SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
1



            รายงาน
 เรื่ อง อาชญากรรมคอมพิวเตอร์



           จัดทาโดย

 นางสาวเบญจวรรณ รัตนะรัต

       ชั้นม.6/3 เลขที่ 24



             เสนอ

    อาจารย์ จุฑารัตน์ ใจบุญ



โรงเรี ยนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
2


                                คานา

รายงานเล่มนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดทาขึ้นได้
ให้เยาวชนรุ่ นหลังที่สนใจได้นาไปใช้เป็ นสื่ อการเรี ยนการสอน หากรายงาน
เล่มนี้มีขอผิดพลาดประการใดต้องขออภัยไว้ ณ ที่น้ ี ดวย
          ้                                        ้

                                                    จัดทาโดย

                                          นางสาว เบญจวรรณ รัตนะรัต
3


                        สารบัญ

เรื่ อง                              หน้า

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์                  4

ลักษณะของอาชญากรทางคอมพิวเตอร์       8

แนวโน้มอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์       11

ประเภทอาชญากรรมด้วยคอมพิวเตอร์       12
4


                                อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ มีผให้ความหมายไว้ 2 ประการ ได้แก่
                           ู้

          1. การกระทาใด ๆ ก็ตาม ที่เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อันทาให้เหยือได้รับความ
                                                                          ่
เสี ยหาย และทาให้ผกระทาได้รับผลตอบแทน
                  ู้

       2. การกระทาผิดกฎหมายใด ๆ ซึ่งจะต้องใช้ความรู ้เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ มา
ประกอบการกระผิด และต้องใช้ผมีความรู ้ทางคอมพิวเตอร์ ในการสื บสวน ติดตาม รวบรวม
                           ู้
หลักฐาน เพื่อการดาเนินคดี จับกุม

อาชญากรทางคอมพิวเตอร์ ถ้าจะแปลให้เข้าใจง่ายๆ ก็คือผูกระทาผิดกฎหมายโดยใช้เทคโนโลยี
                                                    ้
คอมพิวเตอร์เป็ นส่ วนสาคัญ เป็ นการกระทาใดๆ ที่เกี่ยวกับการใช้การเข้าถึงข้อมูล โดยที่
ผูกระทาไม่ได้รับอนุญาต การลักลอบแก้ไข ทาลาย คัดลอกข้อมูล ทาให้คอมพิวเตอร์ทางาน
  ้
ผิดพลาด แม้ไม่ถึงกับเป็ นการกระทาที่ผดกฎหมาย แต่เป็ นการกระทาที่ผดระเบียบกฎเกณฑ์
                                     ิ                           ิ
จรรยาบรรณของการใช้คอมพิวเตอร์น้ นๆ
                                ั

                               ั
ความสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กบอาชญากรรม

จากการที่คอมพิวเตอร์มีคุณประโยชน์นานับประการ จึงมีผนาเทคโนโลยีเหล่านั้น มาเป็ น
                                                   ู้
ช่องทาง หรื อเป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในการกระทาความผิด ซึ่งลักษณะหรื อรู ปแบบของ
                               ั
ความสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กบอาชญากรรม พอสรุ ปได้ดงนี้
                                                     ั

          1. คอมพิวเตอร์เป็ นเป้ าหมายในการก่ออาชญากรรม (Computer as Crime “Targets”)
เช่น การลักทรัพย์เครื่ องคอมพิวเตอร์ หรื อ ชิ้นส่ วนของเครื่ องคอมพิวเตอร์ (ชิป หรื อ
ส่ วนประกอบต่างๆ) โดยเฉพาะที่มีขนาดเล็ก แต่มีราคาแพง

          2. คอมพิวเตอร์ เป็ นเครื่ องอานวยความสะดวก ในการก่ออาชญากรรมในรู ปแบบ
5


”ดั้ งเดิม” (Facilitation of “Traditional” Crimes) เช่น ใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ในการเก็บข้อมูล
ลูกค้ายาเสพติด หรื อ ในกรณี UNABOMBER ซึ่งอาชญากรใช้คอมพิวเตอร์ในการกาหนดตัว
เหยือ จาก On-line Address แล้วส่ งระเบิดแสวงเครื่ องไปทางไปรษณี ย ์ โดยวัตถุประสงค์เพื่อ
    ่
สังหารบุคคลที่ชอบเทคโนโลยีช้ นสู ง
                             ั

          3. อาชญากรรมที่เกิดกับคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ (Computer-unique Crime) เช่น การ
สร้างให้ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Computer Virus) แพร่ ระบาดไปในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์โดย
มีเจตนาที่จะสร้างความเสี ยหาย ,Nuke, การลักลอบเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ (Hacking
/Cracking) , การละเมิดทรัพย์สินทางปั ญญาที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (Violation of Computer
Intellectual Properties)

          4.คอมพิวเตอร์เป็ นเครื่ องมือในการประกอบอาชญากรรม(Computeras
“Instrumentality” of Crimes) เช่น การใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ในการโอนเงินจากบัญชีธนาคาร
จากบัญชีหนึ่งไปเข้าอีกบัญชีหนึ่ง โดยมีเจตนาทุจริ ต ,ใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ในการเป็ นเจ้ามือรับ
พนันเอาทรัพย์สิน,หรื อ ใช้คอมพิวเตอร์ในการเผยแพร่ เอกสาร สิ่ งพิมพ์ รู ปภาพ หรื อ โฆษณา
วัตถุ ลามก อนาจาร ผิดกฎหมาย



อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ถูกละเลย

    สาเหตุบางประการที่ทาให้อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ถกละเลย ไม่ได้รับความสนใจ
                                                   ู

1.อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์โดยธรรมชาติจะมีความไม่เป็ นส่ วนตัว (Impersonal) จึงไม่มี
ผลกระทบต่อจิตใจและความรู ้สึก (Emotion) ของประชาชนโดยทัวไป และถูกมองข้ามไป
                                                       ่

2.อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ เช่น การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา (Theft of Intellectual
Property), การโอนเงินโดยผิดกฎหมาย (Unlawful Transfer of Money), การฉ้อโกงด้านการ
6


สื่ อสาร (Telecommunication Fraud) มีความแตกต่างกับอาชญากรรมแบบดั้งเดิม ที่เจ้าหน้าที่
ตารวจมีความคุนเคยและเข้าใจเป็ นอย่างดี เช่นการลักทรัพย์, ทาร้ายร่ างกาย อย่างสิ้ นเชิง
             ้

3.เจ้าหน้าที่ตารวจมักจะมองไม่เห็นว่าอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์น้ ี เป็ นปั ญหาที่กระทบต่อ
ประสิ ทธิภาพการปฏิบติงานของตน จึงไม่ให้ความสนใจ
                   ั

4. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์แตกต่างจากอาชญากรรมรุ นแรง (Violent Crime) จุดความ รู ้สึก
ให้เกิดอารมณ์ ( Emotion )ในหมู่ชน จึงทาให้เจ้าหน้าที่ผรับผิดชอบมีความจาเป็ นที่จะต้องทุ่มเท
                                                      ู้
สรรพกาลังไปในการแก้ไขปัญหา อาชญากรรมในรู ปแบบทัวไป
                                               ่

5.อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ มีความเกี่ยวพันอย่างยิงกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ ซึ่งจะทาให้
                                                ่
บุคคลที่ไม่มีความรู ้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง เกิดความไม่กล้า (Intimidated) ในการที่จะเข้า
ไปยุงเกี่ยวข้องด้วย
    ่

6.บุคคลโดยส่ วนมากจะมองอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในลักษณะ “มิติเดี่ยว”
(Unidimensionally) ในลักษณะสภาวะของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็ นครั้งๆ ไป โดยปราศจากการ
มองให้ลึกซึ้งถึง ผลกระทบ ความรุ นแรง การแพร่ กระจาย และปริ มาณของความเสี ยหายที่
เกิดขึ้น ในการก่ออาชญากรรมแต่ละครั้งนั้น

7.เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง และ ประสิ ทธิภาพในการใช้เทคโนโลยีของอาชญากร มีการพัฒนาที่
รวดเร็ว ทาให้ยากต่อการเรี ยนรู ้ถึงความเปลี่ยนแปลง ในวงการของอาชญากรรมประเภทนี้

                                                                         ั
8.ผูเ้ สี ยหาย กลับจะตกเป็ นผูที่ถูกประนามว่า เป็ นผูเ้ ปิ ดช่องโอกาสให้กบอาชญากรในการกระทา
                              ้
                                       ่
ผิดกฎหมาย เช่น ผูเ้ สี ยหายมักถูกตาหนิวาไม่มีการวางระบบการรักษาความปลอดภัยที่เหมาะสม
กับโครงข่ายงานคอมพิวเตอร์ บางครั้งจึงมักไม่กล้าเปิ ดเผยว่า ระบบของตนถูกบุกรุ กทาลาย

9.ทรัพย์สินทางปัญญาโดยทัวไปจะไม่สามารถประเมินราคาความเสี ยหายได้อย่างแน่ชด จึงทา
                        ่                                                ั
ให้คนทัวไปไม่รู้สึกถึงความรุ นแรงของอาชญากรรมประเภทนี้
       ่
7


10.พนักงานเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องอาจไม่มีความรู ้ ความชานาญ หรื อ ความสามารถพอเพียงที่จะ
                ั
สอบสวนดาเนินคดีกบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ

11.บุคคลทัวไปมักมองเห็นว่า อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์น้ ี ไม่ได้เกิดขึ้นบ่อยครั้ง จึงไม่ควร
          ่
ค่าต่อการให้ความสนใจ

12.เจ้าหน้าที่มกใช้ความรู ้ความเข้าใจในอาชญากรรมแบบดั้งเดิมนา มาใช้ในการ สื บสวน
               ั
สอบสวนคดีอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็ นเหตุให้อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ครบ
องค์ประกอบความผิดตามอาชญากรรมแบบดั้งเดิม และถูกมองข้ามไปโดยไม่พบการกระทาผิด

13.เจ้าหน้าที่ตารวจโดยทัวไปไม่มีการเตรี ยมการเพื่อรองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อย่าง
                        ่
จริ งจัง

14.ในปัจจุบนนี้ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ไม่ใช่อาชญากรรมที่มีผลกระทบต่อความมันคง
           ั                                                                ่
ทางการเมือง เมื่อเทียบกับอาชญากรรมที่เกี่ยวกับทรัพย์ หรื อ ชีวตร่ างกาย ซึ่งทาให้ประชาชน
                                                              ิ
เกิดความรู ้สึกไม่ปลอดภัยในชีวตและทรัพย์สิน
                              ิ
8


                        ลักษณะของอาชญากรทางคอมพิวเตอร์

สามารถจาแนกได้ดงนี้
               ั

1.พวกหัดใหม่ (Novice) เป็ นพวกที่เพิ่มเริ่ มเข้าสู่ วงการ, หัดใช้คอมพิวเตอร์ หรื อ อาจเป็ นพวกที่
เพิ่งเข้าสู่ ตาแหน่งที่มีอานาจหรื อเพิ่งได้รับความไว้วางใจให้เข้าสู่ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์

2.พวกจิตวิปริ ต (Deranged Person) มักเป็ นพวกที่มีจิตใจวิปริ ต ผิดปกติ มีลกษณะเป็ นพวกที่
                                                                          ั
                                                     ่
ชอบความรุ นแรง และอันตราย มักจะเป็ นผูที่ชอบทาลายไม่วาจะเป็ นการทาลายสิ่ งของ หรื อ
                                      ้
บุคคล เช่น พวก UNA Bomber เป็ นต้น แต่เนื่องจากจานวนอาชญากรประเภทนี้มีไม่มากนัก
จึงทาให้ผรักษากฎหมายไม่ได้ให้ความสนใจ
         ู้

3.เป็ นกลุ่มที่ประกอบอาชญากรรมในลักษณะองค์กร (Organized Crime) องค์กรอาชญากรรม
จะใช้คอมพิวเตอร์ในลักษณะที่แตกต่างกัน โดยส่ วนหนึ่งอาจใช้เป็ นเครื่ องมือในการหาข่าวสาร
เช่นเดียวกับองค์กรธุ รกิจทัวไป หรื ออาจจะใช้เทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์น้ ีเป็ นตัวประกอบ
                           ่
สาคัญในการก่ออาชญากรรม หรื ออาจใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์น้ ีในการที่ทาให้เจ้าหน้าที่ตาม
ไม่ทนอาชญากรรมที่ตนก่อขึ้น
    ั

4.พวกมืออาชีพ (Career Criminal) เป็ นกลุ่มอาชญากรคอมพิวเตอร์ที่ทวีจานวนมากขึ้นเรื่ อยๆ
เป็ นผูท่ีก่ออาชญากรรมที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์น้ ีครั้งแล้วครั้งเล่า โดยอาชญากรประเภทนี้
       ้
อาจจะเคยถูกจับกุมในความผิดประเภทนี้มาก่อนแล้ว เป็ นพวกที่กระทาผิดโดยสันดาน

5.พวกหัวพัฒนา (Con Artist) เป็ นพวกที่ชอบใช้ความก้าวหน้าทางคอมพิวเตอร์ให้ได้มาเพื่อ
ผลประโยชน์ มาสู่ ตน อาชญากรประเภทนี้จะใช้ความรู ้ดานเทคโนโลยีและระบบคอมพิวเตอร์ที่
                                                  ้
       ่                   ั
ตนมีอยูในการที่จะหาเงินให้กบตนเองโดยมิชอบด้วยกฎหมาย

6.พวกช่างคิดช่างฝัน (Ideologues) เป็ นพวกที่กระทาผิด เนื่องจากมีความเชื่อถือสิ่ งหนึ่งสิ่ งใด
อย่างรุ นแรง

7.พวก Hacker / Cracker
9


           Hacker หมายถึง บุคคลผูที่เป็ นอัจฉริ ยะ มีความรู ้ในระบบคอมพิวเตอร์เป็ นอย่างดี
                                 ้
สามารถเข้าไปถึงข้อมูลในคอมพิวเตอร์ โดยเจาะผ่านระบบรักษาความปลอดภัยของ
คอมพิวเตอร์ได้ กลุ่มพวกนี้จะอ้างว่าตนมีจรรยาบรรณไม่หาประโยชน์จากการบุกรุ ก และ
ประนามพวก Cracker

           Cracker หมายถึง ผูที่มีความรู ้และทักษะทางคอมพิวเตอร์เป็ นอย่างดี จนสามารถเข้า
                             ้
สู่ ระบบได้ เพื่อเข้าไปทาลายหรื อลบไฟล์หรื อทาให้เครื่ องคอมพิวเตอร์เสี ยหาย รวมทั้งการ
ทาลายระบบปฏิบติการของเครื่ องคอมพิวเตอร์ เป็ นการหาประโยชน์จากการบุกรุ ก
             ั



ลักษณะทัวไป ค่านิยม และ สังคม ของพวกนักฝ่ าด่าน (Hacker / Cracker)
        ่

1. Hacker โดยทัวไปจะมีความหมายในทางที่ค่อนข้างดี ซึ่งหมายถึงบุคคลที่มีความรู ้และความ
               ่
เข้าใจในเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เป็ นอย่างดี และ มีความสามารถในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับระบบ
ความปลอดภัยของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ได้

                                                                        ่
2. Cracker โดยทัวไปจะมีความหมายในทางที่ไม่ดี ซึ่งหมายความถึงบุคคลที่แม้วาจะมีความรู ้
                ่
                                                  ็
ความเข้าใจ ในเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เป็ นอย่างดี แต่กจะใช้ความรู ้น้ นในการที่จะสร้างความ
                                                                  ั
                      ั
เดือดร้อน เสี ยหายให้กบระบบ แฟ้ มข้อมูล หรื อ ทาให้ระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ได้รับ
ความเสี ยหาย

3. นักฝ่ าด่าน ทั้ง Hacker และ Cracker จะถือว่า Internet เป็ นเสมือนพื้นที่ของตนที่จะต้องปก
ปักษ์รักษา จากพวกนักคอมพิวเตอร์หน้าใหม่เข้ามาโดยไร้มารยาท โดยถือว่าเป็ นการละเมิด
เป็ นการล้ าถิ่น และจะก่อให้เกิดความไม่พอใจอย่างยิง
                                                  ่

4. ในบรรดาผูที่ตองหาเกี่ยวกับความผิดด้านคอมพิวเตอร์น้ ี พวกนักฝ่ าด่าน (ทั้ง Hacker และ
            ้ ้
Cracker) เป็ นกลุ่มบุคคลที่สร้างความเสี ยหาย และก่อความราคาญให้กบสังคมเทคโนโลยี
                                                                ั
คอมพิวเตอร์มากที่สุด
10


5. คนโดยทัวไปจะใช้คาเรี ยก Hacker และ Cracker สับเปลี่ยนกันได้เสมือนเป็ นกลุ่มบุคคล
          ่
เดียวกัน

6. แต่ในสังคมนักคอมพิวเตอร์แล้ว มีทศนคติที่ไม่ดีต่อทั้ง Hacker และ Cracker ในการสร้าง
                                   ั
ความเสี ยหายแก่ระบบฯ คอมพิวเตอร์ ทาให้ไม่เป็ นที่ยอมรับในสังคมของ นักคอมพิวเตอร์



ลักษณะทัวไปของนักฝ่ าด่าน (Hackers และ Crackers)
        ่

1. มักเป็ นชาย (ไม่ยากจน)

2. มีความฉลาดหลักแหลม (Intellegence) มีเป็ นผูที่มีหวไว มีความคิดฉลาดปราดเปรื่ อง สามารถ
                                              ้ ั
ปรับตัวเข้ารับเทคโนโลยีที่ทนสมัยได้อย่างรวดเร็ ว มีความอดทน และมีความพยายามสู ง แต่ใช้
                           ั
ในทางที่ผด
         ิ

3. หยิงยโส (Arrogance) มักมีความรู ้สึกว่าตนเองอยูเ่ หนือผูอื่น มีความฉลาดปราดเปรื่ อง
      ่                                                    ้
เหนือกว่าผูอื่น โดยเฉพาะอย่างยิงในด้านเทคโนโลยี
           ้                   ่

                                                                    ่
4. โอหัง (Egocentric) ถือเอาตนเองเป็ นที่ต้ ง กิจกรรมต่างๆ หรื อไม่วาจะเป็ นการพักผ่อนหย่อน
                                            ั
ใจ จะวนเวียนอยูแต่เรื่ องที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
               ่

5. มักเป็ นพวกที่ชอบใช้เทคโนโลยีในทางที่มิชอบ (Techno-abusive) และมักเป็ นพวกที่ชอบ
กล่าวตาหนิหรื อดูถูกพวกที่ไม่มีความรู ้ดานคอมพิวเตอร์ หรื อว่ากล่าวพวกที่ไม่มีมารยาทในการ
                                        ้
ใช้ Internet อย่างรุ นแรง

6. มักเป็ นนักสะสม (Collector) ข้อมูล ข่าวสาร ซึ่งโดยทัวไปจะไม่นาไปใช้ในทางที่ผดกฎหมาย
                                                       ่                       ิ
หรื อในทางที่มิชอบ แต่ความมุ่งหมายหลักก็เพียงเก็บไว้เป็ นเสมือนกับถ้วย หรื อ โล่รางวัล
(Trophy) ในความสามารถของเขา ในการที่ได้เจาะฝ่ าด่านป้ องกันของระบบคอมพิวเตอร์
เครื่ อข่ายเข้าไปได้
11


7. มักเป็ นผูที่ไม่ค่อยมีความรับผิดชอบต่อการกระทาของตนเอง พวกนักฝ่ าด่านมักจะโยนบาป
             ้
           ั
เคราะห์ให้กบผูเ้ สี ยหาย หรื อระบบที่ได้รับการบุกรุ ก โดยไม่คานึกถึงผลลัพธ์จากการกระทา
ของตนเอง

8. เป็ นนักแจก ซึ่งโดยทัวไปบุคคลกลุ่มนี้มีฐานความคิดที่วา บุคคลทุกคนควรที่จะต้องได้รับ
                        ่                               ่
ข้อมูลข่าวสารโดยไม่เสี ยเงิน แต่ในทางกลับกัน พวกนักฝ่ าด่าน จะพยายามป้ องกันบุคคลอื่นมิ
ให้ล่วงรู ้ถึงข้อมูลของตนเอง และไม่กล้าเปิ ดเผยตัวจริ ง




                              แนวโน้มอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
จะเพิ่มจานวนมากขึ้น

สาเหตุบางประการที่ทาให้อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ มีแนวโน้มที่จะทวีจานวนสู งขึ้น
เนื่องจาก

            1. บุคคลทัวไปสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น
                      ่

            2. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีราคาต่าลง

            3. เทคโนโลยีท่ีมีสมรรถนะสู งขึ้นสามารถนามาใช้ได้ง่ายขึ้น

                                                                                      ่
            4. คุณค่า และ ราคาของทรัพย์สินทางปัญญาได้เพิมสู งขึ้นอย่างรวดเร็วบุคคลไม่วาจะ
                                                        ่
ในฐานะส่ วนตัวและ/หรื อองค์กรธุรกิจอันเป็ นนิติบุคล สามารถเข้าสู่ ระบบเครื อข่ายสารสนเทศ
ได้โดยง่าย และ มีจานวนเครื่ องเพิมสู งขึ้นเรื่ อยๆ
                                 ่

       5. มีบุคคลที่มีความรู ้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพิ่มสู งขึ้นเรื่ อยๆ

            6. สามารถรวบรวมข้อมูลได้อย่างกว้างขวาง
12


          7. ง่ายกว่าการจารกรรมเอกสารหรื อถ่ายเอกสาร

          8. สามารถนาข้อมูลที่อยูบนแผ่น Diskette ไปใช้ประโยชน์ได้ง่ายกว่า
                                 ่

          9. การใช้คอมพิวเตอร์ประกอบอาชญากรรม ตรวจสอบและจับกุม ยากกว่า

          10. มีช่องโหว่ในประเด็นปัญหาข้อกฎหมาย และแนวทางการปฏิบติ
                                                                ั




                      ประเภทอาชญากรรมด้วยคอมพิวเตอร์

อาจแบ่งได้ ดังนี้

          1.ข้อมูลทางการทหารและข้อมูลทางราชการลับ

          2.จารกรรมทรัพย์สินทางปัญญาและข้อมูลด้านธุรกิจ

          3.จารกรรมเงินและทาให้เกิดการติดขัดทางด้านพาณิ ชย์

          4.การโต้ตอบเพื่อล้างแค้น

          5.การก่อการร้าย เช่น ทาลายข้อมูล ก่อกวนการทางานของระบบ หรื อหน่วยงานที่
สาคัญ และเสนอข้อมูลที่ผด
                       ิ

          6.การเข้าสู่ ระบบเพียงเพื่อแสดงให้เห็นว่ามีความสามารถทาได้
13


                                      อ้างอิง
http://elearning.aru.ac.th/4000108/hum07/topic3/linkfile/print5.htm

http://www.gotoknow.org/posts/372559

More Related Content

What's hot (12)

รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 
คอมจ๊ะ
คอมจ๊ะคอมจ๊ะ
คอมจ๊ะ
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
 
คอมดาวน
คอมดาวน คอมดาวน
คอมดาวน
 
คอมดาวน์
คอมดาวน์คอมดาวน์
คอมดาวน์
 
Aaaaa
AaaaaAaaaa
Aaaaa
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
 
อาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาวอาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาว
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
อาชญากรรม นิว
อาชญากรรม นิวอาชญากรรม นิว
อาชญากรรม นิว
 
ธนาวัตร
ธนาวัตรธนาวัตร
ธนาวัตร
 

Viewers also liked

รายงาน 4 2
รายงาน 4 2รายงาน 4 2
รายงาน 4 2Varid Tunyamat
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rungnapa Tamang
 
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญารายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญาshikapu
 
บทที่6การสร้างรายงาน
บทที่6การสร้างรายงานบทที่6การสร้างรายงาน
บทที่6การสร้างรายงานniwat50
 

Viewers also liked (6)

รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน (1) (2)
รายงาน (1) (2)รายงาน (1) (2)
รายงาน (1) (2)
 
รายงาน 4 2
รายงาน 4 2รายงาน 4 2
รายงาน 4 2
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญารายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
 
บทที่6การสร้างรายงาน
บทที่6การสร้างรายงานบทที่6การสร้างรายงาน
บทที่6การสร้างรายงาน
 

Similar to รายงาน

อาชญากรรม
อาชญากรรมอาชญากรรม
อาชญากรรมJariya Huangjing
 
อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอHatairat Srisawat
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22Anattita Chumtongko
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22Nukaem Ayoyo
 
อาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบสอาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบสMind Candle Ka
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องรายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องMind Candle Ka
 
ณรงค์ชัย
ณรงค์ชัยณรงค์ชัย
ณรงค์ชัยNakkarin Keesun
 
รายงานแพรว
รายงานแพรวรายงานแพรว
รายงานแพรวKamonwan Choophol
 
คอมดาวน
คอมดาวน คอมดาวน
คอมดาวน dowsudarat
 
อาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลอาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลAY'z Felon
 

Similar to รายงาน (20)

อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 
รายงานเจียบ
รายงานเจียบรายงานเจียบ
รายงานเจียบ
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
อาชญากรรม
อาชญากรรมอาชญากรรม
อาชญากรรม
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอ
 
วิก
วิกวิก
วิก
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
 
อาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบสอาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบส
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องรายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
ตุก Pdf
ตุก Pdfตุก Pdf
ตุก Pdf
 
ตุก Pdf
ตุก Pdfตุก Pdf
ตุก Pdf
 
ณรงค์ชัย
ณรงค์ชัยณรงค์ชัย
ณรงค์ชัย
 
รายงานแพรว
รายงานแพรวรายงานแพรว
รายงานแพรว
 
คอมดาวน
คอมดาวน คอมดาวน
คอมดาวน
 
อาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลอาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอล
 
Bbbb
BbbbBbbb
Bbbb
 

More from B'Ben Rattanarat

สุดปลายฝัน
สุดปลายฝันสุดปลายฝัน
สุดปลายฝันB'Ben Rattanarat
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2B'Ben Rattanarat
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)B'Ben Rattanarat
 

More from B'Ben Rattanarat (7)

รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
สุดปลายฝัน
สุดปลายฝันสุดปลายฝัน
สุดปลายฝัน
 
นวน ยาย
นวน ยายนวน ยาย
นวน ยาย
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
 
นิยาย
นิยายนิยาย
นิยาย
 

รายงาน

  • 1. 1 รายงาน เรื่ อง อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ จัดทาโดย นางสาวเบญจวรรณ รัตนะรัต ชั้นม.6/3 เลขที่ 24 เสนอ อาจารย์ จุฑารัตน์ ใจบุญ โรงเรี ยนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
  • 2. 2 คานา รายงานเล่มนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดทาขึ้นได้ ให้เยาวชนรุ่ นหลังที่สนใจได้นาไปใช้เป็ นสื่ อการเรี ยนการสอน หากรายงาน เล่มนี้มีขอผิดพลาดประการใดต้องขออภัยไว้ ณ ที่น้ ี ดวย ้ ้ จัดทาโดย นางสาว เบญจวรรณ รัตนะรัต
  • 3. 3 สารบัญ เรื่ อง หน้า อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 4 ลักษณะของอาชญากรทางคอมพิวเตอร์ 8 แนวโน้มอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 11 ประเภทอาชญากรรมด้วยคอมพิวเตอร์ 12
  • 4. 4 อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ มีผให้ความหมายไว้ 2 ประการ ได้แก่ ู้ 1. การกระทาใด ๆ ก็ตาม ที่เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อันทาให้เหยือได้รับความ ่ เสี ยหาย และทาให้ผกระทาได้รับผลตอบแทน ู้ 2. การกระทาผิดกฎหมายใด ๆ ซึ่งจะต้องใช้ความรู ้เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ มา ประกอบการกระผิด และต้องใช้ผมีความรู ้ทางคอมพิวเตอร์ ในการสื บสวน ติดตาม รวบรวม ู้ หลักฐาน เพื่อการดาเนินคดี จับกุม อาชญากรทางคอมพิวเตอร์ ถ้าจะแปลให้เข้าใจง่ายๆ ก็คือผูกระทาผิดกฎหมายโดยใช้เทคโนโลยี ้ คอมพิวเตอร์เป็ นส่ วนสาคัญ เป็ นการกระทาใดๆ ที่เกี่ยวกับการใช้การเข้าถึงข้อมูล โดยที่ ผูกระทาไม่ได้รับอนุญาต การลักลอบแก้ไข ทาลาย คัดลอกข้อมูล ทาให้คอมพิวเตอร์ทางาน ้ ผิดพลาด แม้ไม่ถึงกับเป็ นการกระทาที่ผดกฎหมาย แต่เป็ นการกระทาที่ผดระเบียบกฎเกณฑ์ ิ ิ จรรยาบรรณของการใช้คอมพิวเตอร์น้ นๆ ั ั ความสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กบอาชญากรรม จากการที่คอมพิวเตอร์มีคุณประโยชน์นานับประการ จึงมีผนาเทคโนโลยีเหล่านั้น มาเป็ น ู้ ช่องทาง หรื อเป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในการกระทาความผิด ซึ่งลักษณะหรื อรู ปแบบของ ั ความสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กบอาชญากรรม พอสรุ ปได้ดงนี้ ั 1. คอมพิวเตอร์เป็ นเป้ าหมายในการก่ออาชญากรรม (Computer as Crime “Targets”) เช่น การลักทรัพย์เครื่ องคอมพิวเตอร์ หรื อ ชิ้นส่ วนของเครื่ องคอมพิวเตอร์ (ชิป หรื อ ส่ วนประกอบต่างๆ) โดยเฉพาะที่มีขนาดเล็ก แต่มีราคาแพง 2. คอมพิวเตอร์ เป็ นเครื่ องอานวยความสะดวก ในการก่ออาชญากรรมในรู ปแบบ
  • 5. 5 ”ดั้ งเดิม” (Facilitation of “Traditional” Crimes) เช่น ใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ในการเก็บข้อมูล ลูกค้ายาเสพติด หรื อ ในกรณี UNABOMBER ซึ่งอาชญากรใช้คอมพิวเตอร์ในการกาหนดตัว เหยือ จาก On-line Address แล้วส่ งระเบิดแสวงเครื่ องไปทางไปรษณี ย ์ โดยวัตถุประสงค์เพื่อ ่ สังหารบุคคลที่ชอบเทคโนโลยีช้ นสู ง ั 3. อาชญากรรมที่เกิดกับคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ (Computer-unique Crime) เช่น การ สร้างให้ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Computer Virus) แพร่ ระบาดไปในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์โดย มีเจตนาที่จะสร้างความเสี ยหาย ,Nuke, การลักลอบเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ (Hacking /Cracking) , การละเมิดทรัพย์สินทางปั ญญาที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (Violation of Computer Intellectual Properties) 4.คอมพิวเตอร์เป็ นเครื่ องมือในการประกอบอาชญากรรม(Computeras “Instrumentality” of Crimes) เช่น การใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ในการโอนเงินจากบัญชีธนาคาร จากบัญชีหนึ่งไปเข้าอีกบัญชีหนึ่ง โดยมีเจตนาทุจริ ต ,ใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ในการเป็ นเจ้ามือรับ พนันเอาทรัพย์สิน,หรื อ ใช้คอมพิวเตอร์ในการเผยแพร่ เอกสาร สิ่ งพิมพ์ รู ปภาพ หรื อ โฆษณา วัตถุ ลามก อนาจาร ผิดกฎหมาย อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ถูกละเลย สาเหตุบางประการที่ทาให้อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ถกละเลย ไม่ได้รับความสนใจ ู 1.อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์โดยธรรมชาติจะมีความไม่เป็ นส่ วนตัว (Impersonal) จึงไม่มี ผลกระทบต่อจิตใจและความรู ้สึก (Emotion) ของประชาชนโดยทัวไป และถูกมองข้ามไป ่ 2.อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ เช่น การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา (Theft of Intellectual Property), การโอนเงินโดยผิดกฎหมาย (Unlawful Transfer of Money), การฉ้อโกงด้านการ
  • 6. 6 สื่ อสาร (Telecommunication Fraud) มีความแตกต่างกับอาชญากรรมแบบดั้งเดิม ที่เจ้าหน้าที่ ตารวจมีความคุนเคยและเข้าใจเป็ นอย่างดี เช่นการลักทรัพย์, ทาร้ายร่ างกาย อย่างสิ้ นเชิง ้ 3.เจ้าหน้าที่ตารวจมักจะมองไม่เห็นว่าอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์น้ ี เป็ นปั ญหาที่กระทบต่อ ประสิ ทธิภาพการปฏิบติงานของตน จึงไม่ให้ความสนใจ ั 4. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์แตกต่างจากอาชญากรรมรุ นแรง (Violent Crime) จุดความ รู ้สึก ให้เกิดอารมณ์ ( Emotion )ในหมู่ชน จึงทาให้เจ้าหน้าที่ผรับผิดชอบมีความจาเป็ นที่จะต้องทุ่มเท ู้ สรรพกาลังไปในการแก้ไขปัญหา อาชญากรรมในรู ปแบบทัวไป ่ 5.อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ มีความเกี่ยวพันอย่างยิงกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ ซึ่งจะทาให้ ่ บุคคลที่ไม่มีความรู ้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง เกิดความไม่กล้า (Intimidated) ในการที่จะเข้า ไปยุงเกี่ยวข้องด้วย ่ 6.บุคคลโดยส่ วนมากจะมองอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในลักษณะ “มิติเดี่ยว” (Unidimensionally) ในลักษณะสภาวะของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็ นครั้งๆ ไป โดยปราศจากการ มองให้ลึกซึ้งถึง ผลกระทบ ความรุ นแรง การแพร่ กระจาย และปริ มาณของความเสี ยหายที่ เกิดขึ้น ในการก่ออาชญากรรมแต่ละครั้งนั้น 7.เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง และ ประสิ ทธิภาพในการใช้เทคโนโลยีของอาชญากร มีการพัฒนาที่ รวดเร็ว ทาให้ยากต่อการเรี ยนรู ้ถึงความเปลี่ยนแปลง ในวงการของอาชญากรรมประเภทนี้ ั 8.ผูเ้ สี ยหาย กลับจะตกเป็ นผูที่ถูกประนามว่า เป็ นผูเ้ ปิ ดช่องโอกาสให้กบอาชญากรในการกระทา ้ ่ ผิดกฎหมาย เช่น ผูเ้ สี ยหายมักถูกตาหนิวาไม่มีการวางระบบการรักษาความปลอดภัยที่เหมาะสม กับโครงข่ายงานคอมพิวเตอร์ บางครั้งจึงมักไม่กล้าเปิ ดเผยว่า ระบบของตนถูกบุกรุ กทาลาย 9.ทรัพย์สินทางปัญญาโดยทัวไปจะไม่สามารถประเมินราคาความเสี ยหายได้อย่างแน่ชด จึงทา ่ ั ให้คนทัวไปไม่รู้สึกถึงความรุ นแรงของอาชญากรรมประเภทนี้ ่
  • 7. 7 10.พนักงานเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องอาจไม่มีความรู ้ ความชานาญ หรื อ ความสามารถพอเพียงที่จะ ั สอบสวนดาเนินคดีกบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 11.บุคคลทัวไปมักมองเห็นว่า อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์น้ ี ไม่ได้เกิดขึ้นบ่อยครั้ง จึงไม่ควร ่ ค่าต่อการให้ความสนใจ 12.เจ้าหน้าที่มกใช้ความรู ้ความเข้าใจในอาชญากรรมแบบดั้งเดิมนา มาใช้ในการ สื บสวน ั สอบสวนคดีอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็ นเหตุให้อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ครบ องค์ประกอบความผิดตามอาชญากรรมแบบดั้งเดิม และถูกมองข้ามไปโดยไม่พบการกระทาผิด 13.เจ้าหน้าที่ตารวจโดยทัวไปไม่มีการเตรี ยมการเพื่อรองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อย่าง ่ จริ งจัง 14.ในปัจจุบนนี้ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ไม่ใช่อาชญากรรมที่มีผลกระทบต่อความมันคง ั ่ ทางการเมือง เมื่อเทียบกับอาชญากรรมที่เกี่ยวกับทรัพย์ หรื อ ชีวตร่ างกาย ซึ่งทาให้ประชาชน ิ เกิดความรู ้สึกไม่ปลอดภัยในชีวตและทรัพย์สิน ิ
  • 8. 8 ลักษณะของอาชญากรทางคอมพิวเตอร์ สามารถจาแนกได้ดงนี้ ั 1.พวกหัดใหม่ (Novice) เป็ นพวกที่เพิ่มเริ่ มเข้าสู่ วงการ, หัดใช้คอมพิวเตอร์ หรื อ อาจเป็ นพวกที่ เพิ่งเข้าสู่ ตาแหน่งที่มีอานาจหรื อเพิ่งได้รับความไว้วางใจให้เข้าสู่ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ 2.พวกจิตวิปริ ต (Deranged Person) มักเป็ นพวกที่มีจิตใจวิปริ ต ผิดปกติ มีลกษณะเป็ นพวกที่ ั ่ ชอบความรุ นแรง และอันตราย มักจะเป็ นผูที่ชอบทาลายไม่วาจะเป็ นการทาลายสิ่ งของ หรื อ ้ บุคคล เช่น พวก UNA Bomber เป็ นต้น แต่เนื่องจากจานวนอาชญากรประเภทนี้มีไม่มากนัก จึงทาให้ผรักษากฎหมายไม่ได้ให้ความสนใจ ู้ 3.เป็ นกลุ่มที่ประกอบอาชญากรรมในลักษณะองค์กร (Organized Crime) องค์กรอาชญากรรม จะใช้คอมพิวเตอร์ในลักษณะที่แตกต่างกัน โดยส่ วนหนึ่งอาจใช้เป็ นเครื่ องมือในการหาข่าวสาร เช่นเดียวกับองค์กรธุ รกิจทัวไป หรื ออาจจะใช้เทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์น้ ีเป็ นตัวประกอบ ่ สาคัญในการก่ออาชญากรรม หรื ออาจใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์น้ ีในการที่ทาให้เจ้าหน้าที่ตาม ไม่ทนอาชญากรรมที่ตนก่อขึ้น ั 4.พวกมืออาชีพ (Career Criminal) เป็ นกลุ่มอาชญากรคอมพิวเตอร์ที่ทวีจานวนมากขึ้นเรื่ อยๆ เป็ นผูท่ีก่ออาชญากรรมที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์น้ ีครั้งแล้วครั้งเล่า โดยอาชญากรประเภทนี้ ้ อาจจะเคยถูกจับกุมในความผิดประเภทนี้มาก่อนแล้ว เป็ นพวกที่กระทาผิดโดยสันดาน 5.พวกหัวพัฒนา (Con Artist) เป็ นพวกที่ชอบใช้ความก้าวหน้าทางคอมพิวเตอร์ให้ได้มาเพื่อ ผลประโยชน์ มาสู่ ตน อาชญากรประเภทนี้จะใช้ความรู ้ดานเทคโนโลยีและระบบคอมพิวเตอร์ที่ ้ ่ ั ตนมีอยูในการที่จะหาเงินให้กบตนเองโดยมิชอบด้วยกฎหมาย 6.พวกช่างคิดช่างฝัน (Ideologues) เป็ นพวกที่กระทาผิด เนื่องจากมีความเชื่อถือสิ่ งหนึ่งสิ่ งใด อย่างรุ นแรง 7.พวก Hacker / Cracker
  • 9. 9 Hacker หมายถึง บุคคลผูที่เป็ นอัจฉริ ยะ มีความรู ้ในระบบคอมพิวเตอร์เป็ นอย่างดี ้ สามารถเข้าไปถึงข้อมูลในคอมพิวเตอร์ โดยเจาะผ่านระบบรักษาความปลอดภัยของ คอมพิวเตอร์ได้ กลุ่มพวกนี้จะอ้างว่าตนมีจรรยาบรรณไม่หาประโยชน์จากการบุกรุ ก และ ประนามพวก Cracker Cracker หมายถึง ผูที่มีความรู ้และทักษะทางคอมพิวเตอร์เป็ นอย่างดี จนสามารถเข้า ้ สู่ ระบบได้ เพื่อเข้าไปทาลายหรื อลบไฟล์หรื อทาให้เครื่ องคอมพิวเตอร์เสี ยหาย รวมทั้งการ ทาลายระบบปฏิบติการของเครื่ องคอมพิวเตอร์ เป็ นการหาประโยชน์จากการบุกรุ ก ั ลักษณะทัวไป ค่านิยม และ สังคม ของพวกนักฝ่ าด่าน (Hacker / Cracker) ่ 1. Hacker โดยทัวไปจะมีความหมายในทางที่ค่อนข้างดี ซึ่งหมายถึงบุคคลที่มีความรู ้และความ ่ เข้าใจในเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เป็ นอย่างดี และ มีความสามารถในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับระบบ ความปลอดภัยของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ได้ ่ 2. Cracker โดยทัวไปจะมีความหมายในทางที่ไม่ดี ซึ่งหมายความถึงบุคคลที่แม้วาจะมีความรู ้ ่ ็ ความเข้าใจ ในเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เป็ นอย่างดี แต่กจะใช้ความรู ้น้ นในการที่จะสร้างความ ั ั เดือดร้อน เสี ยหายให้กบระบบ แฟ้ มข้อมูล หรื อ ทาให้ระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ได้รับ ความเสี ยหาย 3. นักฝ่ าด่าน ทั้ง Hacker และ Cracker จะถือว่า Internet เป็ นเสมือนพื้นที่ของตนที่จะต้องปก ปักษ์รักษา จากพวกนักคอมพิวเตอร์หน้าใหม่เข้ามาโดยไร้มารยาท โดยถือว่าเป็ นการละเมิด เป็ นการล้ าถิ่น และจะก่อให้เกิดความไม่พอใจอย่างยิง ่ 4. ในบรรดาผูที่ตองหาเกี่ยวกับความผิดด้านคอมพิวเตอร์น้ ี พวกนักฝ่ าด่าน (ทั้ง Hacker และ ้ ้ Cracker) เป็ นกลุ่มบุคคลที่สร้างความเสี ยหาย และก่อความราคาญให้กบสังคมเทคโนโลยี ั คอมพิวเตอร์มากที่สุด
  • 10. 10 5. คนโดยทัวไปจะใช้คาเรี ยก Hacker และ Cracker สับเปลี่ยนกันได้เสมือนเป็ นกลุ่มบุคคล ่ เดียวกัน 6. แต่ในสังคมนักคอมพิวเตอร์แล้ว มีทศนคติที่ไม่ดีต่อทั้ง Hacker และ Cracker ในการสร้าง ั ความเสี ยหายแก่ระบบฯ คอมพิวเตอร์ ทาให้ไม่เป็ นที่ยอมรับในสังคมของ นักคอมพิวเตอร์ ลักษณะทัวไปของนักฝ่ าด่าน (Hackers และ Crackers) ่ 1. มักเป็ นชาย (ไม่ยากจน) 2. มีความฉลาดหลักแหลม (Intellegence) มีเป็ นผูที่มีหวไว มีความคิดฉลาดปราดเปรื่ อง สามารถ ้ ั ปรับตัวเข้ารับเทคโนโลยีที่ทนสมัยได้อย่างรวดเร็ ว มีความอดทน และมีความพยายามสู ง แต่ใช้ ั ในทางที่ผด ิ 3. หยิงยโส (Arrogance) มักมีความรู ้สึกว่าตนเองอยูเ่ หนือผูอื่น มีความฉลาดปราดเปรื่ อง ่ ้ เหนือกว่าผูอื่น โดยเฉพาะอย่างยิงในด้านเทคโนโลยี ้ ่ ่ 4. โอหัง (Egocentric) ถือเอาตนเองเป็ นที่ต้ ง กิจกรรมต่างๆ หรื อไม่วาจะเป็ นการพักผ่อนหย่อน ั ใจ จะวนเวียนอยูแต่เรื่ องที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ่ 5. มักเป็ นพวกที่ชอบใช้เทคโนโลยีในทางที่มิชอบ (Techno-abusive) และมักเป็ นพวกที่ชอบ กล่าวตาหนิหรื อดูถูกพวกที่ไม่มีความรู ้ดานคอมพิวเตอร์ หรื อว่ากล่าวพวกที่ไม่มีมารยาทในการ ้ ใช้ Internet อย่างรุ นแรง 6. มักเป็ นนักสะสม (Collector) ข้อมูล ข่าวสาร ซึ่งโดยทัวไปจะไม่นาไปใช้ในทางที่ผดกฎหมาย ่ ิ หรื อในทางที่มิชอบ แต่ความมุ่งหมายหลักก็เพียงเก็บไว้เป็ นเสมือนกับถ้วย หรื อ โล่รางวัล (Trophy) ในความสามารถของเขา ในการที่ได้เจาะฝ่ าด่านป้ องกันของระบบคอมพิวเตอร์ เครื่ อข่ายเข้าไปได้
  • 11. 11 7. มักเป็ นผูที่ไม่ค่อยมีความรับผิดชอบต่อการกระทาของตนเอง พวกนักฝ่ าด่านมักจะโยนบาป ้ ั เคราะห์ให้กบผูเ้ สี ยหาย หรื อระบบที่ได้รับการบุกรุ ก โดยไม่คานึกถึงผลลัพธ์จากการกระทา ของตนเอง 8. เป็ นนักแจก ซึ่งโดยทัวไปบุคคลกลุ่มนี้มีฐานความคิดที่วา บุคคลทุกคนควรที่จะต้องได้รับ ่ ่ ข้อมูลข่าวสารโดยไม่เสี ยเงิน แต่ในทางกลับกัน พวกนักฝ่ าด่าน จะพยายามป้ องกันบุคคลอื่นมิ ให้ล่วงรู ้ถึงข้อมูลของตนเอง และไม่กล้าเปิ ดเผยตัวจริ ง แนวโน้มอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ จะเพิ่มจานวนมากขึ้น สาเหตุบางประการที่ทาให้อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ มีแนวโน้มที่จะทวีจานวนสู งขึ้น เนื่องจาก 1. บุคคลทัวไปสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น ่ 2. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีราคาต่าลง 3. เทคโนโลยีท่ีมีสมรรถนะสู งขึ้นสามารถนามาใช้ได้ง่ายขึ้น ่ 4. คุณค่า และ ราคาของทรัพย์สินทางปัญญาได้เพิมสู งขึ้นอย่างรวดเร็วบุคคลไม่วาจะ ่ ในฐานะส่ วนตัวและ/หรื อองค์กรธุรกิจอันเป็ นนิติบุคล สามารถเข้าสู่ ระบบเครื อข่ายสารสนเทศ ได้โดยง่าย และ มีจานวนเครื่ องเพิมสู งขึ้นเรื่ อยๆ ่ 5. มีบุคคลที่มีความรู ้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพิ่มสู งขึ้นเรื่ อยๆ 6. สามารถรวบรวมข้อมูลได้อย่างกว้างขวาง
  • 12. 12 7. ง่ายกว่าการจารกรรมเอกสารหรื อถ่ายเอกสาร 8. สามารถนาข้อมูลที่อยูบนแผ่น Diskette ไปใช้ประโยชน์ได้ง่ายกว่า ่ 9. การใช้คอมพิวเตอร์ประกอบอาชญากรรม ตรวจสอบและจับกุม ยากกว่า 10. มีช่องโหว่ในประเด็นปัญหาข้อกฎหมาย และแนวทางการปฏิบติ ั ประเภทอาชญากรรมด้วยคอมพิวเตอร์ อาจแบ่งได้ ดังนี้ 1.ข้อมูลทางการทหารและข้อมูลทางราชการลับ 2.จารกรรมทรัพย์สินทางปัญญาและข้อมูลด้านธุรกิจ 3.จารกรรมเงินและทาให้เกิดการติดขัดทางด้านพาณิ ชย์ 4.การโต้ตอบเพื่อล้างแค้น 5.การก่อการร้าย เช่น ทาลายข้อมูล ก่อกวนการทางานของระบบ หรื อหน่วยงานที่ สาคัญ และเสนอข้อมูลที่ผด ิ 6.การเข้าสู่ ระบบเพียงเพื่อแสดงให้เห็นว่ามีความสามารถทาได้
  • 13. 13 อ้างอิง http://elearning.aru.ac.th/4000108/hum07/topic3/linkfile/print5.htm http://www.gotoknow.org/posts/372559