SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
2.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ ( Computer ) เป็นอุปกรณ์ที่ประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์และไอซี
( Integrated Circuit : IC ) ต่าง ๆ มากมาย ซึ่งสามารถจดจา ประมวลผลข้อมูล เปรียบเทียบ
ตัดสินใจทางตรรกศาสตร์คานวณทางคณิตศาสตร์ สามารถตอบสนองความต้องการด้านอื่น ๆ ได้อย่าง
หลากหลายคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบพื้นฐาน 5 หน่วย ได้แก่ หน่วยรับเข้า
( Input Unit ) หน่วยประมวลผลกลาง ( Central Processing Unit : CPU )
หน่วยความจา ( Memory Unit ) หน่วยส่งออก ( Output Unit ) และหน่วยเก็บข้อมูล
( Storage Unit )
2.2 หลักการทางานของคอมพิวเตอร์
หลัก การทางานของคอมพิวเตอร์จะเป็นไปตามที่โปรแกรมได้กาหนดไว้ โดยตัวเครื่องคอมพิวเตอร์หรือที่
เรียกว่าฮาร์ดแวร์ จะมีส่วนประกอบสาคัญขั้นพื้นฐาน 5 หน่วย ซึ่งแต่ละหน่วยจะมีหลักการทางาน ดังนี้
1. หน่วยรับข้อมูล ( input unit ) ทา หน้าที่รับข้อมูลมาจัดเก็บที่หน่วยความจาหลักของคอมพิวเตอร์
จากนั้นเมื่อมีคาสั่งให้ประมวลผล ข้อมูลที่ถูกจัดเก็บไว้ที่หน่วยความจาจะถูกส่งไปยังหน่วยประมวลผล
2. หน่วยประมวลผลกลาง ( central processing unit ) ทาหน้าที่ประมวลผลให้ได้ผลลัพธ์ตามที่
ต้องการ จากนั้นผลลัพธ์จะถูกส่งไปจัดเก็บที่หน่วยความจาหลัก
3. หน่วยความจาหลัก ( main memory ) ทา หน้าที่จัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมต่างๆ ในขณะที่เครื่อง
คอมพิวเตอร์เปิดอยู่เท่านั้น ถ้าปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลหรือโปรแกรมนั้นจะสูญหายไป
4. หน่วยแสดงผล ( output unit ) ทาหน้าที่นาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมาแสดงผลหรือจัดเก็บ
ไว้ที่หน่วยความจารอง
5. หน่วยความจารอง ( secondary storage ) ทา หน้าที่จัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมต่างๆ เพื่อ
นามาใช้อีกครั้งในภายหลังได้ แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลและโปรแกรมที่จัดเก็บไว้จะไม่สูญหาย
2.3 การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ให้
เหมาะสมกับงาน
งานเอกสาร หรืองานในสานักงาน เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทางานใน
ประเภทนี้ไม่จาเป็นต้องใช้ซีพียูที่มีความ เร็วสูง คือประมาณ 1 GHz
ขึ้นไป แต่ควรมีแรมอย่างน้อย 1GB และอาจเลือกใช้จอภาพแบบแอล
ซีดีขนาดใหญ่ 17-19 นิ้วเพื่อถนอมสายตา เนื่องจากลักษณะงานต้อง
จ้องมองจอภาพตลอดเวลา
งานกราฟิก เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานประเภทนี้จาเป็นต้องมีซีพียูที่
มีความเร็ว อยู่ในระดับปานกลางถึงค่อนข้างสูง ประมาณ 2 Ghz ขึ้น
ไป ใช้แรมอย่างน้อย 2 GB ขึ้นไป และมีฮาร์ดดิสก์ที่มีความจุสูงเพื่อ
ใช้ในการเก็บข้อมูลจานวนมาก
งานออกแบบที่ต้องแสดงผลเป็น 3 มิติ งานประเภทนี้ต้องการเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถในการคานวณ และแสดงภาพความ
ละเอียดสูงสุดได้ดังนั้น ควรเลือกซีพียูที่มีความเร็วสูงไม่น้อยกว่า2
Ghz มีแรมอย่างน้อย 4 GB การ์ดแสดงผลที่สามารถแสดงภาพที่มี
ความละเอียดสูงได้ดี ควรใช้จอภาพขนาดไม่ต่ากว่า 24 นิ้ว
2.4 การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
สาหรับ ผู้เริ่มใช้คอมพิวเตอร์ ไม่ควรซื้ออุปกรณ์มาประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์เอง ควรเลือก
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่จัดขายเป็นชุดให้แล้ว และเลือกซื้อจากบริษัทที่เชื่อถือได้เนื่องจากผู้ผลิตได้
เลือกอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เหมาะสมมาประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่แล้ว
หลักในการพิจารณาเลือกซื้ออุปกรณ์
แต่ล่ะชนิดมีดังนี้
2.4.1 ซีพียู เป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญที่สุดและเป็นปัจจัยแรกในการ
พิจารณาเมื่อคิดที่จะซื้อหรือประกอบคอมพิวเตอร์ เนื่องจากมีผลต่อการ
เลือกซื้ออุปกรณ์อื่น เช่น เมนบอร์ด เป็นต้น และซีพียูยังเป็นอุปกรณ์ที่
ทาหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์อีกด้วย
ปัจจัยในการเลือกซื้อ
1) บริษัทผู้ผลิต
2) ความเร็วของซีพียู
3) หน่วยความจาแคช
4) ความเร็วบัส
2.4.2 เมนบอร์ด ( mainboard ) หรือ อาจเรียกว่า มา
เธอร์บอร์ด หรือโมโบ( mother board: mobo )
เป็นแผงวงจรหลักของคอมพิวเตอร์
สาหรับเชื่อมต่ออุปกรณ์เสริมภายใน เช่น ฮาร์ดดิสก์
ซีดีไดร์ฟ และพอร์ตต่ออุปกรณ์รอบข้าง เช่น เมาส์ และ
คีย์บอร์ด
โดยทั่วไปการระบุคุณลักษณะของเมนบอร์ดในชุด
คอมพิวเตอร์สาเร็จอาจระบุเฉพาะชนิด หรือจานวนของ
พอร์ตและสล็อต เช่น พอร์ต USB หรือสล็อต PCI ซึ่ง
เป็นส่วนประกอบหนึ่งของเมนบอร์ดเท่านั้น
สาหรับ ผู้ใช้ที่ต้องการเปลี่ยนเมนบอร์ด สิ่งที่ต้อง
คานึงถึงในการเลือกซื้อเมนบอร์ด เช่น ซ็อกเก็ตซีพียู
ฟรอนต์ไซด์บัส สล็อตหน่วยความจา ช่องสาหรับติดตั้ง
อุปกรณ์ต่าง ๆ หรือสล็อต พอร์ต ขั้วต่อและรูปแบบ
หรือฟอร์มแฟกเตอร์
2.4.3 แรม ในการเลือกซื้อแรมเพื่อนามาใช้งานกับพีซี
มักจะเป็นแรมชนิดดีดีอาร์ เอสดีแรม( Double Data
Rate Synchronous Dynamic RAM: DDR SDRAM )
ซึ่งจะต้องพิจารณาประเภทของแรมให้ตรงกับสล็อต
หน่วยความจาบนเมนบอร์ด และสิ่งที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์
ทั่วไป
ควรให้ความสาคัญในลาดับต่อมา คือ ขนาดความจุและ
ความเร็ว ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญที่ต้องนามาพิจารณาด้วย
ตัวอย่างการระบุคุณลักษณะของแรม ดังรูป
ปัจจัยในการพิจารณาเลือกซื้อแรม
1) ประเภทของแรม
2) ความจุ
3) ความเร็วของแรม
2.4.4 ฮาร์ดดิสก์ ( hard disk ) เป็น อุปกรณ์ในการ
เก็บข้อมูล ฮาร์ดดิสก์ที่ใช้กันในพีซี โดยทั่วไป คือ
ฮาร์ดดิสก์ขนาด 3.5 นิ้ว สาหรับฮาร์ดดิสก์ที่มีขนาด
2.5 และ 1.8 นิ้ว นั้นนิยมใช้กับโน้ตบุ๊ก
การพิจารณาเลือกซื้อฮาร์ดดิสก์ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลาย
อย่าง เช่น การเชื่อมต่อ ความจุของข้อมูล และ
ความเร็วรอบของฮาร์ดดิสก์ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะทาให้
ฮาร์ดดิสก์มีราคาแตกต่างกัน
ปัจจัยในการพิจารณาเลือกซื้อฮาร์ดดิสก์
1) การเชื่อมต่อ
2) ความจุของข้อมูล
3) ความเร็วรอบ
2.4.5 การ์ดแสดงผล ( display card , graphics
card หรือ video card ) ทาหน้าที่แปลงข้อมูล
ดิจิทัลมาเป็นสัญญาณที่ส่งไปที่จอภาพ การ์ด
แสดงผลอาจอยู่ในรูปแบบการ์ดหรืออาจติดตั้งมา
บนเมนบอร์ดแล้ว
ปัจจัยในการเลือกซื้อการ์ดแสดงผล
1) ชิปประมวลผลกราฟิก หรือจีพียู( graphic
processing unit: GPU )
2) การเชื่อมต่อ มี 2 แบบ คือ แบบใช้กับบัส PCI
Express และบัส AGP
3) ความจุของหน่วยความจาบนการ์ด
หน่วยความจาบนการ์ด ( Video RAM )
2.4.6 ออปติคัลดิสก์ไดร์ฟ ( Optical disk drive) ที่ ใช้กันในปัจจุบัน
เช่น ซีดีไดร์ฟและดีวีดีไดร์ฟเป็นอุปกรณ์มาตรฐานที่พีซีทุกเครื่องควรมี
จะพิจารณาจากความเร็วในการอ่านและบันทึกข้อมูลซึ่งแต่ละชนิดจะระบุ
ความเร็วไว้แตกต่างกันตามชนิดของออปติคัลดิสก์ไดร์ฟดังนี้
1. ซีดีไดร์ฟ ( Compact Disc Drive: CD Drive) ใช้อ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีได้
อย่างเดียว
2. ดีวีดีไดร์ฟ (Digital Versatile Disc Drive: DVD Drive) ใช้อ่านข้อมูลได้ทั้ง
แผ่นซีดีและแผ่นดีวีดี แต่ไม่สามารถเขียนหรือบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นซีดีหรือ
ดีวีดีได้
3. ซีดีอาร์ดับบลิวไดร์ฟ (Compact Disc Rewritable Drive: CD-RW Drive)
สามารถอ่านและเขียนข้อมูลลงบนแผ่นซีดีได้มีการระบุค่าความเร็ว เช่น
52x/32x/52x หมายความว่าความเร็วในการเขียน CD-R เท่ากับ 52x
ความเร็วในการเขียนซ้า CD-RW เท่ากับ 32x และความเร็วในการอ่าน CD-
ROM เท่ากับ 52x
4. คอมโบไดร์ฟ (Combo Drive) สามารถอ่านและเขียนข้อมูลบนแผ่นซีดี และ
อ่านข้อมูลจากแผ่นดีวีดี มีการระบุค่าความเร็ว เช่น 52x/32x/52x/16x
5. ดีวีดีอาร์ดับบลิวไดร์ฟ (Digital Versatile Disc Rewritable Drive:
DVD+RW Drive) สามารถอ่านและเขียนข้อมูลได้ทั้งแผ่นซีดีและแผ่นดีวีดี
มีการระบุค่าความเร็ว เช่น 20x/12x/20x/8x
2.4.7 เคส ( case ) โดย ทั่วไปมีลักษณะเป็น
กล่องสี่เหลี่ยม ทาหน้าที่เป็นโครงยึดให้กับ
อุปกรณ์ภายในต่าง ๆ ที่ประกอบกันเป็นเครื่อง
คอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ยังทาหน้าที่ในการ
ป้องกันความเสียหายที่จะเกิดกับอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ภายในเคส
หลักในการพิจารณาเลือกซื้อเคส
- มีช่องระบายอากาศและระบบระบายความร้อน
- มีพื้นที่หรือช่องที่จะเพิ่มอุปกรณ์ได้เช่น การเพิ่ม
ฮาร์ดดิสก์ การเพิ่มซีดี/ดีวีดีไดร์ฟ
- ลักษณะของเคส เช่น เคสในแนวนอน ที่เรียกว่า
เดสก์ท็อปเคส ( desktop case) และเคสใน
แนวตั้งที่เรียกว่า ทาวเวอร์เคส ( tower case )
ตัวอย่างของเคสแบบต่าง ๆ ดังรูป
2.4.8 จอภาพ ( monitor) ที่ พบจะมีอยู่ 2 ประเภท
คือ จอซีอาร์ที ( Cathode Ray Tube: CRT)
และจอแอลซีดี ( Liquid Crystal Display:
LCD) ซึ่งในปัจจุบันจอแอลซีดีเป็นที่นิยมมาก
เนื่องจากมีราคาถูก ถนอมสายตา ประหยัด
พลังงาน และใช้พื้นที่ในการจัดวางน้อย
ปัจจัยในการเลือกซื้อจอภาพ
- ความละเอียดของภาพ ( resolution ) หมาย ถึง
จานวนจุดหรือพิกเซลบนจอภาพ ถ้าหากมีความ
ละเอียดสูงจะทาให้ภาพคมชัดมากขึ้น
- ขนาด ( size ) ขนาดของจอภาพจะวัดเป็นแนว
ทแยงมุม เช่น จอแบบ 19 นิ้ว และแบบ 21 นิ้ว
2.5 การรับประกันอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์จะมีการรับประกันอายุการใช้งาน อุปกรณ์แต่ละชนิดจะ
มีระยะเวลารับประกันต่างกัน เช่น แรม รับประกันตลอดอายุการใช้งาน
( life time ) และฮาร์ดดิสก์อาจรับประกัน1-5 ปี โดยอายุของการรับประกัน
ที่นานขึ้น อาจมีผลทาให้ราคาสูงขึ้น บนอุปกรณ์บางชนิดจะมีสติ๊กเกอร์
รับประกันติดอยู่บนตัวอุปกรณ์ซึ่งหากมีการ ฉีกขาด การรับประกันจะสิ้นสุด
ลงทันที ดังนั้นจึงควรระมัดระวังเมื่อเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ชนิดต่าง ๆ
2.6 ข้อแนะนาการดูแลและบารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
เบื้องต้น
1. ไม่ควรเปิดฝาเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่จาเป็น เนื่องจากอาจมีโลหะที่นาไฟฟ้าเข้าไปในเครื่องทาให้เกิดการลัดวงจร
หรือมีฝุ่นเข้าไปในตัวเครื่อง ฝุ่นนี้จะเป็นตัวเก็บความชื้นทาให้วงจรคอมพิวเตอร์ทางานผิดพลาดได้
2. ไม่ควรตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ไว้ในสถานที่ที่มีอุณหภูมิสูง เนื่องจากจะส่งผลให้ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์เสื่อมสภาพเร็ว
ขึ้น
3. ไม่ควรตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ใกล้กับประตูหรือหน้าต่างเนื่องจากอาจโดนแสงแดดหรือฝนสาดเข้ามาได้
4. ไม่ควรวางจอคอมพิวเตอร์ใกล้กับสนามแม่เหล็กหรือลาโพงตัวใหญ่ ๆ เนื่องจากสนามแม่เหล็กจะทาให้การแสดงภาพ
ผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริง
5. ถ้าหากที่บ้านไฟตกหรือมีไฟกระชากควรมีเครื่องสารองไฟยูพีเอส (Uninterruptible power supply: UPS)
6. ควรตั้งโหมดประหยัดพลังงานให้กับเครื่องเพื่อถนอมอายุการใช้งานของเครื่องการทางานในโหมดนี้จะทาให้
ฮาร์ดดิสก์และซีพียูทางานน้อยลงเมื่อไม่มีการใช้เครื่องในระยะเวลาที่กาหนด
7. ไม่ควรวางของเหลวใกล้กับเครื่องคอมพิวเตอร์
8. ไม่ควรปิดเครื่องโดยการกดสวิตซ์ปิด ควรใช้คาสั่งปิดระบบปฏิบัติการ เนื่องจากระบบปฏิบัติการต้องดาเนินการ
ตรวจสอบสถานะการทางานต่างๆ ของฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ก่อนจะหยุดการทางาน
2.7 การแก้ไขปัญหาเบื้องต้นของพีซี
1. เครื่องหยุดการทางานขณะใช้งานอยู่
สาเหตุ แหล่งจ่ายไฟจ่ายกาลังไฟฟ้าไม่พอ อาจเกิดจากมีอุปกรณ์ต่อพ่วงอยู่กับคอมพิวเตอร์เป็นจานวนมาก
การแก้ไข นาอุปกรณ์ที่ไม่จาเป็นที่ต่อพ่วงอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ออกไปหรือเปลี่ยนแ หล่งจ่ายไฟที่มีกาลังไฟฟ้ามากขึ้น
2. เปิดเครื่องแล้วปรากฎข้อความว่า " DISK BOOT FAILURE , INSERT DISK SYSTEM PRESS ENTER"
สาเหตุ เครื่องบูตไม่พบฮาร์ดดิสก์หรือระบบปฏิบัติการบนฮาร์ดดิสก์เสียหาย
การแก้ไข ตรวจสอบโปรแกรมไบออสว่า บูตฮาร์ดดิสก์ในตาแหน่งที่ถูกต้องหรือไม่ หรือติดตั้งระบบปฏิบัติการบนฮาร์ดดิสก์
3. อ่านหรือเขียนแผ่นซีดี/ดีวีดีไม่ได้
สาเหตุ หัวอ่านเลเซอร์ของไดร์ฟสกปรก
การแก้ไข ให้ใช้แผ่นซีดีทาความสะอาดหัวอ่านโดยใส่แผ่นซีดีสาหรับทาความสะอาดเข้าไปในไดร์ฟ แปรงขนาดเล็กที่อยู่ใต้แผ่นซีดี
จะปัดทาความสะอาดหัวอ่านเลเซอร์ของไดร์ฟ
4. เครื่องรีสตาร์ต (restart) เองขณะใช้งาน
สาเหตุ ซีพียูมีความร้อนสูง
การแก้ไข ตรวจสอบพัดลมของซีพียูว่าทางานหรือไม่ สายที่ต่ออยู่แน่นหรือไม่

More Related Content

What's hot

Ciclo de vida de software
Ciclo de vida de softwareCiclo de vida de software
Ciclo de vida de softwarediha36
 
Презентація до 18 уроку в 8 класі "Захоплення аудіо та відео, створення аудіо...
Презентація до 18 уроку в 8 класі "Захоплення аудіо та відео, створення аудіо...Презентація до 18 уроку в 8 класі "Захоплення аудіо та відео, створення аудіо...
Презентація до 18 уроку в 8 класі "Захоплення аудіо та відео, створення аудіо...Юлія Артюх
 
відеосистема
відеосистемавідеосистема
відеосистемаkalishnatalka
 
Arquitetura cliente servidor
Arquitetura cliente servidorArquitetura cliente servidor
Arquitetura cliente servidorMarcia Abrahim
 
Exercicios organelas
Exercicios organelas Exercicios organelas
Exercicios organelas Juliana Pedro
 
Artrite idiopática juvenil
Artrite idiopática juvenilArtrite idiopática juvenil
Artrite idiopática juvenilpauloalambert
 
Modelo Incremental - Engenharia de Software
Modelo Incremental - Engenharia de SoftwareModelo Incremental - Engenharia de Software
Modelo Incremental - Engenharia de SoftwareDaniela Franciosi
 
Apostila de Fundamentos Java
Apostila de Fundamentos JavaApostila de Fundamentos Java
Apostila de Fundamentos JavaMarcio Marinho
 
Aula 01 introdução à embriologia
Aula 01   introdução à embriologiaAula 01   introdução à embriologia
Aula 01 introdução à embriologiamikerondon
 
7 клас 6 урок. Етапи побудови інформаційної моделі. Побудова інформаційних м...
7 клас 6 урок. Етапи побудови інформаційної моделі.  Побудова інформаційних м...7 клас 6 урок. Етапи побудови інформаційної моделі.  Побудова інформаційних м...
7 клас 6 урок. Етапи побудови інформаційної моделі. Побудова інформаційних м...StAlKeRoV
 
Бактеріальні інфекції новонароджених к мед н., доцент Т. В. Баут.ppt
Бактеріальні інфекції новонароджених к мед н., доцент Т. В. Баут.pptБактеріальні інфекції новонароджених к мед н., доцент Т. В. Баут.ppt
Бактеріальні інфекції новонароджених к мед н., доцент Т. В. Баут.pptAnastasya4669
 

What's hot (20)

Ácidos nucléicos
Ácidos nucléicosÁcidos nucléicos
Ácidos nucléicos
 
Ciclo de vida de software
Ciclo de vida de softwareCiclo de vida de software
Ciclo de vida de software
 
Презентація до 18 уроку в 8 класі "Захоплення аудіо та відео, створення аудіо...
Презентація до 18 уроку в 8 класі "Захоплення аудіо та відео, створення аудіо...Презентація до 18 уроку в 8 класі "Захоплення аудіо та відео, створення аудіо...
Презентація до 18 уроку в 8 класі "Захоплення аудіо та відео, створення аудіо...
 
відеосистема
відеосистемавідеосистема
відеосистема
 
Arquitetura cliente servidor
Arquitetura cliente servidorArquitetura cliente servidor
Arquitetura cliente servidor
 
Exercicios organelas
Exercicios organelas Exercicios organelas
Exercicios organelas
 
Como funciona a internet
Como funciona a internetComo funciona a internet
Como funciona a internet
 
Artrite idiopática juvenil
Artrite idiopática juvenilArtrite idiopática juvenil
Artrite idiopática juvenil
 
Hemofilia
HemofiliaHemofilia
Hemofilia
 
Pascal (динамічні структури даних)
Pascal (динамічні структури даних)Pascal (динамічні структури даних)
Pascal (динамічні структури даних)
 
Лекція "Анемії" (№2)
Лекція "Анемії" (№2)Лекція "Анемії" (№2)
Лекція "Анемії" (№2)
 
Modelo Incremental - Engenharia de Software
Modelo Incremental - Engenharia de SoftwareModelo Incremental - Engenharia de Software
Modelo Incremental - Engenharia de Software
 
Apostila de Fundamentos Java
Apostila de Fundamentos JavaApostila de Fundamentos Java
Apostila de Fundamentos Java
 
7 klas 2_urok_m
7 klas 2_urok_m7 klas 2_urok_m
7 klas 2_urok_m
 
Aula 01 introdução à embriologia
Aula 01   introdução à embriologiaAula 01   introdução à embriologia
Aula 01 introdução à embriologia
 
Pathophysiology of the liver 2018 (ukrainian language)
Pathophysiology of the liver 2018 (ukrainian language)Pathophysiology of the liver 2018 (ukrainian language)
Pathophysiology of the liver 2018 (ukrainian language)
 
Clonagem ciencias
Clonagem cienciasClonagem ciencias
Clonagem ciencias
 
Exercícios cito acidos nucleicos
Exercícios cito acidos nucleicosExercícios cito acidos nucleicos
Exercícios cito acidos nucleicos
 
7 клас 6 урок. Етапи побудови інформаційної моделі. Побудова інформаційних м...
7 клас 6 урок. Етапи побудови інформаційної моделі.  Побудова інформаційних м...7 клас 6 урок. Етапи побудови інформаційної моделі.  Побудова інформаційних м...
7 клас 6 урок. Етапи побудови інформаційної моделі. Побудова інформаційних м...
 
Бактеріальні інфекції новонароджених к мед н., доцент Т. В. Баут.ppt
Бактеріальні інфекції новонароджених к мед н., доцент Т. В. Баут.pptБактеріальні інфекції новонароджених к мед н., доцент Т. В. Баут.ppt
Бактеріальні інфекції новонароджених к мед н., доцент Т. В. Баут.ppt
 

Viewers also liked

องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4Kru Jhair
 
เรื่ององค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์
เรื่ององค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์เรื่ององค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์
เรื่ององค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์เผ่า พันธโคตร
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ranoopook
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์chaiing
 
หลักการทำงานและองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานและองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานและองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานและองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Nattapon
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์พ่อ อาชีวะ
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์moemon12
 
ส่งสไลด์ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่งสไลด์  องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ส่งสไลด์  องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่งสไลด์ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์กาญจนา อรอินทร์
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์lhinnn
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์Benjapron Seesukong
 

Viewers also liked (10)

องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
 
เรื่ององค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์
เรื่ององค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์เรื่ององค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์
เรื่ององค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงานและองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานและองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานและองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานและองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ส่งสไลด์ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่งสไลด์  องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ส่งสไลด์  องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่งสไลด์ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 

Similar to บทที่ 2 : คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล

หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..Wirot Chantharoek
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์1หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์1Wirot Chantharoek
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์runjaun
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..บีหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..บีPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..แมว
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..แมวหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..แมว
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..แมวPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ขาว
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ขาวหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ขาว
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ขาวMilkSick
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ปาย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ปายหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ปาย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ปายPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ดา
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ดาหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ดา
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ดาPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..นิว
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..นิวหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..นิว
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..นิวPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลokbeer
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลokbeer
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลokbeer
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลokbeer
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลokbeer
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลokbeer
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลokbeer
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลokbeer
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลokbeer
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลokbeer
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลokbeer
 

Similar to บทที่ 2 : คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (20)

หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์1หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์1
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..บีหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..บี
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..แมว
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..แมวหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..แมว
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..แมว
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ขาว
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ขาวหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ขาว
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ขาว
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ปาย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ปายหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ปาย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ปาย
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ดา
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ดาหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ดา
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..ดา
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..นิว
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..นิวหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..นิว
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์..นิว
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผล
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผล
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผล
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผล
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผล
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผล
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผล
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผล
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผล
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผล
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผล
 

More from Todsapol Aryuyune

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารTodsapol Aryuyune
 
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์Todsapol Aryuyune
 
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์Todsapol Aryuyune
 
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์Todsapol Aryuyune
 
บทที่ 4 : วิวัฒนาการของอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 : วิวัฒนาการของอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 : วิวัฒนาการของอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 : วิวัฒนาการของอินเตอร์เน็ตTodsapol Aryuyune
 
บทที่ 3 : ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
บทที่ 3 : ระบบเครือข่ายและการสื่อสารบทที่ 3 : ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
บทที่ 3 : ระบบเครือข่ายและการสื่อสารTodsapol Aryuyune
 

More from Todsapol Aryuyune (7)

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Test1
Test1Test1
Test1
 
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 4 : วิวัฒนาการของอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 : วิวัฒนาการของอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 : วิวัฒนาการของอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 : วิวัฒนาการของอินเตอร์เน็ต
 
บทที่ 3 : ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
บทที่ 3 : ระบบเครือข่ายและการสื่อสารบทที่ 3 : ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
บทที่ 3 : ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
 

บทที่ 2 : คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล

  • 1.
  • 2. 2.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ ( Computer ) เป็นอุปกรณ์ที่ประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์และไอซี ( Integrated Circuit : IC ) ต่าง ๆ มากมาย ซึ่งสามารถจดจา ประมวลผลข้อมูล เปรียบเทียบ ตัดสินใจทางตรรกศาสตร์คานวณทางคณิตศาสตร์ สามารถตอบสนองความต้องการด้านอื่น ๆ ได้อย่าง หลากหลายคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบพื้นฐาน 5 หน่วย ได้แก่ หน่วยรับเข้า ( Input Unit ) หน่วยประมวลผลกลาง ( Central Processing Unit : CPU ) หน่วยความจา ( Memory Unit ) หน่วยส่งออก ( Output Unit ) และหน่วยเก็บข้อมูล ( Storage Unit )
  • 3. 2.2 หลักการทางานของคอมพิวเตอร์ หลัก การทางานของคอมพิวเตอร์จะเป็นไปตามที่โปรแกรมได้กาหนดไว้ โดยตัวเครื่องคอมพิวเตอร์หรือที่ เรียกว่าฮาร์ดแวร์ จะมีส่วนประกอบสาคัญขั้นพื้นฐาน 5 หน่วย ซึ่งแต่ละหน่วยจะมีหลักการทางาน ดังนี้ 1. หน่วยรับข้อมูล ( input unit ) ทา หน้าที่รับข้อมูลมาจัดเก็บที่หน่วยความจาหลักของคอมพิวเตอร์ จากนั้นเมื่อมีคาสั่งให้ประมวลผล ข้อมูลที่ถูกจัดเก็บไว้ที่หน่วยความจาจะถูกส่งไปยังหน่วยประมวลผล 2. หน่วยประมวลผลกลาง ( central processing unit ) ทาหน้าที่ประมวลผลให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ ต้องการ จากนั้นผลลัพธ์จะถูกส่งไปจัดเก็บที่หน่วยความจาหลัก 3. หน่วยความจาหลัก ( main memory ) ทา หน้าที่จัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมต่างๆ ในขณะที่เครื่อง คอมพิวเตอร์เปิดอยู่เท่านั้น ถ้าปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลหรือโปรแกรมนั้นจะสูญหายไป 4. หน่วยแสดงผล ( output unit ) ทาหน้าที่นาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมาแสดงผลหรือจัดเก็บ ไว้ที่หน่วยความจารอง 5. หน่วยความจารอง ( secondary storage ) ทา หน้าที่จัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมต่างๆ เพื่อ นามาใช้อีกครั้งในภายหลังได้ แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลและโปรแกรมที่จัดเก็บไว้จะไม่สูญหาย
  • 4. 2.3 การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ เหมาะสมกับงาน งานเอกสาร หรืองานในสานักงาน เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทางานใน ประเภทนี้ไม่จาเป็นต้องใช้ซีพียูที่มีความ เร็วสูง คือประมาณ 1 GHz ขึ้นไป แต่ควรมีแรมอย่างน้อย 1GB และอาจเลือกใช้จอภาพแบบแอล ซีดีขนาดใหญ่ 17-19 นิ้วเพื่อถนอมสายตา เนื่องจากลักษณะงานต้อง จ้องมองจอภาพตลอดเวลา งานกราฟิก เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานประเภทนี้จาเป็นต้องมีซีพียูที่ มีความเร็ว อยู่ในระดับปานกลางถึงค่อนข้างสูง ประมาณ 2 Ghz ขึ้น ไป ใช้แรมอย่างน้อย 2 GB ขึ้นไป และมีฮาร์ดดิสก์ที่มีความจุสูงเพื่อ ใช้ในการเก็บข้อมูลจานวนมาก งานออกแบบที่ต้องแสดงผลเป็น 3 มิติ งานประเภทนี้ต้องการเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถในการคานวณ และแสดงภาพความ ละเอียดสูงสุดได้ดังนั้น ควรเลือกซีพียูที่มีความเร็วสูงไม่น้อยกว่า2 Ghz มีแรมอย่างน้อย 4 GB การ์ดแสดงผลที่สามารถแสดงภาพที่มี ความละเอียดสูงได้ดี ควรใช้จอภาพขนาดไม่ต่ากว่า 24 นิ้ว
  • 5. 2.4 การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ สาหรับ ผู้เริ่มใช้คอมพิวเตอร์ ไม่ควรซื้ออุปกรณ์มาประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์เอง ควรเลือก เครื่องคอมพิวเตอร์ที่จัดขายเป็นชุดให้แล้ว และเลือกซื้อจากบริษัทที่เชื่อถือได้เนื่องจากผู้ผลิตได้ เลือกอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เหมาะสมมาประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่แล้ว
  • 6. หลักในการพิจารณาเลือกซื้ออุปกรณ์ แต่ล่ะชนิดมีดังนี้ 2.4.1 ซีพียู เป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญที่สุดและเป็นปัจจัยแรกในการ พิจารณาเมื่อคิดที่จะซื้อหรือประกอบคอมพิวเตอร์ เนื่องจากมีผลต่อการ เลือกซื้ออุปกรณ์อื่น เช่น เมนบอร์ด เป็นต้น และซีพียูยังเป็นอุปกรณ์ที่ ทาหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์อีกด้วย ปัจจัยในการเลือกซื้อ 1) บริษัทผู้ผลิต 2) ความเร็วของซีพียู 3) หน่วยความจาแคช 4) ความเร็วบัส
  • 7. 2.4.2 เมนบอร์ด ( mainboard ) หรือ อาจเรียกว่า มา เธอร์บอร์ด หรือโมโบ( mother board: mobo ) เป็นแผงวงจรหลักของคอมพิวเตอร์ สาหรับเชื่อมต่ออุปกรณ์เสริมภายใน เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีไดร์ฟ และพอร์ตต่ออุปกรณ์รอบข้าง เช่น เมาส์ และ คีย์บอร์ด โดยทั่วไปการระบุคุณลักษณะของเมนบอร์ดในชุด คอมพิวเตอร์สาเร็จอาจระบุเฉพาะชนิด หรือจานวนของ พอร์ตและสล็อต เช่น พอร์ต USB หรือสล็อต PCI ซึ่ง เป็นส่วนประกอบหนึ่งของเมนบอร์ดเท่านั้น สาหรับ ผู้ใช้ที่ต้องการเปลี่ยนเมนบอร์ด สิ่งที่ต้อง คานึงถึงในการเลือกซื้อเมนบอร์ด เช่น ซ็อกเก็ตซีพียู ฟรอนต์ไซด์บัส สล็อตหน่วยความจา ช่องสาหรับติดตั้ง อุปกรณ์ต่าง ๆ หรือสล็อต พอร์ต ขั้วต่อและรูปแบบ หรือฟอร์มแฟกเตอร์
  • 8. 2.4.3 แรม ในการเลือกซื้อแรมเพื่อนามาใช้งานกับพีซี มักจะเป็นแรมชนิดดีดีอาร์ เอสดีแรม( Double Data Rate Synchronous Dynamic RAM: DDR SDRAM ) ซึ่งจะต้องพิจารณาประเภทของแรมให้ตรงกับสล็อต หน่วยความจาบนเมนบอร์ด และสิ่งที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ทั่วไป ควรให้ความสาคัญในลาดับต่อมา คือ ขนาดความจุและ ความเร็ว ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญที่ต้องนามาพิจารณาด้วย ตัวอย่างการระบุคุณลักษณะของแรม ดังรูป ปัจจัยในการพิจารณาเลือกซื้อแรม 1) ประเภทของแรม 2) ความจุ 3) ความเร็วของแรม
  • 9. 2.4.4 ฮาร์ดดิสก์ ( hard disk ) เป็น อุปกรณ์ในการ เก็บข้อมูล ฮาร์ดดิสก์ที่ใช้กันในพีซี โดยทั่วไป คือ ฮาร์ดดิสก์ขนาด 3.5 นิ้ว สาหรับฮาร์ดดิสก์ที่มีขนาด 2.5 และ 1.8 นิ้ว นั้นนิยมใช้กับโน้ตบุ๊ก การพิจารณาเลือกซื้อฮาร์ดดิสก์ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลาย อย่าง เช่น การเชื่อมต่อ ความจุของข้อมูล และ ความเร็วรอบของฮาร์ดดิสก์ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะทาให้ ฮาร์ดดิสก์มีราคาแตกต่างกัน ปัจจัยในการพิจารณาเลือกซื้อฮาร์ดดิสก์ 1) การเชื่อมต่อ 2) ความจุของข้อมูล 3) ความเร็วรอบ
  • 10. 2.4.5 การ์ดแสดงผล ( display card , graphics card หรือ video card ) ทาหน้าที่แปลงข้อมูล ดิจิทัลมาเป็นสัญญาณที่ส่งไปที่จอภาพ การ์ด แสดงผลอาจอยู่ในรูปแบบการ์ดหรืออาจติดตั้งมา บนเมนบอร์ดแล้ว ปัจจัยในการเลือกซื้อการ์ดแสดงผล 1) ชิปประมวลผลกราฟิก หรือจีพียู( graphic processing unit: GPU ) 2) การเชื่อมต่อ มี 2 แบบ คือ แบบใช้กับบัส PCI Express และบัส AGP 3) ความจุของหน่วยความจาบนการ์ด หน่วยความจาบนการ์ด ( Video RAM )
  • 11. 2.4.6 ออปติคัลดิสก์ไดร์ฟ ( Optical disk drive) ที่ ใช้กันในปัจจุบัน เช่น ซีดีไดร์ฟและดีวีดีไดร์ฟเป็นอุปกรณ์มาตรฐานที่พีซีทุกเครื่องควรมี จะพิจารณาจากความเร็วในการอ่านและบันทึกข้อมูลซึ่งแต่ละชนิดจะระบุ ความเร็วไว้แตกต่างกันตามชนิดของออปติคัลดิสก์ไดร์ฟดังนี้ 1. ซีดีไดร์ฟ ( Compact Disc Drive: CD Drive) ใช้อ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีได้ อย่างเดียว 2. ดีวีดีไดร์ฟ (Digital Versatile Disc Drive: DVD Drive) ใช้อ่านข้อมูลได้ทั้ง แผ่นซีดีและแผ่นดีวีดี แต่ไม่สามารถเขียนหรือบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นซีดีหรือ ดีวีดีได้ 3. ซีดีอาร์ดับบลิวไดร์ฟ (Compact Disc Rewritable Drive: CD-RW Drive) สามารถอ่านและเขียนข้อมูลลงบนแผ่นซีดีได้มีการระบุค่าความเร็ว เช่น 52x/32x/52x หมายความว่าความเร็วในการเขียน CD-R เท่ากับ 52x ความเร็วในการเขียนซ้า CD-RW เท่ากับ 32x และความเร็วในการอ่าน CD- ROM เท่ากับ 52x 4. คอมโบไดร์ฟ (Combo Drive) สามารถอ่านและเขียนข้อมูลบนแผ่นซีดี และ อ่านข้อมูลจากแผ่นดีวีดี มีการระบุค่าความเร็ว เช่น 52x/32x/52x/16x 5. ดีวีดีอาร์ดับบลิวไดร์ฟ (Digital Versatile Disc Rewritable Drive: DVD+RW Drive) สามารถอ่านและเขียนข้อมูลได้ทั้งแผ่นซีดีและแผ่นดีวีดี มีการระบุค่าความเร็ว เช่น 20x/12x/20x/8x
  • 12. 2.4.7 เคส ( case ) โดย ทั่วไปมีลักษณะเป็น กล่องสี่เหลี่ยม ทาหน้าที่เป็นโครงยึดให้กับ อุปกรณ์ภายในต่าง ๆ ที่ประกอบกันเป็นเครื่อง คอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ยังทาหน้าที่ในการ ป้องกันความเสียหายที่จะเกิดกับอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ภายในเคส หลักในการพิจารณาเลือกซื้อเคส - มีช่องระบายอากาศและระบบระบายความร้อน - มีพื้นที่หรือช่องที่จะเพิ่มอุปกรณ์ได้เช่น การเพิ่ม ฮาร์ดดิสก์ การเพิ่มซีดี/ดีวีดีไดร์ฟ - ลักษณะของเคส เช่น เคสในแนวนอน ที่เรียกว่า เดสก์ท็อปเคส ( desktop case) และเคสใน แนวตั้งที่เรียกว่า ทาวเวอร์เคส ( tower case ) ตัวอย่างของเคสแบบต่าง ๆ ดังรูป
  • 13. 2.4.8 จอภาพ ( monitor) ที่ พบจะมีอยู่ 2 ประเภท คือ จอซีอาร์ที ( Cathode Ray Tube: CRT) และจอแอลซีดี ( Liquid Crystal Display: LCD) ซึ่งในปัจจุบันจอแอลซีดีเป็นที่นิยมมาก เนื่องจากมีราคาถูก ถนอมสายตา ประหยัด พลังงาน และใช้พื้นที่ในการจัดวางน้อย ปัจจัยในการเลือกซื้อจอภาพ - ความละเอียดของภาพ ( resolution ) หมาย ถึง จานวนจุดหรือพิกเซลบนจอภาพ ถ้าหากมีความ ละเอียดสูงจะทาให้ภาพคมชัดมากขึ้น - ขนาด ( size ) ขนาดของจอภาพจะวัดเป็นแนว ทแยงมุม เช่น จอแบบ 19 นิ้ว และแบบ 21 นิ้ว
  • 14. 2.5 การรับประกันอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์จะมีการรับประกันอายุการใช้งาน อุปกรณ์แต่ละชนิดจะ มีระยะเวลารับประกันต่างกัน เช่น แรม รับประกันตลอดอายุการใช้งาน ( life time ) และฮาร์ดดิสก์อาจรับประกัน1-5 ปี โดยอายุของการรับประกัน ที่นานขึ้น อาจมีผลทาให้ราคาสูงขึ้น บนอุปกรณ์บางชนิดจะมีสติ๊กเกอร์ รับประกันติดอยู่บนตัวอุปกรณ์ซึ่งหากมีการ ฉีกขาด การรับประกันจะสิ้นสุด ลงทันที ดังนั้นจึงควรระมัดระวังเมื่อเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ชนิดต่าง ๆ
  • 15. 2.6 ข้อแนะนาการดูแลและบารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ เบื้องต้น 1. ไม่ควรเปิดฝาเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่จาเป็น เนื่องจากอาจมีโลหะที่นาไฟฟ้าเข้าไปในเครื่องทาให้เกิดการลัดวงจร หรือมีฝุ่นเข้าไปในตัวเครื่อง ฝุ่นนี้จะเป็นตัวเก็บความชื้นทาให้วงจรคอมพิวเตอร์ทางานผิดพลาดได้ 2. ไม่ควรตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ไว้ในสถานที่ที่มีอุณหภูมิสูง เนื่องจากจะส่งผลให้ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์เสื่อมสภาพเร็ว ขึ้น 3. ไม่ควรตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ใกล้กับประตูหรือหน้าต่างเนื่องจากอาจโดนแสงแดดหรือฝนสาดเข้ามาได้ 4. ไม่ควรวางจอคอมพิวเตอร์ใกล้กับสนามแม่เหล็กหรือลาโพงตัวใหญ่ ๆ เนื่องจากสนามแม่เหล็กจะทาให้การแสดงภาพ ผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริง 5. ถ้าหากที่บ้านไฟตกหรือมีไฟกระชากควรมีเครื่องสารองไฟยูพีเอส (Uninterruptible power supply: UPS) 6. ควรตั้งโหมดประหยัดพลังงานให้กับเครื่องเพื่อถนอมอายุการใช้งานของเครื่องการทางานในโหมดนี้จะทาให้ ฮาร์ดดิสก์และซีพียูทางานน้อยลงเมื่อไม่มีการใช้เครื่องในระยะเวลาที่กาหนด 7. ไม่ควรวางของเหลวใกล้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ 8. ไม่ควรปิดเครื่องโดยการกดสวิตซ์ปิด ควรใช้คาสั่งปิดระบบปฏิบัติการ เนื่องจากระบบปฏิบัติการต้องดาเนินการ ตรวจสอบสถานะการทางานต่างๆ ของฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ก่อนจะหยุดการทางาน
  • 16. 2.7 การแก้ไขปัญหาเบื้องต้นของพีซี 1. เครื่องหยุดการทางานขณะใช้งานอยู่ สาเหตุ แหล่งจ่ายไฟจ่ายกาลังไฟฟ้าไม่พอ อาจเกิดจากมีอุปกรณ์ต่อพ่วงอยู่กับคอมพิวเตอร์เป็นจานวนมาก การแก้ไข นาอุปกรณ์ที่ไม่จาเป็นที่ต่อพ่วงอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ออกไปหรือเปลี่ยนแ หล่งจ่ายไฟที่มีกาลังไฟฟ้ามากขึ้น 2. เปิดเครื่องแล้วปรากฎข้อความว่า " DISK BOOT FAILURE , INSERT DISK SYSTEM PRESS ENTER" สาเหตุ เครื่องบูตไม่พบฮาร์ดดิสก์หรือระบบปฏิบัติการบนฮาร์ดดิสก์เสียหาย การแก้ไข ตรวจสอบโปรแกรมไบออสว่า บูตฮาร์ดดิสก์ในตาแหน่งที่ถูกต้องหรือไม่ หรือติดตั้งระบบปฏิบัติการบนฮาร์ดดิสก์ 3. อ่านหรือเขียนแผ่นซีดี/ดีวีดีไม่ได้ สาเหตุ หัวอ่านเลเซอร์ของไดร์ฟสกปรก การแก้ไข ให้ใช้แผ่นซีดีทาความสะอาดหัวอ่านโดยใส่แผ่นซีดีสาหรับทาความสะอาดเข้าไปในไดร์ฟ แปรงขนาดเล็กที่อยู่ใต้แผ่นซีดี จะปัดทาความสะอาดหัวอ่านเลเซอร์ของไดร์ฟ 4. เครื่องรีสตาร์ต (restart) เองขณะใช้งาน สาเหตุ ซีพียูมีความร้อนสูง การแก้ไข ตรวจสอบพัดลมของซีพียูว่าทางานหรือไม่ สายที่ต่ออยู่แน่นหรือไม่