SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
ของคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นผลมาจากการประดิษฐ์
คิดค้นเครื่องมือในการคานวณซึ่งมีวิวัฒนาการนานมาแล้ว เริ่มจาก
เครื่องมือในการคานวณเครื่องแรกคือ "ลูกคิด" (Abacus) ที่
สร้างขึ้นในประเทศจีน เมื่อประมาณ 2,000-3,000 ปีมาแล้ว
จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2376 นักคณิตศาสต์ชาวอังกฤษ ชื่อ ชาร์ล
แบบเบจ ได้ประดิษฐ์เครื่องวิเคราะห์ สามารถคานวณค่าของ
ตรีโกณมิติ ฟังก์ชั่นต่างๆ ทางคณิตศาสตร์
ประวัติ

หลักการของแบบเบจนี้เองที่ได้นามาพัฒนาสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์
สมัยใหม่ เราจึงยกย่องให้แบบเบจเป็น บิดาแห่งเครื่องคอมพิวเตอร์หลังจาก
นั้นเป็นต้นมา ได้มีผู้ประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นมามากมายหลายขนาด
ทาให้เป็นการเริ่มยุคของคอมพิวเตอร์อย่างแท้จริง โดยสามารถจัดแบ่ง
คอมพิวเตอร์ออกได้เป็น 5 ยุค
 1. ยุคที่หนึ่ง (First Generation Computer) พ.ศ. 2489-2501
 2. ยุคที่สอง (Second Generation Computer) พ.ศ. 2502-2506
 3. ยุคที่สาม (Third Generation Computer) พ.ศ. 2507-2512
 4. ยุคที่สี่ (Fourth Generation Computer) พ.ศ. 2513-2532
 5. ยุคที่ห้า (Fifth Generation Computer) พ.ศ. 2533 จนถึงปัจจุบัน
ยุคสมัย

 เป็นการประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มิใช่เครื่องคานวณ โดยเมาช์ลี
และเอ็กเคอร์ต(Mauchly and Eckert) ได้นาแนวความคิดนั้น
มาประดิษฐ์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพมากเครื่องหนึ่งเรียกว่า
ENIAC ซึ่งต่อมาได้ทาการปรับปรุงการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์
ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น และได้ประดิษฐ์เครื่อง UNIVAC ขึ้นเพื่อ
ใช้ในการสารวจสามะโนประชากรประจาปี
จึงนับได้ว่า UNIVAC เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกที่ถูก
ใช้ งานในเชิงธุรกิจ ซึ่งนับเป็นการเริ่มของเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคแรก
อย่างแท้จริง เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้หลอดสุญญากาศในการควบคุม
การทางานของเครื่อง
ยุคที่ 1 พ.ศ. 2489-2501

-ใช้อุปกรณ์ หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) เป็นส่วนประกอบหลัก
ทาให้ตัวเครื่องมีขนาดใหญ่ ใช้พลังงานไฟฟ้ามาก และเกิดความร้อนสูง
-ทางานด้วยภาษาเครื่อง (Machine Language) เท่านั้น
-เริ่มมีการพัฒนาภาษาสัญลักษณ์ (Assembly / Symbolic
Language) ขึ้นใช้งาน
ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 1

 มีการนาทรานซิสเตอร์ มาใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์จึงทาให้เครื่องมีขนาด
เล็กลง และสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานให้มีความรวดเร็วและ
แม่นยามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในยุคนี้ยังได้มีการคิดภาษาเพื่อใช้กับเครื่อง
คอมพิวเตอร์เช่น ภาษาฟอร์แทน (FORTRAN) จึงทาให้ง่ายต่อการ
เขียนโปรแกรมสาหรับใช้กับเครื่อง
ยุคที่ 2 พ.ศ. 2502-2506

ใช้อุปกรณ์ ทรานซิสเตอร์ (Transistor) ซึ่งสร้างจากสารกึ่งตัวนา
(Semi-Conductor) เป็นอุปกรณ์หลัก แทนหลอดสุญญากาศ
มีความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคาสั่ง ประมาณหนึ่งในพันของวินาที
(Millisecond : mS)
สั่งงานได้สะดวกมากขึ้น เนื่องจากทางานด้วยภาษาสัญลักษณ์
(Assembly Language)
เริ่มพัฒนาภาษาระดับสูง (High Level Language) ขึ้นใช้งาน
ในยุค
ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 2

 คอมพิวเตอร์ในยุคนี้เริ่มต้นภายหลังจากการใช้ทรานซิสเตอร์ได้เพียง 5 ปี
เนื่องจากได้มีการประดิษฐ์คิดค้นเกี่ยวกับวงจรรวม (Integrated-
Circuit) หรือเรียกกันย่อๆ ว่า "ไอซี" (IC) ซึ่งไอซีนี้ทาให้
ส่วนประกอบและวงจรต่างๆ สามารถวางลงได้บนแผ่นชิป (chip) เล็กๆ
เพียงแผ่นเดียว จึงมีการนาเอาแผ่นชิปมาใช้แทนทรานซิสเตอร์ทาให้
ประหยัดเนื้อที่ได้มาก
ยุคที่ 3 พ.ศ. 2507-2512

ใช้อุปกรณ์ วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) หรือ ไอซี และ
วงจรรวมสเกลขนาดใหญ่ (Large Scale Integration : LSI)
เป็นอุปกรณ์หลัก
ความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคาสั่ง ประมาณหนึ่งในล้านของวินาที
(Microsecond : mS) (สูงกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1
ประมาณ 1,000 เท่า)
ทางานได้ด้วยภาษาระดับสูงทั่วไป
ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 3

 เป็นยุคที่นาสารกึ่งตัวนามาสร้างเป็นวงจรรวมความจุสูงมาก (Very
Large Scale Integrated : VLSI) ซึ่งสามารถย่อส่วนไอซี
ธรรมดาหลายๆ วงจรเข้ามาในวงจรเดียวกัน และมีการประดิษฐ์ ไมโคร
โพรเซสเซอร์ (Microprocessor) ขึ้น ทาให้เครื่องมีขนาดเล็ก ราคา
ถูกลง และมีความสามารถในการทางานสูงและรวดเร็วมาก จึงทาให้มี
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) ถือกาเนิด
ขึ้นมาในยุคนี้
ยุคที่ 4 พ.ศ. 2513-2532

ใช้อุปกรณ์ วงจรรวมสเกลขนาดใหญ่ (Large Scale
Integration : LSI) และ วงจรรวมสเกลขนาดใหญ่มาก (Very
Large Scale Integration : VLSI) เป็นอุปกรณ์หลัก
มีความเร็วในการประมวลผลแต่ละคาสั่ง ประมาณหนึ่งในพันล้านวินาที
(Nanosecond : nS) และพัฒนาต่อมาจนมีความเร็วในการ
ประมวลผลแต่ละคาสั่ง ประมาณหนึ่งในล้านล้านของวินาที
(Picosecond : pS)
ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 4

 ในยุคนี้ ได้มุ่งเน้นการพัฒนา ความสามารถในการทางานของระบบ
คอมพิวเตอร์ และ ความสะดวกสบายในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์
อย่างชัดเจน มีการพัฒนาสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาขนาดเล็ก
ขนาดเล็ก (Portable Computer) ขึ้นใช้งานในยุคนี้
โครงการพัฒนาอุปกรณ์ VLSI ให้ใช้งานง่าย และมีความสามารถสูงขึ้น
รวมทั้งโครงการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial
Intelligence : AI) เป็นหัวใจของการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ในยุคนี้
โดยหวังให้ระบบคอมพิวเตอร์มีความรู้ สามารถวิเคราะห์ปัญหาด้วยเหตุผล
ยุคที่ 5 พ.ศ. 2533 จนถึงปัจจุบัน

video
https://youtu.be/85hCYN3A_XY
รายชื่อสมาชิก
นายอภินันท์ ทรัพย์อรัญ
ม.5/5 เลขที่ 6
นางสาวปวรรัตน์ เขมทโรนนท์
ม.5/5 เลขที่ 9

More Related Content

Viewers also liked (20)

Media richness eva holzer
Media richness eva holzerMedia richness eva holzer
Media richness eva holzer
 
Bueno
BuenoBueno
Bueno
 
Problemes del compostatge
Problemes del compostatgeProblemes del compostatge
Problemes del compostatge
 
Demon King
Demon KingDemon King
Demon King
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Juandavid
JuandavidJuandavid
Juandavid
 
Fidelio Food and Beverage
Fidelio Food and BeverageFidelio Food and Beverage
Fidelio Food and Beverage
 
Finerva template
Finerva templateFinerva template
Finerva template
 
C.27 el gripau blau
C.27 el gripau blauC.27 el gripau blau
C.27 el gripau blau
 
Seminário de Politicas públicas
Seminário de Politicas públicas Seminário de Politicas públicas
Seminário de Politicas públicas
 
Back page
Back pageBack page
Back page
 
C.3 arrels
C.3 arrelsC.3 arrels
C.3 arrels
 
Ciclo del carbono
Ciclo del carbonoCiclo del carbono
Ciclo del carbono
 
Arbol genealogico felix
Arbol genealogico felixArbol genealogico felix
Arbol genealogico felix
 
Cosmin2
Cosmin2Cosmin2
Cosmin2
 
Selección de personal
Selección de personal  Selección de personal
Selección de personal
 
Quem sou deixa_marca
Quem sou deixa_marcaQuem sou deixa_marca
Quem sou deixa_marca
 
Oficina pnrs oportunidades 11 3 14 ssa
Oficina pnrs oportunidades 11 3 14 ssaOficina pnrs oportunidades 11 3 14 ssa
Oficina pnrs oportunidades 11 3 14 ssa
 
Cuadro de subjetividad
Cuadro de subjetividadCuadro de subjetividad
Cuadro de subjetividad
 
Ap. esp. 5 cultura
Ap. esp. 5 culturaAp. esp. 5 cultura
Ap. esp. 5 cultura
 

Similar to ประวัตคอม แพรว-1

ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
Tewit Chotchang
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
piyarut084
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
Sakulrut
 
อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์
Arnon2516
 
กำเนิดคอมพิวเตอร์
กำเนิดคอมพิวเตอร์กำเนิดคอมพิวเตอร์
กำเนิดคอมพิวเตอร์
rogozo123
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
Chadarat37
 
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
uthenmada
 
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
Bansit Deelom
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
Supaporn Pakdeemee
 

Similar to ประวัตคอม แพรว-1 (20)

ประวัติของคอมพิวเตอร์2
ประวัติของคอมพิวเตอร์2ประวัติของคอมพิวเตอร์2
ประวัติของคอมพิวเตอร์2
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
แก้0 งานที่1 ด.ช. วีละชัย ตาลสี
แก้0 งานที่1 ด.ช. วีละชัย ตาลสีแก้0 งานที่1 ด.ช. วีละชัย ตาลสี
แก้0 งานที่1 ด.ช. วีละชัย ตาลสี
 
อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
กำเนิดคอมพิวเตอร์
กำเนิดคอมพิวเตอร์กำเนิดคอมพิวเตอร์
กำเนิดคอมพิวเตอร์
 
รู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมรู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอม
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
 
ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0
ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0
ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0
 
ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์
 
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 

More from Boom Sar

ประวัตคอม แพรว-1
ประวัตคอม แพรว-1ประวัตคอม แพรว-1
ประวัตคอม แพรว-1
Boom Sar
 
คอมแพรว ใบงานใหม่
คอมแพรว ใบงานใหม่คอมแพรว ใบงานใหม่
คอมแพรว ใบงานใหม่
Boom Sar
 

More from Boom Sar (13)

นาย อภินันท์ ทรัพย์อรัญ
นาย อภินันท์ ทรัพย์อรัญนาย อภินันท์ ทรัพย์อรัญ
นาย อภินันท์ ทรัพย์อรัญ
 
ประวัตคอม แพรว-1
ประวัตคอม แพรว-1ประวัตคอม แพรว-1
ประวัตคอม แพรว-1
 
ประวัตคอม แพรว-1
ประวัตคอม แพรว-1ประวัตคอม แพรว-1
ประวัตคอม แพรว-1
 
คอมแพรว ใบงานใหม่
คอมแพรว ใบงานใหม่คอมแพรว ใบงานใหม่
คอมแพรว ใบงานใหม่
 
ประวัตคอม
ประวัตคอมประวัตคอม
ประวัตคอม
 
ประวัตคอมพิวเตอร์
ประวัตคอมพิวเตอร์ประวัตคอมพิวเตอร์
ประวัตคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ระบบสารสนเทศเพื่อช่วยในการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อช่วยในการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อช่วยในการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อช่วยในการตัดสินใจ
 
ระบบสารสนเทศเพื่อช่วยในการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อช่วยในการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อช่วยในการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อช่วยในการตัดสินใจ
 
ความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญ
 
ใบงานเรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสาระสนเทศ
ใบงานเรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสาระสนเทศใบงานเรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสาระสนเทศ
ใบงานเรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสาระสนเทศ
 
Course Outline
Course OutlineCourse Outline
Course Outline
 
บริการต่างๆบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 

ประวัตคอม แพรว-1