SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
หยุดงานทั่วไปชี้ขาดชัยชนะ สร้างอานาปประชาชน รรรุุระรอรระ
"ลง มือผลักดันการสร้างประชาธิปไตยตามาตรการผลักดันของกรรมกรที่ทรงพลังและสันติ ถูกกฎหมาย ตามวิถีทางรัฐธรรมนูญดังเช่น
คารายงานของสมัชชากรรมกรแห่งชาติคือการหยุดงานทั่วไปเพื่อสร้าง ประชาธิปไตย(General Strike)
อันเป็นหยุดงานทางการเมือง(Political Strike) ซึ่งเป็นการปฏิบัติกฎหมายสูงสุด (SupremeLaw)
คือรักษาความมั่นคงแห่งชาติทั้งสถาบันชาติ สถาบันศาสนาและสถาบันพระมหากษัตรริย์ โดยการสร้างประชาธิปไตย ต่อสู้เพื่อเอาชนะขบวนการ
ล้มปืนล้มทุน ล้มเจ้า หรืออาเพศ 10 ประการตามแบบอย่างการสร้างประชาธิปไตยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
อันเป็นการปฏิบัตินโยบาย 66/23 ขั้นตอนที่ 2 คือขยายเสรีภาพของบุคคล
ขยายอานาจอธิปไตยของปวงชนบรรลุการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันเป็นการกระจายอานาจ และนาสู่การสร้างประชาธิปไตยทางเศรฐกิจคือ
การกระจายทุน และการสร้างประชาธิปไตยทางวัฒนธรรม คือการกระจายธรรมบรรลุสังคมประชาธิปไตยที่เป็นสังคมในอุดมคติของคนไทยทุกคน
และที่สาคัญที่สุดแก้ปัญหาที่กาลังเผชิญหน้าคือความขัดแย้งของลัทธิรัฐ ธรรมนูญระหว่างรัฐบาล กับ
กปปส.ที่กาลังจะรุนแรงนองเลือดให้ยุติลงในทันทีที่กรรมกรลงมือปฏิบัติภารกิจ การผลักดันการสร้างประชาธิปไตย"
วันที่ 1 พฤษภาคมของทุกปีได้รับการสถาปนาให้เป็น “วันกรรมกรสากล” หรือวันเมเดย์ (May
Day)อันเป็นวันแห่งการเฉลิมฉลองชัยชนะของการต่อสู้ของมวลพี่น้องกรรมกรสากล ในอดีต คือชัยชนะที่ได้มาชึ่ง “ระบอบประชาธิปไตย” และ
ชัยชนะที่ได้มาซึ่ง “ระบบ 3 แปด”กล่าวอย่างเป็นรูปธรรมที่สุดคือ กรรมกรต่อสู้มีชัยชนะได้อานาจอธิปไตยของปวงชน (Sovereigntyof
the People) และกรรมกรต่อสู้มีชัยชนะได้สิทธิประชาธิปไตยด้านแรงงานในระบบ3 แปด ทางาน8 ชั่วโมง ศึกษา 8 ชั่วโมง พักผ่อน 8
ชั่วโมงอันเป็นการต่อสู้ที่ยิ่งใหญ่ครึกโครมที่สุดในยุคประวัติศาสตรสมัย ใหม่
ซึ่งเป็นการปฏิบัติภารกิจทางประวัติศาสตร์ที่แบ่งยุคแบ่งสมัยจากยุคสมัยเก่า สู่ยุคสมัยใหม่นั่นเอง
เศรษฐกิจเสรีนิยมที่นาย ทุนและกรรมกร เป็นคู่แห่งเอกภาพผู้ดาเนินการระบบเศรษฐกิจทุนนิยม (Capitalism)ซึ่งเรียกว่า “ระบบเสรีนิยม”
(Liberalism) เรียกด้านตลาดเสรีว่า“ระบบเศรษฐกิจการตลาด” (Market Economy)หัวใจของระบบทุนนิยมคือ
“อุตสาหกรรมสมัยใหม่” ทางเศรษฐกิจ และประชาธิปไตยสมัยใหม่คือ “ระบอบประชาธิปไตย” ทางการเมืองซึ่งเพิ่งมีเมื่อ 300
ปีมานี้ระบบทุนนิยมเป็นระบบเศรษฐกิจผลิตเป็นสินค้า(Commodity)อันเป็นการ ผลิตจานวนมากต่อเนื่องอย่างเป็นระบบ(Mass
Production)ที่นาพามวลมนุษยชาติขึ้นสู่ยุคประวัติศาสตร์สมัยใหม่ที่ศิวิไลซ์
ก้าวหน้าแม้บางลัทธิจะโจมตีว่าระบบทุนนิยมเป็นระบบที่มีการขูดรีดแต่การขูด รีดก็ทาให้เกิดการพัฒนา เป็นสองด้านของเหรียญ
“ด้านหนึ่งเป็นการขูดรีดอีกด้านหนึ่งเป็นการพัฒนา” อันเป็นไปตามสัจจธรรมที่ว่า“สิ่งหนึ่งมีสองด้านที่ตรงข้ามกัน” ดังเช่น เอกภพหรือจักรวาฬ
(Universal) ซึ่งประกอบด้วย 2 ด้าน คือ เอกภาพ (Unity)และความขัดแย้ง
(Versus)แต่การขูดรีดที่อยู่ภายใต้อานาจอธิปไตยของปวงชนหรือระบอบ
ประชาธิปไตยคอยควบคุมไว้ก็จะลดระดับการขูดรีดลงจนถึงขั้นไม่เป็นการเบียด
เบียนต่อปวงชนแต่เป็นการพัฒนาให้เกิดประโยชน์สุขแก่ปวงชนการขูดรีดภายใต้ ระบอบประชาธิปไตยจึงเป็นการ
“ขูดรีดที่เป็นธรรมเจริญก้าวหน้าพัฒนา”ไม่ต้องล้มล้างระบบทุนนิยมก็แก้ปัญหา
การขูดรีดนาไปสู่ความเจริญวิวัฒน์พัฒนาได้แต่ประเทศคอมมิวนิสต์ที่โค่นระบบ ทุนนิยมทิ้งใช้ระบบสังคมนิยมล้วน ๆ แทน
กลับล้าหลังไม่พัฒนาล่มสลายไปในที่สุด เช่นสหภาพโซเวียต แต่ประเทศที่ใช้ระบบทุนนิยมกลับพัฒนาเจริญก้าวหน้า
เช่นประเทศจีนดังเช่นคุณธรรมของคนจะมีหรือไม่มี มีมากหรือมีน้อย ขึ้นอยู่กับจุดยืน (Standpoint) 2 ด้านหรือ 2 จุดยืน
ว่าด้านใดจะมากกว่าหรือน้อยกว่าคือจุดยืนเห็นแก่ส่วนตัว กับเห็นแก่ส่วนรวม
ถ้าเห็นแก่ส่วนตัวมากก็มีคุณธรรมน้อยถ้าเห็นแก่ส่วนตัวน้อยก็มีคุณธรรมมาก จึงเป็น “เอกภาพที่เป็นปฏิปักษ์ต่อกัน”
หรือ“ความขัดแย้งภายใต้เอกภาพ” ซึ่งตรงกับพุทธพจน์ที่ว่า “ประโยชน์ตน ประโยชน์ท่าน”คือ ประโยชน์ตนมากคุณธรรมน้อย
ประโยชน์ตนน้อยคุณธรรมมาก
กรรมกร คือผู้ใช้แรงงาน ซึ่งหมายถึงทั้งแรงงานทางกายและแรงงานทางสมองแต่กรรมกรไม่ใช่ผู้ใช้แรงงาน
ทั่วไปหรือไม่ใช่ผู้ใช้แรงงานทั้งหมดแต่กรรมกรนั้นหมายความถึงเฉพาะผู้ใช้ แรงงานรับจ้างในระบบอุตสาหกรรมสมัยใหม่เช่นผู้ใช้แรงงานอิสระ
หรือชาวนาที่ทานาของตัวเองไม่ใช่กรรมกร อุตสาหกรรมสมัยใหม่คือการผลิตที่ใช้พลังงานเครื่องจักรไม่ใช้แรงงานคน
หรือแรงงานจากสัตว์ หรือพลังงานจากธรรมชาติดั้งเดิมแต่ใช้เทคโนโลยีในการผลิต(เทคโนโลยีคือการ
ใช้วิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้กับการผลิต)และเป็นการผลิตแบบจานวนมากอย่างเป็น ระบบต่อเนื่อง(Mass Production)
กรรมกรจึงเป็นผู้ปฏิบัติอยู่กับวิทยาศาสตร์และเทศโนโลยีหรือสรรพวิทยาการที่
สั่งสมมาตลอดระยะเวลาอันยาวนานของประวัติศาสตร์มนุษยชาติโดยเป็นส่วนที่ สาคัญที่สุดของระบบเศรษฐกิจเสรีนิยม คือ “พลังการผลิต”
ซึ่งเป็นส่วนที่ก้าวหน้าคู่กับ“ส่วนความสัมพันธ์การผลิต” ผู้เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต คือ นายทุน
นั่นคือพลังการผลิตโดยกรรมกรจะผลักดันส่วนความสัมพันธ์การผลิตโดยนายทุนให้ ก้าวหน้าพัฒนาไปไม่หยุดยั้งทั้งทางด้านเศรษฐกิจการเมือง
และวัฒนธรรม สู่สังคมประชาธิปไตยอันเป็นอุดมคติ
อุตสาหกรรมสมัยใหม่คือรากฐานของ ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม และผู้สร้างระบบเศรษฐกิจทุนนิยมคือนายทุนกับกรรมกรร่วมกันแต่ทาหน้าที่ต่าง กัน
กล่าวคือ นายทุนเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตกรรมกรเป็นพลังการผลิต นั่นคือ ฝ่ายหนึ่งเป็นทุน (Capital) อีกฝ่ายหนึ่งเป็นแรงงาน (Labour)
ทุนกับแรงงานบวกกันก่อให้เกิดระบบทุนนิยมถ้าขาดฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งก็ไม่มีระบบ เศรษฐกิจทุนนิยม
ฉะนั้นนายทุนกับกรรมกรจึงเป็นลูกฝาแฝดที่แยกกันไม่ออกในการสร้างเศรษฐกิจทุน
นิยมซึ่งเป็นระบบเศรษฐกิจที่ครอบงาในโลกปัจจุบันนี้ที่มีประสิทธิภาพมากที่ สุดนักปราญช์ผู้บัญญัติศัพท์คาว่า “นายทุน กับ กรรมกร”
คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ดังนั้น คาว่านายทุนและกรรมกรจึงเป็นคาที่มีเกียรติคู่กัน ผู้ใช้แรงงานเป็นคาธรรมดา
เพราะหมายถึงผู้ใช้แรงงานทั่วไปและใคร ๆก็เป็นผู้ใช้แรงงานได้ แต่กรรมกรเป็นผู้ใช้แรงงานที่เป็นองค์ประกอบที่ขาดมิได้ในการสร้างระบบ
เศรษฐกิจทุนนิยมกรรมกรจึงเป็นผู้มีคุณูปการที่ยิ่งใหญ่แก่สังคมมนุษยชาติใน
ยุคปัจจุบันในระบบทุนิยมนายทุนกับกรรมกรต้องอยู่ร่วมกันและร่วมกันดาเนิน ระบบเศรษฐกิจแห่งชาติโดยมีหน้าที่ทางเศรษฐกิจ คือ
นายทุนออกทุนกรรมกรออกแรง แต่ในระบบสังคมนิยมมีแต่กรรมกรอย่างเดียวไม่มีนายทุนแต่ต้องใช้ระบบทุนนิยม
ไปช่วยสร้างสังคมนิยมจึงจะดารงค์อยู่และพัฒนาไปได้เช่น จีนเวียดนามลาว เขมร เป็นต้น
กรรมกรนอกจากจะเป็นผู้สร้างระบบ ทุนนิยมคู่กับนายทุนดังกล่าวแล้วยังเป็นผู้สร้างการปกครองระบอบประชาธิปไตย
และระบบเศรษฐกิจทุนนิยมเป็นรากฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตยและระบบ
เศรษฐกิจทุนนิยมจะดารงอยู่และพัฒนาไปสู่ความไพบูลย์ได้ต้องอาศัยการปกครอง ประชาธิปไตย ถ้าการปกครองเป็นระบอบเผด็จการไม่ว่ารูปใด
ๆก็ไม่เพียงแต่จะขัดขวางพัฒนาการของระบบเศรษฐกิจทุนนิยมเท่านั้นหากยังเป็น
อันตรายแก่ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมถึงกับวินาศย่อยยับได้ด้วยดังเช่นการปกครอง ระบอบเผด็จการในหลายประเทศ และวิกฤตเศรษฐกิจพ.ศ.
2540ของประเทศไทย เป็นเงื่อนไขให้คอมมิวนิสต์ทาลายระบบเศรษฐกิจทุนนิยมทาให้ประเทศเหล่านั้น กลายเป็นคอมมิวนิสต์ไป
กรรมกรร่วมกับนายทุนใน การสร้างประชาธิปไตยนั้นทาหน้าที่คนละอย่างเช่นเดียวกับการร่วมกันสร้างทุน นิยม
กล่าวคือนายทุนเป็นผู้สร้างหลักการของการปกครองระบอบประชาธิปไตย เช่น อานาจอธิปไตยของปวงชนเสรีภาพ ความเสมอภาคหลักนิติธรรม
และรัฐบาลจากการเลือกตั้ง หลักการเหล่านี้ของการปกครองระบอบประชาธิปไตยทาให้การปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยกลายเป็นการปกครองที่ดีที่สุดของมวลมนุษยชาติจึงได้รับความสนับ
สนุนจากประชาชนทั่วไปแต่เมื่อนายทุนได้อานาจการปกครองประเทศโดยการสนับสนุน จากประชาชน
สาคัญที่สุดคือความสนับสนุนจากกรรมกรแล้ว ก็ละทิ้งหลักการประชาธิปไตยที่ตนสร้างขึ้นเสียเองและหันไปใช้การปกครองระบอบ
เผด็จการกรรมกรจึงนาประชาชนเข้าต่อสู้เพื่อผลักดันให้นายทุนปฏิบัติหลักการ ประชาธิปไตย
ทาให้การสร้างประชาธิปไตยเป็นผลสาเร็จความสาเร็จของการสร้างประชาธิปไตยจึง เกิดจากบทบาทของกรรมกรเป็นสาคัญ ไม่ว่าในอักฤษฝรั่งเศส
อเมริกา ญี่ปุ่น หรือประเทศอื่น ๆ ที่สร้างประชาธิปไตยสาเร็จล้วนแต่เป็นเพราะการต่อสู้ของกรรมกรทั้งสิ้น
ประเทศใดกรรมกรไม่ต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยประเทศนั้นก็สร้างประชาธิปไตย ไม่สาเร็จดังนั้น
กรรมกรจึงเป็นผู้ชี้ขาดความสาเร็จของการสร้างประชาธิปไตยกรรมกรจึงเป็นผู้มี
เกียรติอย่างยิ่งแต่ความเป็นจริงข้อนี้ประชาชนมักจะมองไม่ใคร่เห็นเพราะนัก ประวัติศาสตร์มักจะมีอคติต่อกรรมกร
เมื่อกรรมกรมีบทบาทสาคัญในการ สร้างประชาธิปไตยเช่นนี้จึงมีสิทธิ์ที่จะได้รับประโยชน์จากการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอย่างเต็มภาคภูมิทั้งสิทธิทางเศรษฐกิจสิทธิทางการเมือง และสิทธิทางสังคมรวมถึงสิทธิด้านแรงงานสัมพันธ์ไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐ
ธรรมนูญหรือหลักกฎหมายใดในประเทศประชาธิปไตยตัดสิทธิเหล่านี้ของกรรมกรถ้า กรรมกรของประเทศใดถูกตัดสิทธิเหล่านี้
ประเทศนั้นจะอ้างว่ามีการปกครองระบอบประชาธิปไตยมิได้เลยข้อเท็จจริงใน ประเทศประชาธิปไตยทั้งหลาย เช่น ในอังกฤษ ฝรั่งเศส อเมริกา
ญี่ปุ่นฯลฯ ยืนยันว่ากรรมกรมีสิทธเหล่านี้อย่างบริบูรณ์และกล่าวเฉพาะสิทธิด้านแรงงาน
สัมพันธ์แล้วมาตรฐานก็คืออนุสัญญาทั้งหลายขององค์การกรรมกรระหว่างประเทศของ สหประชาชาติ หรืออนุสัญญา ILO หนังสือพิมพ์ คมชัดลึก
วันที่ 30 เมษายน51 พาดหัวว่า“ตบหน้าลูกจ้างล้มถกค่าแรงดับฝันวันเมย์เดย์-ม็อบฮึ่ม”กรรมกรเรียก ค่าแรงขั้นต่าอีก 9
บาทปรากฎว่าค่าใช้จ่ายในชีวิตประจาวันขึ้นไปรออยู่แล้ว 22 บาทแสดงว่ายิ่งเรียกร้องค่าแรงขั้นต่ายิ่งไม่พอกินดังเช่นเรียกร้องค่าจ้าง
ขั้นต่ากันตลอดมาทุก ๆ ปี มีทางเดียวเท่านั้นคือเรียกร้องให้พอกิน คือเรียกร้องประชาธิปไตยเช่นเดียวกับกรรมกรทั้งโลก
แต่ ประเทศไทยยังไม่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยจึงไม่มีสิทธิใด ๆ ทั้งสิ้นและยากจนหนักลง ถ้าดูอีกแง่หนึ่ง
เมืองไทยมีประชาธิปไตยเหมือนกันแต่ประชาธิปไตยที่เรามีนั้น ไม่ใช่การปกครองระบอบประชาธิปไตยแค่เพียงมีวิธีการประชาธิปไตยบางอย่าง เช่น
ระบบรัฐสภาและการเลือกตั้งเป็นต้นและเอาสิ่งเหล่านี้มารับใช้การปกครองระบอบ เผด็จการเท่านั้นการปกครองของเราเป็นระบอบเผด็จการ
เพราะอานาจอธิปไตยอยู่ในกามือของนายทุนพ่อค้านักธุรกิจแต่เอาระบบรัฐสภามา
เป็นรูปแบบของการปกครองเผด็จการจึงเรียกว่าระบอบเผด็จการชนิดนี้ว่าการ
ปกครองระบอบเผด็จการรัฐสภาแต่มีการหลอกกรรมกรและประชาชนว่าเป็นการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยเครื่องมือสาคัญที่ใช้ในการหลอกก็คือการเลือกตั้งแบบเผด็จ
การซึ่งเป็นการเลือกตั้งที่ตัดสิทธิ์ทางการเมืองอย่างร้ายแรงชนิดที่ไม่เคย มีในการเลือกตั้งของระบอบประชาธิปไตยในประเทศใดๆ
ไม่ต้องดูจากการตัดสิทธิ์ทางการเมืองของประชาชนทั่วไป ดูแต่เพียงตัดสิทธิด้านแรงงานสัมพันธ์ที่ไม่ยอมให้กรรมกรรัฐวิสาหกิจมีสหภาพ แรงงาน
หรือไม่ยอมให้มีสหภาพแรงงานสาหรับกรรมกรทั่วไปเช่นพรบ.แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518
แต่เป็นพรบ.ที่ตัดสิทธิของกรรมกรอย่างรุนแรงและปัญหาความยากจน ก็เห็นชัดเจนแล้วว่า ประเทศเราไม่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย
เมื่อ ประเทศยังไม่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยหรือยังไม่เป็นประชาธิปไตย
กรรมกรจึงมีภารกิจในการต่อสู้เพื่อทาให้ประเทศเป็นประชาธิปไตยเพราะกรรมกร
ต้องต่อสู้เพื่อทาให้ประเทศเป็นประชาธิปไตยแล้วเท่านั้นจึงจะมีกฎหมายรับรอง
สิทธิโดยบริบูรณ์ของกรรมกรและกรรมกรจึงจะหมดสิ้นความยากจนได้
ฉะนั้น เมื่อพูดถึงสิทธิของกรรมกรไทยในปัจจุบัน รวมทั้งพนักงานรัฐวิสาหกิจ
จึงหมายถึงสิทธิของกรรมกรในประเทศเผด็จการไม่ใช่สิทธิของกรรมกรในประเทศ ประชาธิปไตย
สิทธิของกรรมกรในประเทศเผด็จการ นั้นด้านหนึ่งกรรมกรถูกตัดสิทธิอย่างรุนแรง
เป็นต้นแต่อีกด้านหนึ่งกรรมกรมีสิทธิโดยธรรมชาติในการต่อสู้เพื่อให้ได้มา ซึ่งประชาธิปไตยจะเห็นได้จากข้อเท็จจริงที่กรรมกรในประเทศต่าง
ๆใช้สิทธิของตนในการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย เช่น อังกฤษ อเมริกา ฝรั่งเศส ฯลฯ
ที่กล่าวมาแล้วซึ่งกรรมกรในประเทศเหล่านั้นจะต้องใช้สิทธิตามธรรมชาติต่อสู้
ให้ได้มาซึ่งประชาธิปไตยเท่านั้นกรรมกรจึงจะมีสิทธิตามกฎหมายในระบอบ ประชาธิปไตยได้
การหวังจะให้มีสิทธิตามระบอบประชาธิปไตยในขณะที่ยังไม่มีระบอบประชาธิปไตย นั้นเป็นไปไม่ได้
ฉะนั้นการใช้สิทธิของกรรมกร ไทยในปัจจุบันรวมทั้งกรรมกรรัฐวิสาหกิจจึงหมายถึงการใช้สิทธิตามธรรมชาติ
ซึ่งมีอยู่อย่างกว้างขวางในการต่อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่งประชาธิปไตยและเป็น การต่อสู้
โดยสันติตามวิถีทางรัฐธรรมนูญซี่งเป็นทางเดียวที่จะบรรลุความสาเร็จของการ สร้างประชาธิปไตยในประเทศไทย
การผลักดันการ สร้างประชาธิปไตยโดยกรรมกรนั้นมีอยู่เป็นสากลอันเป็นสิทธิของกรรมกรตาม ที่ILO
รับรองอยู่แล้วซึ่งมีอยู่ตามคารายงานต่อที่ประชุมสมัชชากรรมกรแห่งชาติสมัย ประชุมที่ 1/2536 เมื่อ11 กันยายน 2536 ณ ปากช่อง
นครราชสีมา เรื่อง“แนวทางการต่อสู้ของกรรมกรไทยกับการแก้ไขปัญหาของชาติ” ดังต่อไปนี้
“เพื่อนกรรมกรที่รักแนวทางของกรรมกรคืออะไรนั้น กรรมกรทุกคนทราบดีอยู่แล้วแนวทางของกรรมกรก็คือแนวทางการหยุดงานทั่วไป
แนว ทางการหยุดงานทั่วไปเป็นแนวทางการต่อสู้ของกรรมกรเองโดยเฉพาะและเป็นแนวทาง
ของกรรมกรทั่วโลกแม้ว่ากรรมกรจะมีรูปแบบการต่อสู้อย่างอื่น แต่การหยุดงานทั่วไปเป็นรูปแบบการต่อสู้สูงสุดของกรรมกรจึงทาให้การหยุดงาน
ทั่วไปมีประสิทธิภาพสูงสุดในการโค่นเผด็จการ และการสร้างประชาธิปไตย
การ สร้างประชาธิปไตยในประเทศต่างๆ นอกจากที่ดาเนินการโดยพระมหากษัตริย์แล้ว
สาเร็จลงด้วยการหยุดงานทั่วไปของกรรมกรเป็นพลังผลักดันทั้งสิ้นเพราะเมื่อ นายทุนได้อานาจรัฐด้วยการสนับสนุนจากกรรมกรแล้ว
ก็ละทิ้งหลักการประชาธิปไตยของตนเสียหันไปใช้การปกครองระบอบเผด็จการที่ตน
โค่นล้มลงไปกรรมกรจึงต้องผลักดันให้นายทุนปฏิบัติหลักการประชาธิปไตยของตน วิธีผลักดันที่สาคัญที่สุดคือการหยุดงานทั่วไป
นี่คือกรรมกรเป็นผู้สร้างประชาธิปไตยร่วมกับนายทุนทาให้ความสาเร็จของการ สร้างประชาธิปไตยขึ้นอยู่กับบทบาทของกรรมกร
ถ้าไม่มีการผลักดันจากกรรมกรแล้วนายทุนก็ไม่ยอมสร้างประชาธิปไตยแต่นัก ประวัติศาสตร์มักจะปิดบังความจริงข้อนี้ พราะมีอคติต่อกรรมกร
การ หยุดงานทั่วไปมีบทบาทชี้ขาดในประวัติศาสตร์ของการโค่นล้มเผด็จการสร้าง
ประชาธิปไตยเริ่มต้นด้วยการสร้างประชาธิปไตยของขบวนการกรรมกรชา ติสต์(Chartist)
ในอังกฤษซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยของอังกฤษที่เป็นแบบฉบับโดยการหยุด
งานทั่วไปเป็นรูปการต่อสู้ที่สาคัญระยะหลังสุดคือการโค่นล้มระบอบเผด็จการ
คอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตและยุโรปตะวันออกโดยเฉพาะในโปแลนด์ ระบอบเผด็จการคอมมิวนิสต์นั้นไม่มีใครคาดคิดมาก่อนว่าจะถูกโค่นลง
มาได้แต่ ขบวนการกรรมกรโซลิดาริตี้ (Solidarity)ในโปแลนด์ก็พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่าสามารถโค่นลงได้ด้วยการหยุด
งานทั่วไปไม่ว่าการปกครองระบอบเผด็จการรูปใด รวมทั้งระบอบเผด็จการระบบรัฐสภาสามารถเปลี่ยนแปลงให้เป็นระบอบประชาธิปไตย
ได้ทั้งสิ้นได้ด้วยการหยุดงานทั่วไป นีคือสูตรของการสร้างประชาธิปไตยในประเทศทั้งปวงประเทศไทยก็ไม่มีข้อยกเว้น แต่การหยุดงานทั่วไป
จะเป็นไปตามลักษณะพิเศษของประเทศไทยคือ เป็นสันติวิธีอย่างแท้จริง
พี่น้องกรรมกรทั้งหลายเมื่อพระราชกรณียกิจ สถาปณาการปกครองระบอบประชาธิปไตยของพระมหากษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิราชถูกขัด
ขวางทาลาย ภารกิจการสร้างประชาธิปไตยในประเทศก็มาตกอยู่กับกรรมกร
ฉะนั้นแนวทางการต่อสู้ของกรรมกรไทยกับการแก้ปัญหาของชาติก็คือการหยุดงาน
ทั่วไปเพื่อการสร้างประชาธิปไตยและนี่คือภารกิจของสมัชชากรรมกรแห่งชาติ”
ดัง นั้นเพื่อบรรลุความสาเร็จในภารกิจทางประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่สร้าง
ประชาธิปไตยแก้ไขปัญหาของชาติและของประชาชนแล้วจะแก้ปัญหาของกรรมกรตกไป
อย่างเป็นไปเองกระผมจึงเสนอต่อมวลพี่น้องกรรมกรผู้มีเกียรติทั้งหลายและผู้ เกี่ยวข้องทุกฝ่ายดังต่อไปนี้...
1. เริ่มต้นมาตรการแรกที่สุดคือ ปฏิวัติขบวนการกรรมกรให้สาเร็จเสียก่อน คือ เลิกคิดเลิกเรียกตัวเองว่า“ผู้ใช้แรงงาน” หรือ
“พนักงานรัฐวิสาหกิจ” กลับไปสู่สภาพเดิมแท้ (Status-quo) เป็นตัวของตัวเอง คือ
“กรรมกร”ซึ่งเป็นคาที่มีเกียรติสูงส่งที่สุดตามที่พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรม
หมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ได้รับรองไว้อย่ายอมตกเป็นทาสทางความคิดของฝ่าย
เผด็จการที่ทาลายกรรมกรให้อ่อนแอพ่ายแพ้โดยบิดเบือนความเป็นกรรมกรและภารกิจ
ทางประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ของกรรมกรทั้งด้านเศรษฐกิจและด้านการเมือง
2. ให้ฝ่ายการเมือง และข้าราชการที่เกี่ยวข้องกับกรรมกรทั้งสิ้นให้ช่วยปลดปล่อยทางความคิดจิต
วิญญาณและทางการเมืองอันเป็นการสร้างประชาธิปไตยมาตรการแรกคือ เปลี่ยนคาว่า “พนักงานรัฐวิสาหกิจและผู้ใช้แรงงาน” มาเป็นคาว่า
“กรรมกร”ที่ถูกต้องตามหลักวิชาและเป็นการให้เกียรติไม่เหยียดหยามต่อกรรมกร
เยี่ยงเผด็จการโดยเปลี่ยนวันแรงงานแห่งชาติเป็นวันกรรมกรแห่งชาติดังประกาศ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม
พ.ศ.2498อีกทั้งให้สิทธิเสรีภาพแก่กรรมกรในการเคลื่อนไหวกู้ชาติสร้าง
ประชาธิปไตยแก้ปัญหาชาติประชาชนอันเป็นการแก้ปัญหาของกรรมกรอย่างเป็นไปเอง
รัฐบาลจะได้ไม่ต้องมาคอยแก้ไขปัญหาม็อบหรือปัญหาค่าแรงขั้นต่าไม่รู้จบอยู่ เช่นนี้ และกรรมกรจะช่วยแก้ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจสังคม-
วัฒนธรรมอย่างทั่วด้าน คือช่วยเป็นแรงพลังผลักดันช่วยรัฐบาลสร้างประชาธิปไตยให้สาเร็จรัฐบาลก็จะมี เสถียรภาพอยู่ได้ยาวนานต่อไป
3. พี่น้องกรรมกรผู้มีเกียรติที่รักทั้งหลายเริ่มติดอาวุธทางความคิดโดยยึดถือ
แนวทางการแก้ปัญหาชาติของขบวนการกรรมกรไทยที่สืบทอดพระบรมราโชบายการสถาปณา การปกครองแบบประชาธิปไตยของล้นเกล้ารัชกาลที่
7 พระบิดาแห่งระบอบประชาธิปไตย ที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับนโยบาย66/23 อันเป็นนโยบายแห่งชาติที่เคยใช้รักษาเอกราชของชาติไว้มาแล้ว
3 ครั้งคือรักษาเอกราชจากการรุกรานของลัทธิล่าอาณานิคมโดยสมเด็จพระพุทธเจ้า หลวงรัชกาลที่
5รักษาชาติบ้านเมืองจากภัยคอมมิวนิสต์อินโดจีนด้วยการต่อสู้เอาชนะปฏิเสธ ทฤษฎีโดมิโนตามคาสั่งสานักนายกรัฐมนตรีที่ 110/12
โดยรัฐบาลจอมพล ถนอม รักษาชาติและราชบัลลังก์จากภัยของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ตามนโยบาย66/23 โดยรัฐบาลพลเอก เปรม
4. พี่น้องกรรมกรผู้มีเกียรติที่รักทั้งหลายเริ่มทาการจัดตั้งองค์การมวลชน กรรมกรระดับชาติให้เป็นเอกภาพเข้มแข็งในรูปของ“สภาแรงงานแห่ง
ชาติ”(NationalLabour Council) ตามหลักการจัดตั้ง 5 หลักขององค์การสหประชาชาติ คืออิสระภาพ เสรีภาพ เสมอภาค
สุขุมคัมภีรภาพ ดุลยภาพ
5. ลงมือผลักดันการสร้างประชาธิปไตยตามาตรการผลักดันของกรรมกรที่ทรงพลังและ สันติถูกกฎหมาย ตามวิถีทางรัฐธรรมนูญดังเช่น
คารายงานของสมัชชากรรมกรแห่งชาติคือการหยุดงานทั่วไปเพื่อสร้าง ประชาธิปไตย(General Strike)
อันเป็นหยุดงานทางการเมือง(Political Strike) ซึ่งเป็นการปฏิบัติกฎหมายสูงสุด (SupremeLaw)
คือรักษาความมั่นคงแห่งชาติทั้งสถาบันชาติ สถาบันศาสนาและสถาบันพระมหากษัตรริย์ โดยการสร้างประชาธิปไตย ต่อสู้เพื่อเอาชนะขบวนการ
ล้มปืนล้มทุน ล้มเจ้า หรืออาเพศ 10 ประการตามแบบอย่างการสร้างประชาธิปไตยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
อันเป็นการปฏิบัตินโยบาย 66/23 ขั้นตอนที่ 2 คือขยายเสรีภาพของบุคคล
ขยายอานาจอธิปไตยของปวงชนบรรลุการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันเป็นการกระจายอานาจและนาสู่การสร้างประชาธิปไตยทางเศรฐกิจคือ
การกระจายทุน และการสร้างประชาธิปไตยทางวัฒนธรรม คือการกระจายธรรมบรรลุสังคมประชาธิปไตยที่เป็นสังคมในอุดมคติของคนไทยทุกคน
และที่สาคัญที่สุดแก้ปัญหาที่กาลังเผชิญหน้าคือความขัดแย้งของลัทธิรัฐ ธรรมนูญระหว่างรัฐบาล กับ
กปปส.ที่กาลังจะรุนแรงนองเลือดให้ยุติลงในทันทีที่กรรมกรลงมือปฏิบัติภารกิจ การผลักดันการสร้างประชาธิปไตย
(เอกสารศึกษาภายในขบวนการกรรมไทย)
Edit : thongkrm_virut@yahoo.com

More Related Content

More from Thongkum Virut

งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัยThongkum Virut
 
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)Thongkum Virut
 
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยบิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยThongkum Virut
 
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณการปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณThongkum Virut
 
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...Thongkum Virut
 
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓Thongkum Virut
 
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...Thongkum Virut
 
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริหนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริThongkum Virut
 
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่Thongkum Virut
 
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรThongkum Virut
 
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์Thongkum Virut
 
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการสหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการThongkum Virut
 
ประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูThongkum Virut
 
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกเหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกThongkum Virut
 
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...Thongkum Virut
 
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยเรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยThongkum Virut
 
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยคู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยThongkum Virut
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาThongkum Virut
 

More from Thongkum Virut (20)

งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัย
 
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
 
All10
All10All10
All10
 
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยบิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
 
ข้าว
ข้าวข้าว
ข้าว
 
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณการปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
 
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
 
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
 
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
 
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริหนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
 
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
 
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
 
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
 
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการสหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
 
ประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวู
 
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกเหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
 
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
 
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยเรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
 
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยคู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
 

หยุดงานทั่วไปชี้ขาดชัยชนะ สร้างอำนาจประชาชน บรรลุระบอบระชาธิปไตย

  • 1. หยุดงานทั่วไปชี้ขาดชัยชนะ สร้างอานาปประชาชน รรรุุระรอรระ "ลง มือผลักดันการสร้างประชาธิปไตยตามาตรการผลักดันของกรรมกรที่ทรงพลังและสันติ ถูกกฎหมาย ตามวิถีทางรัฐธรรมนูญดังเช่น คารายงานของสมัชชากรรมกรแห่งชาติคือการหยุดงานทั่วไปเพื่อสร้าง ประชาธิปไตย(General Strike) อันเป็นหยุดงานทางการเมือง(Political Strike) ซึ่งเป็นการปฏิบัติกฎหมายสูงสุด (SupremeLaw) คือรักษาความมั่นคงแห่งชาติทั้งสถาบันชาติ สถาบันศาสนาและสถาบันพระมหากษัตรริย์ โดยการสร้างประชาธิปไตย ต่อสู้เพื่อเอาชนะขบวนการ ล้มปืนล้มทุน ล้มเจ้า หรืออาเพศ 10 ประการตามแบบอย่างการสร้างประชาธิปไตยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว อันเป็นการปฏิบัตินโยบาย 66/23 ขั้นตอนที่ 2 คือขยายเสรีภาพของบุคคล ขยายอานาจอธิปไตยของปวงชนบรรลุการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันเป็นการกระจายอานาจ และนาสู่การสร้างประชาธิปไตยทางเศรฐกิจคือ การกระจายทุน และการสร้างประชาธิปไตยทางวัฒนธรรม คือการกระจายธรรมบรรลุสังคมประชาธิปไตยที่เป็นสังคมในอุดมคติของคนไทยทุกคน และที่สาคัญที่สุดแก้ปัญหาที่กาลังเผชิญหน้าคือความขัดแย้งของลัทธิรัฐ ธรรมนูญระหว่างรัฐบาล กับ กปปส.ที่กาลังจะรุนแรงนองเลือดให้ยุติลงในทันทีที่กรรมกรลงมือปฏิบัติภารกิจ การผลักดันการสร้างประชาธิปไตย"
  • 2. วันที่ 1 พฤษภาคมของทุกปีได้รับการสถาปนาให้เป็น “วันกรรมกรสากล” หรือวันเมเดย์ (May Day)อันเป็นวันแห่งการเฉลิมฉลองชัยชนะของการต่อสู้ของมวลพี่น้องกรรมกรสากล ในอดีต คือชัยชนะที่ได้มาชึ่ง “ระบอบประชาธิปไตย” และ ชัยชนะที่ได้มาซึ่ง “ระบบ 3 แปด”กล่าวอย่างเป็นรูปธรรมที่สุดคือ กรรมกรต่อสู้มีชัยชนะได้อานาจอธิปไตยของปวงชน (Sovereigntyof the People) และกรรมกรต่อสู้มีชัยชนะได้สิทธิประชาธิปไตยด้านแรงงานในระบบ3 แปด ทางาน8 ชั่วโมง ศึกษา 8 ชั่วโมง พักผ่อน 8 ชั่วโมงอันเป็นการต่อสู้ที่ยิ่งใหญ่ครึกโครมที่สุดในยุคประวัติศาสตรสมัย ใหม่ ซึ่งเป็นการปฏิบัติภารกิจทางประวัติศาสตร์ที่แบ่งยุคแบ่งสมัยจากยุคสมัยเก่า สู่ยุคสมัยใหม่นั่นเอง เศรษฐกิจเสรีนิยมที่นาย ทุนและกรรมกร เป็นคู่แห่งเอกภาพผู้ดาเนินการระบบเศรษฐกิจทุนนิยม (Capitalism)ซึ่งเรียกว่า “ระบบเสรีนิยม” (Liberalism) เรียกด้านตลาดเสรีว่า“ระบบเศรษฐกิจการตลาด” (Market Economy)หัวใจของระบบทุนนิยมคือ “อุตสาหกรรมสมัยใหม่” ทางเศรษฐกิจ และประชาธิปไตยสมัยใหม่คือ “ระบอบประชาธิปไตย” ทางการเมืองซึ่งเพิ่งมีเมื่อ 300 ปีมานี้ระบบทุนนิยมเป็นระบบเศรษฐกิจผลิตเป็นสินค้า(Commodity)อันเป็นการ ผลิตจานวนมากต่อเนื่องอย่างเป็นระบบ(Mass Production)ที่นาพามวลมนุษยชาติขึ้นสู่ยุคประวัติศาสตร์สมัยใหม่ที่ศิวิไลซ์ ก้าวหน้าแม้บางลัทธิจะโจมตีว่าระบบทุนนิยมเป็นระบบที่มีการขูดรีดแต่การขูด รีดก็ทาให้เกิดการพัฒนา เป็นสองด้านของเหรียญ “ด้านหนึ่งเป็นการขูดรีดอีกด้านหนึ่งเป็นการพัฒนา” อันเป็นไปตามสัจจธรรมที่ว่า“สิ่งหนึ่งมีสองด้านที่ตรงข้ามกัน” ดังเช่น เอกภพหรือจักรวาฬ (Universal) ซึ่งประกอบด้วย 2 ด้าน คือ เอกภาพ (Unity)และความขัดแย้ง (Versus)แต่การขูดรีดที่อยู่ภายใต้อานาจอธิปไตยของปวงชนหรือระบอบ ประชาธิปไตยคอยควบคุมไว้ก็จะลดระดับการขูดรีดลงจนถึงขั้นไม่เป็นการเบียด เบียนต่อปวงชนแต่เป็นการพัฒนาให้เกิดประโยชน์สุขแก่ปวงชนการขูดรีดภายใต้ ระบอบประชาธิปไตยจึงเป็นการ “ขูดรีดที่เป็นธรรมเจริญก้าวหน้าพัฒนา”ไม่ต้องล้มล้างระบบทุนนิยมก็แก้ปัญหา การขูดรีดนาไปสู่ความเจริญวิวัฒน์พัฒนาได้แต่ประเทศคอมมิวนิสต์ที่โค่นระบบ ทุนนิยมทิ้งใช้ระบบสังคมนิยมล้วน ๆ แทน กลับล้าหลังไม่พัฒนาล่มสลายไปในที่สุด เช่นสหภาพโซเวียต แต่ประเทศที่ใช้ระบบทุนนิยมกลับพัฒนาเจริญก้าวหน้า เช่นประเทศจีนดังเช่นคุณธรรมของคนจะมีหรือไม่มี มีมากหรือมีน้อย ขึ้นอยู่กับจุดยืน (Standpoint) 2 ด้านหรือ 2 จุดยืน ว่าด้านใดจะมากกว่าหรือน้อยกว่าคือจุดยืนเห็นแก่ส่วนตัว กับเห็นแก่ส่วนรวม ถ้าเห็นแก่ส่วนตัวมากก็มีคุณธรรมน้อยถ้าเห็นแก่ส่วนตัวน้อยก็มีคุณธรรมมาก จึงเป็น “เอกภาพที่เป็นปฏิปักษ์ต่อกัน” หรือ“ความขัดแย้งภายใต้เอกภาพ” ซึ่งตรงกับพุทธพจน์ที่ว่า “ประโยชน์ตน ประโยชน์ท่าน”คือ ประโยชน์ตนมากคุณธรรมน้อย ประโยชน์ตนน้อยคุณธรรมมาก กรรมกร คือผู้ใช้แรงงาน ซึ่งหมายถึงทั้งแรงงานทางกายและแรงงานทางสมองแต่กรรมกรไม่ใช่ผู้ใช้แรงงาน ทั่วไปหรือไม่ใช่ผู้ใช้แรงงานทั้งหมดแต่กรรมกรนั้นหมายความถึงเฉพาะผู้ใช้ แรงงานรับจ้างในระบบอุตสาหกรรมสมัยใหม่เช่นผู้ใช้แรงงานอิสระ หรือชาวนาที่ทานาของตัวเองไม่ใช่กรรมกร อุตสาหกรรมสมัยใหม่คือการผลิตที่ใช้พลังงานเครื่องจักรไม่ใช้แรงงานคน หรือแรงงานจากสัตว์ หรือพลังงานจากธรรมชาติดั้งเดิมแต่ใช้เทคโนโลยีในการผลิต(เทคโนโลยีคือการ ใช้วิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้กับการผลิต)และเป็นการผลิตแบบจานวนมากอย่างเป็น ระบบต่อเนื่อง(Mass Production) กรรมกรจึงเป็นผู้ปฏิบัติอยู่กับวิทยาศาสตร์และเทศโนโลยีหรือสรรพวิทยาการที่
  • 3. สั่งสมมาตลอดระยะเวลาอันยาวนานของประวัติศาสตร์มนุษยชาติโดยเป็นส่วนที่ สาคัญที่สุดของระบบเศรษฐกิจเสรีนิยม คือ “พลังการผลิต” ซึ่งเป็นส่วนที่ก้าวหน้าคู่กับ“ส่วนความสัมพันธ์การผลิต” ผู้เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต คือ นายทุน นั่นคือพลังการผลิตโดยกรรมกรจะผลักดันส่วนความสัมพันธ์การผลิตโดยนายทุนให้ ก้าวหน้าพัฒนาไปไม่หยุดยั้งทั้งทางด้านเศรษฐกิจการเมือง และวัฒนธรรม สู่สังคมประชาธิปไตยอันเป็นอุดมคติ อุตสาหกรรมสมัยใหม่คือรากฐานของ ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม และผู้สร้างระบบเศรษฐกิจทุนนิยมคือนายทุนกับกรรมกรร่วมกันแต่ทาหน้าที่ต่าง กัน กล่าวคือ นายทุนเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตกรรมกรเป็นพลังการผลิต นั่นคือ ฝ่ายหนึ่งเป็นทุน (Capital) อีกฝ่ายหนึ่งเป็นแรงงาน (Labour) ทุนกับแรงงานบวกกันก่อให้เกิดระบบทุนนิยมถ้าขาดฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งก็ไม่มีระบบ เศรษฐกิจทุนนิยม ฉะนั้นนายทุนกับกรรมกรจึงเป็นลูกฝาแฝดที่แยกกันไม่ออกในการสร้างเศรษฐกิจทุน นิยมซึ่งเป็นระบบเศรษฐกิจที่ครอบงาในโลกปัจจุบันนี้ที่มีประสิทธิภาพมากที่ สุดนักปราญช์ผู้บัญญัติศัพท์คาว่า “นายทุน กับ กรรมกร” คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ดังนั้น คาว่านายทุนและกรรมกรจึงเป็นคาที่มีเกียรติคู่กัน ผู้ใช้แรงงานเป็นคาธรรมดา เพราะหมายถึงผู้ใช้แรงงานทั่วไปและใคร ๆก็เป็นผู้ใช้แรงงานได้ แต่กรรมกรเป็นผู้ใช้แรงงานที่เป็นองค์ประกอบที่ขาดมิได้ในการสร้างระบบ เศรษฐกิจทุนนิยมกรรมกรจึงเป็นผู้มีคุณูปการที่ยิ่งใหญ่แก่สังคมมนุษยชาติใน ยุคปัจจุบันในระบบทุนิยมนายทุนกับกรรมกรต้องอยู่ร่วมกันและร่วมกันดาเนิน ระบบเศรษฐกิจแห่งชาติโดยมีหน้าที่ทางเศรษฐกิจ คือ นายทุนออกทุนกรรมกรออกแรง แต่ในระบบสังคมนิยมมีแต่กรรมกรอย่างเดียวไม่มีนายทุนแต่ต้องใช้ระบบทุนนิยม ไปช่วยสร้างสังคมนิยมจึงจะดารงค์อยู่และพัฒนาไปได้เช่น จีนเวียดนามลาว เขมร เป็นต้น กรรมกรนอกจากจะเป็นผู้สร้างระบบ ทุนนิยมคู่กับนายทุนดังกล่าวแล้วยังเป็นผู้สร้างการปกครองระบอบประชาธิปไตย และระบบเศรษฐกิจทุนนิยมเป็นรากฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตยและระบบ เศรษฐกิจทุนนิยมจะดารงอยู่และพัฒนาไปสู่ความไพบูลย์ได้ต้องอาศัยการปกครอง ประชาธิปไตย ถ้าการปกครองเป็นระบอบเผด็จการไม่ว่ารูปใด ๆก็ไม่เพียงแต่จะขัดขวางพัฒนาการของระบบเศรษฐกิจทุนนิยมเท่านั้นหากยังเป็น อันตรายแก่ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมถึงกับวินาศย่อยยับได้ด้วยดังเช่นการปกครอง ระบอบเผด็จการในหลายประเทศ และวิกฤตเศรษฐกิจพ.ศ. 2540ของประเทศไทย เป็นเงื่อนไขให้คอมมิวนิสต์ทาลายระบบเศรษฐกิจทุนนิยมทาให้ประเทศเหล่านั้น กลายเป็นคอมมิวนิสต์ไป กรรมกรร่วมกับนายทุนใน การสร้างประชาธิปไตยนั้นทาหน้าที่คนละอย่างเช่นเดียวกับการร่วมกันสร้างทุน นิยม กล่าวคือนายทุนเป็นผู้สร้างหลักการของการปกครองระบอบประชาธิปไตย เช่น อานาจอธิปไตยของปวงชนเสรีภาพ ความเสมอภาคหลักนิติธรรม และรัฐบาลจากการเลือกตั้ง หลักการเหล่านี้ของการปกครองระบอบประชาธิปไตยทาให้การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยกลายเป็นการปกครองที่ดีที่สุดของมวลมนุษยชาติจึงได้รับความสนับ สนุนจากประชาชนทั่วไปแต่เมื่อนายทุนได้อานาจการปกครองประเทศโดยการสนับสนุน จากประชาชน สาคัญที่สุดคือความสนับสนุนจากกรรมกรแล้ว ก็ละทิ้งหลักการประชาธิปไตยที่ตนสร้างขึ้นเสียเองและหันไปใช้การปกครองระบอบ เผด็จการกรรมกรจึงนาประชาชนเข้าต่อสู้เพื่อผลักดันให้นายทุนปฏิบัติหลักการ ประชาธิปไตย ทาให้การสร้างประชาธิปไตยเป็นผลสาเร็จความสาเร็จของการสร้างประชาธิปไตยจึง เกิดจากบทบาทของกรรมกรเป็นสาคัญ ไม่ว่าในอักฤษฝรั่งเศส อเมริกา ญี่ปุ่น หรือประเทศอื่น ๆ ที่สร้างประชาธิปไตยสาเร็จล้วนแต่เป็นเพราะการต่อสู้ของกรรมกรทั้งสิ้น
  • 4. ประเทศใดกรรมกรไม่ต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยประเทศนั้นก็สร้างประชาธิปไตย ไม่สาเร็จดังนั้น กรรมกรจึงเป็นผู้ชี้ขาดความสาเร็จของการสร้างประชาธิปไตยกรรมกรจึงเป็นผู้มี เกียรติอย่างยิ่งแต่ความเป็นจริงข้อนี้ประชาชนมักจะมองไม่ใคร่เห็นเพราะนัก ประวัติศาสตร์มักจะมีอคติต่อกรรมกร เมื่อกรรมกรมีบทบาทสาคัญในการ สร้างประชาธิปไตยเช่นนี้จึงมีสิทธิ์ที่จะได้รับประโยชน์จากการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอย่างเต็มภาคภูมิทั้งสิทธิทางเศรษฐกิจสิทธิทางการเมือง และสิทธิทางสังคมรวมถึงสิทธิด้านแรงงานสัมพันธ์ไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐ ธรรมนูญหรือหลักกฎหมายใดในประเทศประชาธิปไตยตัดสิทธิเหล่านี้ของกรรมกรถ้า กรรมกรของประเทศใดถูกตัดสิทธิเหล่านี้ ประเทศนั้นจะอ้างว่ามีการปกครองระบอบประชาธิปไตยมิได้เลยข้อเท็จจริงใน ประเทศประชาธิปไตยทั้งหลาย เช่น ในอังกฤษ ฝรั่งเศส อเมริกา ญี่ปุ่นฯลฯ ยืนยันว่ากรรมกรมีสิทธเหล่านี้อย่างบริบูรณ์และกล่าวเฉพาะสิทธิด้านแรงงาน สัมพันธ์แล้วมาตรฐานก็คืออนุสัญญาทั้งหลายขององค์การกรรมกรระหว่างประเทศของ สหประชาชาติ หรืออนุสัญญา ILO หนังสือพิมพ์ คมชัดลึก วันที่ 30 เมษายน51 พาดหัวว่า“ตบหน้าลูกจ้างล้มถกค่าแรงดับฝันวันเมย์เดย์-ม็อบฮึ่ม”กรรมกรเรียก ค่าแรงขั้นต่าอีก 9 บาทปรากฎว่าค่าใช้จ่ายในชีวิตประจาวันขึ้นไปรออยู่แล้ว 22 บาทแสดงว่ายิ่งเรียกร้องค่าแรงขั้นต่ายิ่งไม่พอกินดังเช่นเรียกร้องค่าจ้าง ขั้นต่ากันตลอดมาทุก ๆ ปี มีทางเดียวเท่านั้นคือเรียกร้องให้พอกิน คือเรียกร้องประชาธิปไตยเช่นเดียวกับกรรมกรทั้งโลก แต่ ประเทศไทยยังไม่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยจึงไม่มีสิทธิใด ๆ ทั้งสิ้นและยากจนหนักลง ถ้าดูอีกแง่หนึ่ง เมืองไทยมีประชาธิปไตยเหมือนกันแต่ประชาธิปไตยที่เรามีนั้น ไม่ใช่การปกครองระบอบประชาธิปไตยแค่เพียงมีวิธีการประชาธิปไตยบางอย่าง เช่น ระบบรัฐสภาและการเลือกตั้งเป็นต้นและเอาสิ่งเหล่านี้มารับใช้การปกครองระบอบ เผด็จการเท่านั้นการปกครองของเราเป็นระบอบเผด็จการ เพราะอานาจอธิปไตยอยู่ในกามือของนายทุนพ่อค้านักธุรกิจแต่เอาระบบรัฐสภามา เป็นรูปแบบของการปกครองเผด็จการจึงเรียกว่าระบอบเผด็จการชนิดนี้ว่าการ ปกครองระบอบเผด็จการรัฐสภาแต่มีการหลอกกรรมกรและประชาชนว่าเป็นการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยเครื่องมือสาคัญที่ใช้ในการหลอกก็คือการเลือกตั้งแบบเผด็จ การซึ่งเป็นการเลือกตั้งที่ตัดสิทธิ์ทางการเมืองอย่างร้ายแรงชนิดที่ไม่เคย มีในการเลือกตั้งของระบอบประชาธิปไตยในประเทศใดๆ ไม่ต้องดูจากการตัดสิทธิ์ทางการเมืองของประชาชนทั่วไป ดูแต่เพียงตัดสิทธิด้านแรงงานสัมพันธ์ที่ไม่ยอมให้กรรมกรรัฐวิสาหกิจมีสหภาพ แรงงาน หรือไม่ยอมให้มีสหภาพแรงงานสาหรับกรรมกรทั่วไปเช่นพรบ.แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 แต่เป็นพรบ.ที่ตัดสิทธิของกรรมกรอย่างรุนแรงและปัญหาความยากจน ก็เห็นชัดเจนแล้วว่า ประเทศเราไม่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย เมื่อ ประเทศยังไม่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยหรือยังไม่เป็นประชาธิปไตย กรรมกรจึงมีภารกิจในการต่อสู้เพื่อทาให้ประเทศเป็นประชาธิปไตยเพราะกรรมกร ต้องต่อสู้เพื่อทาให้ประเทศเป็นประชาธิปไตยแล้วเท่านั้นจึงจะมีกฎหมายรับรอง สิทธิโดยบริบูรณ์ของกรรมกรและกรรมกรจึงจะหมดสิ้นความยากจนได้
  • 5. ฉะนั้น เมื่อพูดถึงสิทธิของกรรมกรไทยในปัจจุบัน รวมทั้งพนักงานรัฐวิสาหกิจ จึงหมายถึงสิทธิของกรรมกรในประเทศเผด็จการไม่ใช่สิทธิของกรรมกรในประเทศ ประชาธิปไตย สิทธิของกรรมกรในประเทศเผด็จการ นั้นด้านหนึ่งกรรมกรถูกตัดสิทธิอย่างรุนแรง เป็นต้นแต่อีกด้านหนึ่งกรรมกรมีสิทธิโดยธรรมชาติในการต่อสู้เพื่อให้ได้มา ซึ่งประชาธิปไตยจะเห็นได้จากข้อเท็จจริงที่กรรมกรในประเทศต่าง ๆใช้สิทธิของตนในการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย เช่น อังกฤษ อเมริกา ฝรั่งเศส ฯลฯ ที่กล่าวมาแล้วซึ่งกรรมกรในประเทศเหล่านั้นจะต้องใช้สิทธิตามธรรมชาติต่อสู้ ให้ได้มาซึ่งประชาธิปไตยเท่านั้นกรรมกรจึงจะมีสิทธิตามกฎหมายในระบอบ ประชาธิปไตยได้ การหวังจะให้มีสิทธิตามระบอบประชาธิปไตยในขณะที่ยังไม่มีระบอบประชาธิปไตย นั้นเป็นไปไม่ได้ ฉะนั้นการใช้สิทธิของกรรมกร ไทยในปัจจุบันรวมทั้งกรรมกรรัฐวิสาหกิจจึงหมายถึงการใช้สิทธิตามธรรมชาติ ซึ่งมีอยู่อย่างกว้างขวางในการต่อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่งประชาธิปไตยและเป็น การต่อสู้ โดยสันติตามวิถีทางรัฐธรรมนูญซี่งเป็นทางเดียวที่จะบรรลุความสาเร็จของการ สร้างประชาธิปไตยในประเทศไทย การผลักดันการ สร้างประชาธิปไตยโดยกรรมกรนั้นมีอยู่เป็นสากลอันเป็นสิทธิของกรรมกรตาม ที่ILO รับรองอยู่แล้วซึ่งมีอยู่ตามคารายงานต่อที่ประชุมสมัชชากรรมกรแห่งชาติสมัย ประชุมที่ 1/2536 เมื่อ11 กันยายน 2536 ณ ปากช่อง นครราชสีมา เรื่อง“แนวทางการต่อสู้ของกรรมกรไทยกับการแก้ไขปัญหาของชาติ” ดังต่อไปนี้ “เพื่อนกรรมกรที่รักแนวทางของกรรมกรคืออะไรนั้น กรรมกรทุกคนทราบดีอยู่แล้วแนวทางของกรรมกรก็คือแนวทางการหยุดงานทั่วไป แนว ทางการหยุดงานทั่วไปเป็นแนวทางการต่อสู้ของกรรมกรเองโดยเฉพาะและเป็นแนวทาง ของกรรมกรทั่วโลกแม้ว่ากรรมกรจะมีรูปแบบการต่อสู้อย่างอื่น แต่การหยุดงานทั่วไปเป็นรูปแบบการต่อสู้สูงสุดของกรรมกรจึงทาให้การหยุดงาน ทั่วไปมีประสิทธิภาพสูงสุดในการโค่นเผด็จการ และการสร้างประชาธิปไตย
  • 6. การ สร้างประชาธิปไตยในประเทศต่างๆ นอกจากที่ดาเนินการโดยพระมหากษัตริย์แล้ว สาเร็จลงด้วยการหยุดงานทั่วไปของกรรมกรเป็นพลังผลักดันทั้งสิ้นเพราะเมื่อ นายทุนได้อานาจรัฐด้วยการสนับสนุนจากกรรมกรแล้ว ก็ละทิ้งหลักการประชาธิปไตยของตนเสียหันไปใช้การปกครองระบอบเผด็จการที่ตน โค่นล้มลงไปกรรมกรจึงต้องผลักดันให้นายทุนปฏิบัติหลักการประชาธิปไตยของตน วิธีผลักดันที่สาคัญที่สุดคือการหยุดงานทั่วไป นี่คือกรรมกรเป็นผู้สร้างประชาธิปไตยร่วมกับนายทุนทาให้ความสาเร็จของการ สร้างประชาธิปไตยขึ้นอยู่กับบทบาทของกรรมกร ถ้าไม่มีการผลักดันจากกรรมกรแล้วนายทุนก็ไม่ยอมสร้างประชาธิปไตยแต่นัก ประวัติศาสตร์มักจะปิดบังความจริงข้อนี้ พราะมีอคติต่อกรรมกร การ หยุดงานทั่วไปมีบทบาทชี้ขาดในประวัติศาสตร์ของการโค่นล้มเผด็จการสร้าง ประชาธิปไตยเริ่มต้นด้วยการสร้างประชาธิปไตยของขบวนการกรรมกรชา ติสต์(Chartist) ในอังกฤษซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยของอังกฤษที่เป็นแบบฉบับโดยการหยุด งานทั่วไปเป็นรูปการต่อสู้ที่สาคัญระยะหลังสุดคือการโค่นล้มระบอบเผด็จการ คอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตและยุโรปตะวันออกโดยเฉพาะในโปแลนด์ ระบอบเผด็จการคอมมิวนิสต์นั้นไม่มีใครคาดคิดมาก่อนว่าจะถูกโค่นลง มาได้แต่ ขบวนการกรรมกรโซลิดาริตี้ (Solidarity)ในโปแลนด์ก็พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่าสามารถโค่นลงได้ด้วยการหยุด งานทั่วไปไม่ว่าการปกครองระบอบเผด็จการรูปใด รวมทั้งระบอบเผด็จการระบบรัฐสภาสามารถเปลี่ยนแปลงให้เป็นระบอบประชาธิปไตย ได้ทั้งสิ้นได้ด้วยการหยุดงานทั่วไป นีคือสูตรของการสร้างประชาธิปไตยในประเทศทั้งปวงประเทศไทยก็ไม่มีข้อยกเว้น แต่การหยุดงานทั่วไป จะเป็นไปตามลักษณะพิเศษของประเทศไทยคือ เป็นสันติวิธีอย่างแท้จริง พี่น้องกรรมกรทั้งหลายเมื่อพระราชกรณียกิจ สถาปณาการปกครองระบอบประชาธิปไตยของพระมหากษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิราชถูกขัด ขวางทาลาย ภารกิจการสร้างประชาธิปไตยในประเทศก็มาตกอยู่กับกรรมกร ฉะนั้นแนวทางการต่อสู้ของกรรมกรไทยกับการแก้ปัญหาของชาติก็คือการหยุดงาน ทั่วไปเพื่อการสร้างประชาธิปไตยและนี่คือภารกิจของสมัชชากรรมกรแห่งชาติ” ดัง นั้นเพื่อบรรลุความสาเร็จในภารกิจทางประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่สร้าง ประชาธิปไตยแก้ไขปัญหาของชาติและของประชาชนแล้วจะแก้ปัญหาของกรรมกรตกไป อย่างเป็นไปเองกระผมจึงเสนอต่อมวลพี่น้องกรรมกรผู้มีเกียรติทั้งหลายและผู้ เกี่ยวข้องทุกฝ่ายดังต่อไปนี้...
  • 7. 1. เริ่มต้นมาตรการแรกที่สุดคือ ปฏิวัติขบวนการกรรมกรให้สาเร็จเสียก่อน คือ เลิกคิดเลิกเรียกตัวเองว่า“ผู้ใช้แรงงาน” หรือ “พนักงานรัฐวิสาหกิจ” กลับไปสู่สภาพเดิมแท้ (Status-quo) เป็นตัวของตัวเอง คือ “กรรมกร”ซึ่งเป็นคาที่มีเกียรติสูงส่งที่สุดตามที่พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรม หมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ได้รับรองไว้อย่ายอมตกเป็นทาสทางความคิดของฝ่าย เผด็จการที่ทาลายกรรมกรให้อ่อนแอพ่ายแพ้โดยบิดเบือนความเป็นกรรมกรและภารกิจ ทางประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ของกรรมกรทั้งด้านเศรษฐกิจและด้านการเมือง 2. ให้ฝ่ายการเมือง และข้าราชการที่เกี่ยวข้องกับกรรมกรทั้งสิ้นให้ช่วยปลดปล่อยทางความคิดจิต วิญญาณและทางการเมืองอันเป็นการสร้างประชาธิปไตยมาตรการแรกคือ เปลี่ยนคาว่า “พนักงานรัฐวิสาหกิจและผู้ใช้แรงงาน” มาเป็นคาว่า “กรรมกร”ที่ถูกต้องตามหลักวิชาและเป็นการให้เกียรติไม่เหยียดหยามต่อกรรมกร เยี่ยงเผด็จการโดยเปลี่ยนวันแรงงานแห่งชาติเป็นวันกรรมกรแห่งชาติดังประกาศ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ.2498อีกทั้งให้สิทธิเสรีภาพแก่กรรมกรในการเคลื่อนไหวกู้ชาติสร้าง ประชาธิปไตยแก้ปัญหาชาติประชาชนอันเป็นการแก้ปัญหาของกรรมกรอย่างเป็นไปเอง รัฐบาลจะได้ไม่ต้องมาคอยแก้ไขปัญหาม็อบหรือปัญหาค่าแรงขั้นต่าไม่รู้จบอยู่ เช่นนี้ และกรรมกรจะช่วยแก้ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจสังคม- วัฒนธรรมอย่างทั่วด้าน คือช่วยเป็นแรงพลังผลักดันช่วยรัฐบาลสร้างประชาธิปไตยให้สาเร็จรัฐบาลก็จะมี เสถียรภาพอยู่ได้ยาวนานต่อไป 3. พี่น้องกรรมกรผู้มีเกียรติที่รักทั้งหลายเริ่มติดอาวุธทางความคิดโดยยึดถือ แนวทางการแก้ปัญหาชาติของขบวนการกรรมกรไทยที่สืบทอดพระบรมราโชบายการสถาปณา การปกครองแบบประชาธิปไตยของล้นเกล้ารัชกาลที่ 7 พระบิดาแห่งระบอบประชาธิปไตย ที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับนโยบาย66/23 อันเป็นนโยบายแห่งชาติที่เคยใช้รักษาเอกราชของชาติไว้มาแล้ว 3 ครั้งคือรักษาเอกราชจากการรุกรานของลัทธิล่าอาณานิคมโดยสมเด็จพระพุทธเจ้า หลวงรัชกาลที่ 5รักษาชาติบ้านเมืองจากภัยคอมมิวนิสต์อินโดจีนด้วยการต่อสู้เอาชนะปฏิเสธ ทฤษฎีโดมิโนตามคาสั่งสานักนายกรัฐมนตรีที่ 110/12 โดยรัฐบาลจอมพล ถนอม รักษาชาติและราชบัลลังก์จากภัยของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ตามนโยบาย66/23 โดยรัฐบาลพลเอก เปรม 4. พี่น้องกรรมกรผู้มีเกียรติที่รักทั้งหลายเริ่มทาการจัดตั้งองค์การมวลชน กรรมกรระดับชาติให้เป็นเอกภาพเข้มแข็งในรูปของ“สภาแรงงานแห่ง ชาติ”(NationalLabour Council) ตามหลักการจัดตั้ง 5 หลักขององค์การสหประชาชาติ คืออิสระภาพ เสรีภาพ เสมอภาค สุขุมคัมภีรภาพ ดุลยภาพ
  • 8. 5. ลงมือผลักดันการสร้างประชาธิปไตยตามาตรการผลักดันของกรรมกรที่ทรงพลังและ สันติถูกกฎหมาย ตามวิถีทางรัฐธรรมนูญดังเช่น คารายงานของสมัชชากรรมกรแห่งชาติคือการหยุดงานทั่วไปเพื่อสร้าง ประชาธิปไตย(General Strike) อันเป็นหยุดงานทางการเมือง(Political Strike) ซึ่งเป็นการปฏิบัติกฎหมายสูงสุด (SupremeLaw) คือรักษาความมั่นคงแห่งชาติทั้งสถาบันชาติ สถาบันศาสนาและสถาบันพระมหากษัตรริย์ โดยการสร้างประชาธิปไตย ต่อสู้เพื่อเอาชนะขบวนการ ล้มปืนล้มทุน ล้มเจ้า หรืออาเพศ 10 ประการตามแบบอย่างการสร้างประชาธิปไตยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว อันเป็นการปฏิบัตินโยบาย 66/23 ขั้นตอนที่ 2 คือขยายเสรีภาพของบุคคล ขยายอานาจอธิปไตยของปวงชนบรรลุการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันเป็นการกระจายอานาจและนาสู่การสร้างประชาธิปไตยทางเศรฐกิจคือ การกระจายทุน และการสร้างประชาธิปไตยทางวัฒนธรรม คือการกระจายธรรมบรรลุสังคมประชาธิปไตยที่เป็นสังคมในอุดมคติของคนไทยทุกคน และที่สาคัญที่สุดแก้ปัญหาที่กาลังเผชิญหน้าคือความขัดแย้งของลัทธิรัฐ ธรรมนูญระหว่างรัฐบาล กับ กปปส.ที่กาลังจะรุนแรงนองเลือดให้ยุติลงในทันทีที่กรรมกรลงมือปฏิบัติภารกิจ การผลักดันการสร้างประชาธิปไตย (เอกสารศึกษาภายในขบวนการกรรมไทย) Edit : thongkrm_virut@yahoo.com