 ครั้ง 6,327 ครั้ง
  • 34. 33 ตารางที่ 26 จํานวนผู้ป่วยที่โรงพยาบาลรับไว้รักษาต่อ จําแนกตามแผนก ปีงบประมาณ 2553-2555 แผนก อายุรกรรม ศัลยกรรม สูติกรรม นรีเวชกรรม กุมารเวชกรรม โสต ศอ นาสิก จักษุ ศัลยกรรมกระดูก จิตเวช ทันตกรรม ฉุกเฉิน เวชปฎิบัติทั่วไป อาชีวคลินิก ศัลยกรรมประสาท รวม หมายเหตุ 1. ร้อยละ หมายถึง ปีงบประมาณ 2553 จํานวน ร้อยละ 10,804 15.48 17,089 24.48 4,405 6.31 6,117 8.76 3,152 4.51 1,836 2.63 5,719 8.19 3,981 5.70 267 0.38 378 0.54 3,498 5.01 12,033 17.24 533 0.76 0.00 69,812 100 ปีงบประมาณ 2554 จํานวน ร้อยละ 12,896 17.67 19,332 26.49 5,374 7.36 4,555 6.24 2,294 3.14 2,190 3.00 8,362 11.46 5,569 7.63 380 0.52 24 0.03 3,610 4.95 8,384 11.49 2 0.00 0.00 72,972 100 ปีงบประมาณ 2555 จํานวน ร้อยละ 13,069 18.00 17,770 24.47 5,298 7.30 4,363 6.01 2,358 3.25 2,036 2.80 7,926 10.92 5,756 7.93 552 0.76 39 0.05 3,387 4.66 9,760 13.44 1 0.00 295 0.41 72,610 100
  • 35. 34 ตารางที่ 27 10 อันดับโรคที่ส่งต่อไปรักษาต่อ ปีงบประมาณ 2553-2555 ลําดับ โรค 1 E11 Non-insulin-dependent diabetes mellitus I21 Acute myocardial infarction C22 Malignant neoplasm of liver and intrahepatic bile ducts E05 Thyrotoxicosis [hyperthyroidism] I10 Essential (primary) hypertension I05 Rheumatic mitral valve diseases C53 Malignant neoplasm of cervix uteri C50 Malignant neoplasm of breast I25 Chronic ischaemic heart disease C34 Malignant neoplasm of bronchus and lung หมายเหตุ 1. ร้อยละ หมายถึง 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ปีงบประมาณ 2553 จํานวน ร้อยละ ปีงบประมาณ 2554 จํานวน ร้อยละ ปีงบประมาณ 2555 จํานวน ร้อยละ 135 2.03 146 2.24 179 2.83 103 1.55 122 1.87 135 2.13 142 2.14 158 2.42 132 2.09 60 0.90 87 1.33 118 1.87 60 0.90 67 1.03 114 1.80 112 1.69 126 1.93 112 1.77 109 1.64 94 1.44 99 1.56 82 1.24 98 1.50 99 1.56 78 1.18 90 1.38 97 1.53 64 0.96 78 1.20 88 1.39 - ปีงบประมาณ 2553 มีการส่งต่อ 6,634 ครั้ง - ปีงบประมาณ 2554 มีการส่งต่อ 6,525 ครั้ง - ปีงบประมาณ 2555 มีการส่งต่อ 6,327 ครั้ง
  • 36. 35 ตารางที่ 28 จํานวนผู้ป่วยรับไว้รักษาต่อ จําแนกตามโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2553-2555 ปงบประมาณ ลําดับ โรค 1 N20 Calculus of kidney and ureter Non-insulin-dependent E11 diabetes mellitus N40 Hyperplasia of prostate H25 Senile cataract C50 Malignant neoplasm of breast Essential (primary) I10 hypertension N18 Chronic renal failure H40 Glaucoma K30 Dyspepsia K80 Cholelithiasis 2 3 4 5 6 7 8 9 10 2553 จํานวน รอยละ 2,269 3.40 ปงบประมาณ 2554 จํานวน รอยละ 2,343 3.21 ปงบประมาณ 2555 จํานวน รอยละ 2,088 2.84 706 1,633 812 747 1.06 2.45 1.22 1.12 1,033 1,631 891 706 1.42 2.24 1.22 0.97 1,043 1,035 919 779 1.42 1.41 1.25 1.06 592 1,425 1,039 562 398 0.89 2.13 1.56 0.84 0.60 807 888 822 611 550 1.11 1.22 1.13 0.84 0.75 758 739 698 666 505 1.03 1.01 0.95 0.91 0.69 หมายเหตุ 1. ร้อยละ หมายถึง - ปีงบประมาณ 2553 มีการส่งต่อ 69,812 ครั้ง - ปีงบประมาณ 2554 มีการส่งต่อ 72,972 ครั้ง - ปีงบประมาณ 2555 มีการส่งต่อ 73,431 ครั้ง
  • 37. 36 ตารางที่ 29 ภาพรวมการให้บริการ โรงพยาบาลมหาสารคาม ปีงบประมาณ 2553-2555 รายการ - จํานวนผู้ป่วยนอกที่มารับบริการ(จํานวนครั้ง) - เฉลี่ยจํานวนผู้ป่วยนอกที่มารับบริการต่อวัน* - เฉลี่ยจํานวนผู้ป่วยในที่ให้บริการต่อวัน** - ร้อยละของผูป่วยในต่อผู้ป่วยนอก ้ - จํานวนผู้ป่วยที่รับไว้รักษาต่อ - จํานวนผู้ป่วยที่ส่งไปรักษาต่อ - สัดส่วนการรับไว้รักษาต่อ ต่อการส่งไปรักษาต่อ - สัดส่วนการรับไว้รักษาต่อ ต่อผู้ป่วยนอก - สัดส่วนการส่งไปรักษาต่อ ต่อผู้ป่วยนอก - จํานวนการผ่าตัดใหญ่ทั้งหมด - ร้อยละการผ่าตัดใหญ่ต่อผู้ป่วยใน - จํานวนผู้ป่วยในที่เสียชีวิต - ร้อยละการตายของผู้ป่วยใน ในโรงพยาบาล - จํานวนวันนอนทั้งหมดของผู้ป่วยใน - จํานวนเตียงผู้ป่วยที่ขออนุมัติตามกรอบ - จํานวนเตียงผู้ป่วยที่บริการจริง - อัตราการครองเตียงตามกรอบ - อัตราการครองเตียงตามที่บริการจริง - จํานวนวันนอนของผู้ป่วยในเฉลี่ย (คนต่อวัน) - จํานวนผู้ป่วยนอกที่เสียชีวิต(ห้องอุบัติเหตุฉุกเฉิน) หมายเหตุ 1. เฉลี่ยจํานวนผู้ป่วยนอกที่มารับบริการต่อวัน** = 2. เฉลี่ยจํานวนผู้ป่วยในที่มารับบริการต่อวัน** = 2553 467,582 1,281 467 9.78 66,784 6,587 10.14 0.14 0.01 13,981 30.56 680 1.49 170,357 472 542 98.88 86.11 3.72 62 ปีงบประมาณ 2554 488,872 1,339 479 9.29 72,905 6,525 11.17 0.15 0.01 14,235 31.34 792 1.74 174,763 472 542 101.44 88.34 3.85 68 2555 506,608 1,388 501 9.32 73,431 6,327 11.49 0.14 0.01 15,161 32.11 917 1.94 183,024 472 542 106.24 92.52 3.87 80
  • 38. 37 ตารางที่ 30 ผลผลิตงานรักษา โรงพยาบาลมหาสารคาม ปีงบประมาณ 2546-2555 ปี OP Visit IP Case LOS RW ผลผลิตผู้ป่วยนอก ผลผลิตผู้ป่วยใน ผลผลิตรวม 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 335,988 364,164 338,047 372,621 383,457 422,446 452,142 467,582 488,872 506,608 34,405 29,212 35,088 33,365 36,548 40,468 43,227 45,748 45,414 47,258 0.87 0.93 1.04 1.07 1.16 1.36 1.35 1.40 1.49 1.45 16,463,412 17,844,036 16,564,303 18,258,429 18,789,393 20,699,854 22,154,958 22,911,518 23,954,728 24,823,792 704,152.55 663,894.76 834,404.15 752,967.44 892,026.31 1,068,703.87 1,124,295.37 1,207,955.81 1,320,823.27 1344504.51 17,167,564.55 18,507,930.76 17,398,707.15 19,011,396.44 19,681,419.31 21,768,557.87 23,279,253.37 24,119,473.81 25,275,551.27 26,168,296.51 4.64 4.82 4.51 4.16 4.15 3.83 3.80 3.72 3.85 3.87 หมายเหตุ 1. ผลผลิตผู้ป่วยนอก (Weighted OP Visit ) = OP Visit * (1 + X% ) OP Visit หมายถึงจํานวนครั้งของผู้ป่วยนอกที่มารับบริการ X% หมายถึง เปอร์เซ็นต์ความต้องการแพทย์เฉพาะทาง 2. ผลผลิตงานรักษาผู้ป่วยใน ( Weighted IP Case ) = IP Case * RW * los * Unit Cost Ratio Unit Cost Ratio โรงพยาบาลทั่วไป = 5.07 ผลผลิตรวม = ผลผลิตผู้ป่วยนอก + ผลผลิตผู้ป่วยใน
  • 39. 38 ตารางที่ 31 ผลผลิตงานรักษา ของโรงพยาบาลมหาสารคาม จําแนกตามแผนก ปีงบประมาณ 2555 แผนก อายุรกรรม ศัลยกรรม ศัลยกรรมกระดูก กุมารเวชกรรม สูต-นรีเวชกรรม ิ จักษุวิทยา หู คอ จมูก อื่นๆ (ทันตกรรม, จิตเวช,อื่นๆ) รวม X% 28.6 16.1 46.1 4 29.1 74.2 94.5 OP Visit IP CASE 137,386 13,599 47,625 12,408 21,610 4,402 21,735 8,112 30,982 6,384 18,621 2,051 8,983 272 59 219,666 30 48 506,608 47,258 LOS 4.04 4.38 4.05 3.7 2.95 2.95 3.22 RW ผลผลิตผู้ป่วยนอก ผลผลิตผู้ป่วยใน 1.64 4,066,625.60 456,814.78 2.09 814,387.50 575,877.54 1.45 1,017,831.00 131,063.28 0.66 108,675.00 100,434.19 0.89 932,558.20 84,979.24 1.35 1,400,299.20 41,412.31 1.02 857,876.50 4,529.32 ผลผลิตรวม 4,523,440.38 1,390,265.04 1,148,894.28 209,109.19 1,017,537.44 1,441,711.51 862,405.82 3.5 1.04 13,179,960.00 553.64 13,180,513.64 3.87 1.45 22,378,213.00 1,395,664.29 23,773,877.29 หมายเหตุ 1. ผลผลิตผู้ป่วยนอก (Weighted OP Visit ) = OP Visit * (1 + X% ) OP Visit หมายถึงจํานวนครั้งของผู้ป่วยนอกที่มารับบริการ X% หมายถึง เปอร์เซ็นต์ความต้องการแพทย์เฉพาะทาง 2. ผลผลิตงานรักษาผู้ป่วยใน ( Weighted IP Case ) = IP Case * RW * los * Unit Cost Ratio Unit Cost Ratio โรงพยาบาลทั่วไป = 5.07 ผลผลิตรวม = ผลผลิตผู้ป่วยนอก + ผลผลิตผู้ป่วยใน
  • 40. 39 ส่วนที่ 5 เปรียบเทียบข้อมูลบริการสุขภาพ (ระบบรายงาน 0110 รง.5) 5.1 มิติด้านประสิทธิผล ตารางที่ 1 ประมาณการอัตราการใช้บริการผูป่วยนอก 1 ปี (อัตราการเข้าถึงผู้ป่วยนอก) ้ ทั้งประเทศ โรงพยาบาลศูนย์ รพท. >300 เตียง ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม 2552 2.24 1.72 2.05 1.97 2553 2.47 1.79 2.16 2.08 2554 2.81 1.79 2.11 2.12 2555 2.62 1.84 2.18 2.17 ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากตารางที่ 1 แสดงให้เห็นว่าประชาชนมีความสะดวกสามารถเข้าการบริการผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาล มหาสารคามได้ดีกว่าโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง ตารางที่ 2 ประมาณการอัตราการใช้บริการผูป่วยนอก สิทธิ UC 1 ปี (อัตราการเข้าถึงผู้ป่วยนอก) ้ ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม ทั้งประเทศ โรงพยาบาลศูนย์ รพท. >300 เตียง 2552 1.18 1.45 1.26 1.25 2553 1.13 1.52 1.38 1.34 2554 1.16 1.52 1.36 1.39 2555 1.26 1.58 1.42 1.43 ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากตารางที่ 2 แสดงให้เห็นว่าประชาชนมีความสะดวกสามารถเข้าการบริการผู้ป่วยนอก (สิทธิ์ UC) ของ โรงพยาบาลมหาสารคามได้น้อยกว่าโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง
  • 41. 40 ตารางที่ 3 ประมาณการอัตราการใช้บริการผูป่วยใน 1 ปี (อัตราการเข้าถึงผูป่วยใน) ้ ้ ทั้งประเทศ โรงพยาบาลศูนย์ รพท. >300 เตียง ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม 2552 0.18 0.09 0.12 0.13 2553 0.17 0.09 0.12 0.14 2554 0.17 0.09 0.12 0.14 2555 0.18 0.09 0.12 0.15 ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากตารางที่ 3 แสดงให้เห็นว่าประชาชนมีความสะดวกสามารถเข้าการบริการผู้ป่วยในของโรงพยาบาล มหาสารคามได้ดีกว่าโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง ตารางที่ 4 ประมาณการอัตราการใช้บริการผูป่วยใน สิทธิ UC 1 ปี (อัตราการเข้าถึงผู้ป่วยใน) ้ ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม ทั้งประเทศ โรงพยาบาลศูนย์ รพท. >300 เตียง 2552 0.07 0.08 0.08 0.10 2553 0.07 0.08 0.09 0.10 2554 0.07 0.08 0.09 0.11 2555 0.08 0.08 0.08 0.12 ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากตารางที่ 4 แสดงให้เห็นว่าประชาชนมีความสะดวกสามารถเข้าการบริการผู้ป่วยใน (สิทธิ์ UC) ของ โรงพยาบาลมหาสารคามได้เทียบเท่ากับโรงพยาบาลศูนย์แต่น้อยกว่าโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง
  • 42. 41 5.2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ 5.2.1 ด้านผูป่วยและลูกค้า ้ ตารางที่ 5 อัตราตายผู้ป่วยในอย่างหยาบ (:1,000) (Crude Death Rate) ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม ทั้งประเทศ โรงพยาบาลศูนย์ รพท.>300 เตียง 2552 2553 2554 2555 16.74 13.36 17.59 19.14 21.38 18.10 24.54 18.14 36.51 37.48 37.99 38.39 29.25 30.17 30.26 30.85 ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากตารางที่ 5 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีศักยภาพในการรักษาพยาบาล ส่งผลให้อัตราการตายอย่าง หยาบของผู้ป่วยในโรงพยาบาลมหาสารคามต่ํากว่าโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง ตารางที่ 6 อัตราตายของมารดา (:100,000) (Maternal Mortality Rate) ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม ทั้งประเทศ โรงพยาบาลศูนย์ 2552 0.00 16.27 32.49 2553 0.00 13.98 30.85 2554 58.39 14.41 27.87 2555 47.78 17.79 37.10 รพท. >300 เตียง 17.32 16.14 20.58 22.86 ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากตารางที่ 6 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีอัตราการตายของมารดาสูงกว่าของโรงพยาบาลศูนย์และ โรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง ซึ่งอาจเป็นผลมาจากคุณภาพการดูแลหญิงตั้งครรภฺ และการให้บริการในระยะก่อน คลอด ขณะคลอด และหลังคลอด
  • 43. 42 ตารางที่ 7 อัตราตายทารกต่ํากว่า 7 วัน (:1,000) หรืออัตราตายทารกแรกเกิดระยะต้น (Early Neonatal Mortality Rate) ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม ทั้งประเทศ โรงพยาบาลศูนย์ รพท. >300 เตียง 2552 1.09 3.00 5.88 4.61 2553 8.41 2.96 6.16 4.56 2554 2.34 3.00 6.37 4.21 2555 11.47 2.93 6.21 4.51 ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากตารางที่ 7 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีอัตราการตายของทารกต่ํากว่า 7 วันของโรงพยาบาล มหาสารคามสูงกว่าของโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง ตารางที่ 8 อัตราตายคลอด (:1,000) (Stillbirth Rate) ทั้งประเทศ โรงพยาบาลศูนย์ ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม 2552 4.08 4.78 6.6 2553 6.27 4.63 5.73 2554 5.81 5.22 6.17 2555 0.00 4.3 6.55 รพท. >300 เตียง 6.44 5.63 6.50 6.31 ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากตารางที่ 8 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีศักยภาพสูงในการรักษาพยาบาล ส่งผลให้อัตราการ คลอดตายของผู้ป่วยในของโรงพยาบาลมหาสารคามต่ํากว่าของโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง
  • 44. 43 ตารางที่ 9 อัตราการแท้ง (:1,000) ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม 2552 2.22 2553 0.64 2554 1.00 2555 87.5 ทั้งประเทศ 44.33 42.45 53.71 47.38 โรงพยาบาลศูนย์ 116.72 116.3 115.47 98.6 รพท. >300 เตียง 77.11 79.21 68.48 52.18 ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากตารางที่ 9 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีอัตราการแท้งต่ํากว่าของโรงพยาบาลศูนย์ แต่สูงกว่า โรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง ตารางที่ 10 ร้อยละของทารกคลอดผิดปกติ ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม ทั้งประเทศ 2552 54.53 29.74 2553 56.9 33.82 2554 51.97 31.99 2555 0.00 31.53 โรงพยาบาลศูนย์ 46.38 46.84 49.27 46.92 รพท. >300 เตียง 43.61 42.47 48.79 47.84 ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากตารางที่ 10 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีศักยภาพสูงในการรักษาพยาบาล ส่งผลให้ร้อยละของการร คลอดทารกผิดปกติต่ํากว่าของโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง
  • 45. 44 ตารางที่ 11 สัดส่วน Refer in ต่อผู้ป่วยนอก ทั้งประเทศ ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม 2552 0.12 0.02 2553 0.14 0.02 2554 0.13 0.02 2555 0.14 0.02 โรงพยาบาลศูนย์ 0.08 0.08 0.09 0.09 รพท. >300 เตียง 0.06 0.06 0.06 0.06 ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากตารางที่ 11 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีสัดส่วนการรับผู้ป่วยไว้รักษากับจํานวนผู้ป่วย นอกทั้งหมดของโรงพยาบาลสูงกว่าของ โรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง ตารางที่ 12 สัดส่วน Refer out ต่อผู้ป่วยนอก ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม ทั้งประเทศ 2552 0.02 0.02 2553 0.01 0.02 2554 0.01 0.02 2555 0.01 0.03 โรงพยาบาลศูนย์ 0.01 0.01 0.01 0.01 รพท. >300 เตียง 0.01 0.01 0.01 0.01 ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากตารางที่ 12 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีสัดส่วนการส่งผู้ป่วยนอกไปรักษาต่ํากว่าของ โรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง ซึ่งบ่งชี้ถึงการมีศักยภาพในการรักษาพยาบาลสูง
  • 46. 45 ตารางที่ 13 สัดส่วน Refer in ต่อ Refer out ทั้งประเทศ ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม 2552 7.87 0.92 2553 10.69 0.93 2554 12.31 0.96 2555 13.01 0.95 โรงพยาบาลศูนย์ 11.73 12.61 12.44 10.21 รพท. >300 เตียง 4.80 4.65 4.66 5.11 ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากตารางที่ 13 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีสัดส่วนการรับผู้ป่วยไว้รักษาต่อการส่งผู้ป่วยไป รักษาสูงกว่าของโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง ชี้ให้เห็นว่าโรงพยาบาล มหาสารคามมีลักษณะเป็นหน่วยรับผู้ป่วยไว้รักษาต่อ ตารางที่ 14 อัตราส่วนการข้ามเขตสุทธิ (Net Flow Ratio) ทั้งประเทศ โรงพยาบาลศูนย์ ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม 2552 18.97 2.85 0.52 2553 13.84 3.00 0.51 2554 14.90 2.23 0.52 2555 8.74 1.66 0.53 รพท. >300 เตียง 2.77 4.02 1.51 0.85 ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากตารางที่ 14 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีอัตราส่วนการข้ามเขตสุทธิ (มีการส่งต่อไป รักษาต่อนอกจังหวัด) สูงกว่าโรงพยาบาลทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง ซึ่งจะส่งผลให้โรงพยาบาลมหาสารคาม จะต้องมีรายจ่ายค่ารักษา(ตามจ่าย)สูงขึ้น
  • 47. 46 5.3 มิติด้านประสิทธิภาพของ การปฏิบติราชการ ั 5.3.1 ด้านคลินิก ตารางที่ 15 ประมาณการอัตราวันนอนผูป่วยใน 1 ปี (อัตราการครองเตียง) ้ ทั้งประเทศ โรงพยาบาลศูนย์ ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม 2552 96.69 87.96 98.18 2553 100.39 90.52 99.67 2554 100.51 88.09 100.78 2555 106.24 90.50 100.28 รพท. >300 เตียง 87.67 93.15 90.67 93.45 ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากตารางที่ 15 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีอัตราการครองเตียงสูงกว่าโรงพยาบาลศูนย์ และทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง ซึ่งจัดมีการใช้เตียงอย่างเหมาะสม (ค่า>120 หมายถึงผู้ป่วยมีเตียงไม่พอ แออัด ค่า 80-100 หมายถึง เหมาะสม ค่า< 80 หมายถึง ใช้เตียงไม่คุ้มค่า ต้องปรับระบบให้บริการ) ตารางที่ 16 สัดส่วนการรักษาผู้ป่วยนอกสิทธิ UC นอกเครื่อข่ายต่อในเครือข่าย ทั้งประเทศ โรงพยาบาลศูนย์ รพท. >300 เตียง ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม 2552 0.62 0.14 0.63 0.34 2553 0.76 0.14 0.63 0.36 2554 0.83 0.15 0.67 0.39 2555 0.80 0.16 0.69 0.44 ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากตารางที่ 16 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีสัดส่วนการรักษาผู้ป่วยนอกสิทธิ UC สูงกว่า โรงพยาบาลศูนย์และทั่วไปขนาดมากกว่า 300 ซึ่งเป็นการเพิ่มภาระงานของเจ้าหน้าที่ในการดูแลผุป่วยนอก้ครือ ้ ข่าย
  • 48. 47 ตารางที่ 17 ประมาณการอัตราการใช้เตียง 1 ปี ทั้งประเทศ ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม 2552 91.60 83.20 2553 96.87 85.40 2554 94.65 81.77 2555 100.09 84.25 โรงพยาบาลศูนย์ 72.22 74.37 73.98 73.78 รพท. >300 เตียง 70.55 74.06 72.05 74.01 ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากตารางที่ 17 พบว่า อัตราการใช้เตียงของโรงพยาบาลมหาสารคามสูงกว่าโรงพยาบาลศูนย์และทั่วไป ขนาดมากกว่า 300 เตียง แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีการใช้เตียงมากมีการหมุนเวียนเตียงเร็ว ตารางที่ 18 วันนอนเฉลี่ยผูป่วยใน (Length of Stay) ้ ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม ทั้งประเทศ โรงพยาบาลศูนย์ 2552 3.85 3.86 4.96 2553 3.78 3.87 4.89 2554 3.88 3.93 4.97 2555 3.87 3.92 4.96 รพท. >300 เตียง 4.54 4.59 4.59 4.61 ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากตารางที่ 18 แสดงให้เห็นว่า โรงพยาบาลมหาสารคามมีวันนอนเฉลียผู้ป่วยในต่ํากว่าโรงพยาบาลศูนย์ ่ และทั่วไปขนาดมากกว่า 300 เตียง ซึงบ่งชี้ถึงการมีคุณภาพและประสิทธภาพการดูแลผู้ป่วยที่ดี
  • 49. 48 ตารางที่ 19 อัตราผูป่วยใน ต่อ ผู้ป่วยนอก ้ ทั้งประเทศ ปีงบประมาณ รพ.มหาสารคาม 2552 9.56 5.88 2553 9.82 5.74 2554 8.45 5.58 2555 9.33 5.42 โรงพยาบาลศูนย์ 8.74 8.40 8.46 8.09 รพท. >300 เตียง 8.66 8.46 7.98 7.91 ที่มา : โปรแกรมระบบรายงาน 0110 รง.5 สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากตารางที่ 19 พบว่าโรงพยาบาลมหาสารคามมีอัตราผูป่วยในต่อผู้ป่วยนอกสูงกว่าโรงพยาบาลศูนย์ และ ้ โรงพยาบาลทั่วไป ขนาดมากกว่า 300 เตียง
  • 50. 49 สวนที่ 6 เปรียบเทียบขอมูลงานบริการสุขภาพรายบุคคล ตารางที่ 1 คาน้ําหนักสัมพัทธเฉลี่ย (Average RW) ของโรงพยาบาลทั่วไป ปงบประมาณ 2554 อันดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 21 42 59 69 โรงพยาบาล รพท.นครพิงค รพท.สกลนคร รพท.พิจิตร รพท.นาน รพท.รอยเอ็ด รพท.ศรีสะเกษ รพท.พระนารายณมหาราช รพท.พระนั่งเกลา รพท.หัวหิน รพท.หนองคาย รพท.มหาสารคาม รพท.แพร รพท.เลย รพท.กาฬสินธุ รพท.ยโสธร รพท.ตราด รพท.สิรินธร(ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ) RW รวม ผูปวยใน (ราย) RWเฉลี่ย 63,569 68,303 40,728 52,220 79,039 66,572 33,984 45,034 18,876 33,138 58,834 46,815 47,556 48,145 35,161 17,901 32,884 37,821 23,469 31,158 48,182 40,902 21,011 28,745 12,097 21,829 38,659 30,846 32,102 33,867 27,610 16,519 1.93 1.81 1.74 1.68 1.64 1.63 1.62 1.57 1.56 1.52 1.52 1.52 1.48 1.42 1.27 1.08 2,329 3,358 0.69 ที่มา : โปรแกรมดัชนีชี้วัดขอมูลงานบริการสุขภาพรายบุคคล สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากตารางที่ 1 คาน้ําหนักสัมพัทธเฉลี่ย (Average Rw) ของโรงพยาบาลทั่วไป ปงบประมาณ 2554 พบวา โรงพยาบาลมหาสารคามมีคา RW รวม เทากับ 58,834 หนวย มีผูปวยใน 38,659 ราย มีคาน้ําหนักสัมพัทธเฉลี่ย (RW) เทากับ 1.52 ซึ่งสูงเปนอันดับที่ 11 ของโรงพยาบาลทั่วไปทุกระดับจากทั้งหมด 69 อันดับ