SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
กฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์
กฎหมายแพ่ง หมายถึง กฎหมาย
เอกชนที่กำาหนดความสัมพันธ์
ระหว่างเอกชนกับเอกชนด้วยกันใน
ฐานะที่เท่าเทียมกัน โดยกำาหนด
ความสัมพันธ์ในเรื่องบุคคล หนี้
ทรัพย์สิน ครอบครัว และมรดก
สำาหรับประเทศไทยนั้นกฎหมายแพ่ง
ถูกรวบรวมเข้าไว้ในรูปของประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
กฎหมายพาณิชย์ หมายถึง กฎหมายเอกชนที่
เกี่ยวกับหลักปฏิบัติในทางการค้าที่ใช้กันอยู่
ทั่วไปในภาคธุรกิจ เนื่องจากกฎหมายพาณิชย์
เกิดจากธรรมเนียมปฏิบัติและกฎเกณฑ์ทางการ
ค้าของพ่อค้าวาณิชจึงเรียกกฎหมายพาณิชย์
ว่า กฎหมายพ่อค้า กฎหมายพาณิชย์ ได้แก่
กฎหมายหมาหุ้นส่วนบริษัท กฎหมายตั๋วเงิน
กฎหมายประกันภัยกฎหมายพาณิชย์นาวี
กฎหมายล้มละลาย เป็นต้น
การจัดทำาประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
หลักจากรัชกาลที่ 5 ตัดสินพระทัยปฏิรูประบบ
กฎหมายตามแบบตะวันตกเพื่อให้ประเทศไทย
หลุดพันจากสิทธิภาพนอกอาณาเขตและให้
กฎหมายไทยทันสมัยเหมาะสมกับสภาพสังคม
สมัยใหม่ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำาประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ขึ้น จนกระทั่งปี พ.ศ.
2466 ตรงกับสมัยราชกาลที่ 6 ได้มีการประกาศ
ใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์2 บรรพ
แรก โดยได้จัดทำาภายใต้อิทธิพลของประมวล
กฎหมายแพ่งฝรั่งเศสหลังจากประกาศใช้เพียง 2
ปีก็ได้มีการวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากกว่าอ่าน
แล้วไม่เข้าใจ อ่านไม่รู้เรื่อง จึงได้ยกเลิก
ลักษณะสำาคัญของประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์
ตัวอย่าง
สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งต้องทำาเป็น
หนังสือ และจดทะเบียนต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่
หรืออาจจะทำาเป็นสัญญาจะซื้อ จะขาย ก่อนจะไป
จดทะเบียนต่อเจ้าพนักงานก็ได้ เช่น การซื้อขาย
ที่ดินสัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ ถ้าราคาตกลง
กัน 500 บาท หรือมากกว่านั้น ก็ต้องมีหลักฐาน
เป็นหนังสือ มีการวางมัดจำาหรือมีการชำาระหนี้
บางส่วนจึงจะฟ้องร้องบังคับคดีกันได้ ถ้าหากฝ่าย
ใด ฝ่ายหนึ่งผิดสัญญา ส่วนราคาทรัพย์ตำ่ากว่านี้ก็
ไม่ต้องทำาเป็นหนังสือ ก็ฟ้องร้องบังคับคดีกันได้
กฎหมายลักษณะบุคคลกฎหมายลักษณะบุคคล
ความหมายของกฎหมายลักษณะบุคคล
บุคคล หมายถึงสิ่งที่กฎหมายรับรองให้มีสิทธิและหน้าที่ได้
“ ”ตามกฎหมายซึ่งเรียนกว่า ผู้ทรงสิทธิ เช่น มนุษย์ บริษัท
หรือพรรคการเมือง กฎหมายรับรองให้เป็นบุคคลและให้มี
สิทธิหน้าที่ตามกฎหมาย ส่วนพืชและสัตว์ไม่ถือว่าเป็นบุคคล
จึงไม่อาจมีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมายได้พืชและสัตว์เป็นได้
แค่ทรัพย์เท่านั้น เช่น สุนัขไม่มีสิทธิที่เป็นเจ้าของ
ปลอกคอ เพราะสุนัขไม่ใช้ บุคคลจึงไม่สามารถมี
สิทธิเป็นเจ้าของทรัพย์ได้
ตัวอย่างหัวข้อ
บุคคลธรรมดา
นางลำายอง มารดาของ เด็กหญิงอ้อย ถูกนาย
เทพบุตร ชกท้อง เป็นเหตุให้ เด็กหญิงอ้อย ซึ่ง
อยู่ในครรภ์นางลำายอง ขณะนั้นได้รับความ
กระทบกระเทือน เมื่อคลอดเด็กหญิงอ้อย จึง
พิการด้านสมองมีพัฒนาการช้า ดังนี้ เด็กหญิง
อ้อย จึงมีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายจากนาย
นายเทพบุตร ฐานละเมิดได้
ตัวอย่างหัวข้อ
นิติบุคคลบริษัท สามพี่น้อง จำากัด มีวัตถุประสงค์
เพื่อประกอบกิจการขายเครื่องสำาอาง
ดังนั้น บริษัทสามพี่น้อง จำากัด ย่อมไม่มี
สิทธิจะดำาเนินการขายประกัน ขาย
อุปกรณ์การเรียน ขายรถยนต์ หรือขาย
สิ่งอื่นที่อยู่นอกเหนือจากวัตถุประสงค์
ของบริษัท
ภูมิลำำเนำของบุคคลภูมิลำำเนำของบุคคล
ภูมิลำำเนำของบุคคล
ธรรมดำ
ภูมิลำำเนำของนิติบุคคล
ตัวอย่ำงหัวข้อภูมิลำำเนำ
ของนิติบุคคล
บริษัท สำมพี่น้อง จำำกัด มีสำำนักงำนใหญ่
อยู่ที่เชียงใหม่ ดังนั้น บริษัทสำมพี่น้อง จึง
มีภูมิลำำเนำอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่
คำำถำมคำำถำม
1.ประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ แบ่ง
ออกเป็นกี่บรรพ ทั้งหมด
ก. 4 บรรพ ข. 5 บรรพ
ค. 6 บรรพ ง. 7 บรรพ
2. บรรพ 6 มรดก เป็นบรรพที่บัญญัติหลัก
เกณฑ์เกี่ยวกับอะไร
ก. เป็นบรรพที่บัญญัติหลักกำรทั่วไปเกี่ยวกับหนี้
ข. เป็นบรรพที่บัญญัติหลักเกณฑ์ของสัญญำ
ต่ำงๆ
ค. เป็นบรรพที่บัญญัติหลักเกณฑ์เกี่ยวกับ
ครอบครัว
ง. เป็นบรรพที่บัญญัติหลักเกณฑ์เกี่ยวกับกอง
๓. ประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ได้แบ่ง
ได้กี่ประเภท
ก. ๒ ประเภท ข. ๓ ประเภท
ค. ๔ ประเภท ง. ๕ ประเภท
๔.ข้อใดคือประเภทของนิติบุคคล
ก. นิติบุคคลเอกชน ข. นิติบุคคลมหำชน
ค. สภำพบุคคล ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข
๕. ภูมิลำำเนำของบุคคลธรรมดำ จะต้อง
ประกอบด้วยหลักเกณฑ์กี่ประกำร
ก. ๒ ประกำร ข. ๓ ประกำร
ค. ๔ ประกำร ง. ๕ ประกำร
สมำชิกกลุ่ม
1.นำงสำวสุทธิชำ ประสิทธิ์กสิ
กรณ์ 531121023
2.นำงสำวปำริชำต หลอมทอง
531121031
3.นำงสำวอรุโณทัย กันเกิด
531121044
4.นำยนัสฮูดิน ตำแยะ
531121023

More Related Content

More from Yosiri

กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลYosiri
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนYosiri
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันYosiri
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาYosiri
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวYosiri
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลYosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก Yosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม Yosiri
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17Yosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวYosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 

More from Yosiri (20)

กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคล
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 

กฎหมายบุคคล