SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี
1
๓.๓ โครงการการคัดเลือกผู้แทนเข้าร่วมการประชุม
ผู้ได้รับรางวัลโนเบล ณ เมืองลินเดา
ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
ตามพระราชดำาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
(Selection of Candidates for the Lindau Nobel Laureate Meetings)
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี
2
• สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงอ่านวารสาร Deutschland ฉบับวันที่ 17
กรกฎาคม 2549 (http://www.magazine-germany.com/en/artikel-en/article/article/a-
gathering-of-great-minds.html) พบว่ามีการประชุมนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบล ณ เมืองลินเดา
จึงทรงมีพระราชดำาริว่าประเทศไทยจะได้ประโยชน์จากการเข้าร่วมในการประชุมดังกล่าว
• สวทช.ได้สนองพระราชดำาริโดยได้ลงนามบันทึกความเข้าใจกับสภาการประชุมผู้ได้รับรางวัลโน
เบลเมืองลินเดา และมูลนิธิการประชุมผู้ได้รับรางวัลโนเบลเมืองลินเดา ครั้งแรกเมื่อ 29 มิถุนายน
พ.ศ. 2551 และครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 โดยพระองค์ได้ทรงประทับเป็นองค์
ประธานทั้งสองครั้ง
• วัตถุประสงค์ เพื่อคัดเลือกและส่งนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่เข้าร่วมการประชุม
• การประชุมดังกล่าวก่อตั้งเมื่อ ค.ศ.1951 (พ.ศ. 2494) โดยมูลนิธิการประชุมผู้ได้รับรางวัลโนเบล ณ
เมืองลินเดา ทะเลสาบคอนสแตนซ์ (Foundation Lindau Nobelprizewinners Meeting at Lake
Constance)
• เพื่อสร้างเครือข่ายระหว่างผู้ได้รับรางวัลโนเบล กับเยาวชนและนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ โดยได้เชิญ
ผู้ได้รับรางวัลโนเบลนักศึกษาและนักวิจัยจากทั่วโลกเข้าร่วมการประชุม
• ระยะเวลาของการประชุมราว 1 สัปดาห์ ระหว่างปลายมิถุนายนถึงต้นกรกฎาคม ณ เมืองเมืองลินเดา
ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
• จัดทุกปีหมุนเวียนไปตามสาขาฟิสิกส์ เคมี และสรีรวิทยาหรือแพทยศาสตร์ และในปี ค.ศ. 2005 ซึ่ง
เป็นปีไอน์สไตน์ได้จัดการประชุมขึ้นทั้งสามสาขาพร้อมกัน สำาหรับสาขาเศรษฐศาสตร์ จัดขึ้นทุก 2
ปี เริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 2004
ความเป็นมาความเป็นมา
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี
3
• สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จร่วมการประชุม 4 ครั้ง ตั้งแต่ปี
พ.ศ. 2551 ถึง ปี พ.ศ. 2554
• สำาหรับในปี พ.ศ. 2553 นั้น มูลนิธิการประชุมผู้ได้รับรางวัลโนเบล ณ เมืองลินเดาได้
ทูลเกล้าฯ ถวายพระเกียรติให้ดำารงตำาแหน่งวุฒิสภากิตติมศักดิ์ (สภาสูง) ของมูลนิธิฯ
ณ หอประชุมอินเซลฮัลเล เมืองลินเดา ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
ในพิธีเปิดการประชุมผู้ได้รับรางวัลโนเบล เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2553
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี
4
• ตัวแทนองค์กรประเทศไทย(สวทช)ได้ลงนามความบันทึกความเข้าใจกับสภาการประชุมผู้
ได้รับรางวัลโนเบล ณ เมืองลินเดาและมูลนิธิการประชุมผู้ได้รับรางวัลโนเบล ณ เมื่องลินเดา
ในการสนับสนุนตัวแทนนักวิทยาศาสตร์ไทยรุ่นเยาว์เข้าร่วมกิจกรรมครั้งที่ 1 เมื่อ
พ.ศ.2551 (ระยะเวลา พ.ศ. 2551-2553) และครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ.2553 (ระยะเวลา พ.ศ.
2554–2556)
สมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีทรงฉายพระรูป ร่วมกับ
ผู้แทนทั้งสองฝายและเยาวชนผู้เข้าร่วมประชุมจากประเทศไทยในการลง
นาม ครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2553
โปรดเกล้าฯให้ตัวแทนไทยปี 2554 ได้เข้าเฝ้าในวันที่ 26
มิถุนายน 2554ในการประชุม The 61st
Meeting of Nobel
Laureates ทางสรีรวิทยาหรือแพทยศาสตร์ ระหว่าง 26
มิถุนายน – 1 กรกฎาคม 2554
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี
5
1.นายปัทม์  วงษ์ปาน
2.นางสาวอัจฉรา  ปัญญา
3.นางสาวสตรีรัตน์  โฮดัค (กำาแพงแก้ว)
ตัวแทนประเทศไทย
ประจำาปี 2551 สาขาฟิสิกส์
1.นางสาวรณพร ตันติเวชวุฒิกุล
2.นางสาวศิรินันท์ กุลชาติ
3.นายธนิษฐ์ ปราณีนรารัตน์
4.นายณิรวัฒน์ ธรรมจักร์
5.นางสาวรวิวรรณ เหล่าเจริญสุข
6.นางสาวปาริฉัตร วนลาภพัฒนา
ตัวแทนประเทศไทย
ประจำาปี 2552 สาขาเคมี
ตัวแทนประเทศไทยประจำาปี 2553
สาขาเคมี ฟิสิกส์ สรีรวิทยาหรือแพทยศาสตร์
1.นายสุธีรักษ์ ฤกษ์ดี
2.นายสุรเชษฐ์ หลิมกำาเนิด
4.นายฉัตรชัย เหมือนประสาท
5.นายสิขริณญ์ อุปะละ
3.นางสาวนิธิวดี ไทยเจริญ
ตัวแทนประเทศไทยประจำาปี 2554
สาขาสรีรวิทยาและแพทยศาสตร์
1.นายฐิติวัฒน์ สังขวร
1 2 3
2.นายอนาวิล สงวนแก้ว
3. นางสาวพรพรรณ มาตังคสมบัติ
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี
6
ตัวแทนประเทศไทยประจำาปี 2555 สาขาฟิสิกส์
กำาลังศึกษาปริญญาโทควบเอกชั้นปีที่ 4
สาขาฟิสิกส์ ม.เทคโนโลยีสุรนารี
กำาลังเดินทางไปทำาวิจัยหลังปริญญาเอก
(postdoctoral) ที่ University of
Durham ประเทศอังกฤษ โดยทุน พสวท
ได้รับทุนไปศึกษาต่อต่างประเทศจาก
พสวท. กำาลังเตรียมการสมัครเข้า
สถานะตอนนี้เป็นนักศึกษาป.โท ปีที่ 1
สาขาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ถ่ายภาพร่วมกับศาสตราจารย์ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์
และศาสตารจารย์นพ.สิริฤกษ์ ทรงสิวิไลหน้าหอ
ประชม Inselhalle Lindau
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี
7
1. นางสาวดิษยา พรพัฒนนางกูร 
จบปริญญาเอกจาก University of
California sandiego (UCSD) สาขา
Bioengineering  
ปัจจุบันเป็นอาจารย์ ภาค
วิชาInternational School of
Engineering คณะวิทยาศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. นายนำาพล  อินสิน 
จบปริญญาเอก
จากMassachusetts Institute of
Technology สาขา Inorganic
Chemistry 
ปัจจุบันเป็น อาจารย์ ภาควิชาเคมี
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย
3. นายกันตพัฒน์  จันทร์แส
นภักดิ์  
กำาลังศึกษาปริญญาเอกที่ Texas
A&M University USA , ปริญญาตรี
จบจาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
4.นางสาวอัญญานี คำาแก้ว   
กำาลังศึกษาปริญญาเอกที่ Texas
A&M University USA ,จบปริญญา
ตรี จาก มหาวิทยาลัยศิลปากร
5. นายจารุพงษ์ แสงบุญมี  
กำาลังศึกษาปริญญาเอก ปี 1
คณะแพทยศาสตร์ สาขา ชีวเคมี
ทางการแพทย์และชีววิทยา
โมเลกุล มหาวิทยาลัยขอนแก่น
จบปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัย
ขอนแก่นสาขาวิทยาศาสตร์การ
แพทย์
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี
8
กิจกรรมก่อนและหลังกลับจากร่วมกิจกรรม
 ก่อนเดินทางได้มีการจัดประชุมเตรียมความ
พร้อมวิชาการจำานวน 2 ครั้งโดยเรียนเชิญคณะ
กรรมการร่วมให้ข้อเสนอแนะ จัด
ทำาpresentation ถวายสมเด็จพระเทพรัตนราช
สุดาฯสยามบรมราชกุมารีและนำาไปใช้
ประโยชน์ของผู้เข้าร่วมประชุมเอง
 เฉพาะในปีที่มีฟิสิกส์ก็จะเข้าร่วมกิจกรรมที่
สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)
 ตัวอย่างกิจกรรมหลังจากการเข้าร่วมโครงการ
เช่นนายฐิติวัฒน์ (ตัวแทนปี 2554) ได้รับเชิญ
จากสถาบันมะเร็งแห่งชาติให้เป็นวิทยากรเรื่อง
ประสบการณ์การเข้าร่วมประชุมผู้ได้รับรางวัล
โนเบล ณ เมืองลินเดา ใน วันที่ 18 สิงหาคม
2554 เป็นต้น
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี
9
“ตามรอยนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบล...ไอเดียสู่การสร้างสรรค์สะท้านโลก”
ในวันที่ 25 - 27 กรกฎาคม 2555 ณ บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
มีผู้เข้าร่วมงานทั้งสิ้น 214 คน มากกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ที่ 150 คน โดยมีวิทยากรจากกลุ่มผู้แทน
ลินเดา ทั้งสิ้น 14 คน จากทั้งหมด 23 คน และมีนักวิจัยและนักวิทยาศาสตร์ที่ประสบความสำาเร็จ เข้าร่วม
เป็นวิทยากร อีก กว่า 35 ท่าน
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี
10
กิจกรรมใน The 63rd Meeting of Nobel Laureates ปี 2556 วันที่ 30 มิ.ย.- 5
ก.ค.56
•สำานักงานโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริฯ สวทช. ได้ช่วยดำาเนินเรื่อง
การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตติยดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 3 ให้กับ เคาน์เตสเบตทีนา
เบอร์ นาดอตต์(Countess Bettina Bernadotte) และ ศาสตราจารย์ ดร.ว็อล์ฟกัง ชือเรอร์
(Dr. h.c. Wolfgang Schürer) ซึ่งเป็นผู้ร่วมผลักดันในการเพิ่มจำานวน นักวิทยาศาสตร์ไทยเข้า
ร่วมโครงการประชุมนักวิทยาศาสตร์โนเบล ณ เมืองลินเดา จากเริ่มต้นปีละ 3 คน (ปี พ.ศ.2551) เป็น
ปี ละ 6 คน ในปัจจุบัน
•ทั้งสองท่านได้ขอให้นำาความขึ้นกราบบัคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรเกล้าฯพระราชทานเครื่องราชดังกล่าวใน
ระหว่างการประชุมThe 63rd Meeting of Nobel Laureates ปี 2556
•การลงนาม MoU ครั้งที่3ระหว่างสวทชและลินเดา
ศาสตราจารย์ ดร.ว็อล์
ฟกัง ชือเรอร์Chairman
of the Foundation
Lindau
Nobelprizewinners
Meetings และ Vice-
President of the
Council for Lindau
Nobel Laureate
Meetings
เคาน์เตสเบตทีนา เบอร์นาดอตต์
President of the Council for
Lindau Nobel Laureate
Meetings และMember of the
Board of the Foundation
Lindau Nobelprizewinners
Meetings
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี
11
หน่วยงานความร่วมมือ
ประกอบด้วยหน่วยงานสำาคัญ ได้แก่
• สำานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
• สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)
• ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ
• มหาวิทยาลัยมหิดล
• มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
• ฝ่ายเลขานุการโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

More Related Content

Featured

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

โครงการการคัดเลือกผู้แทนเข้าร่วมการประชุมผู้ได้รับรางวัลโนเบล ณ เมืองลินเดาฯ

  • 1. โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี 1 ๓.๓ โครงการการคัดเลือกผู้แทนเข้าร่วมการประชุม ผู้ได้รับรางวัลโนเบล ณ เมืองลินเดา ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ตามพระราชดำาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (Selection of Candidates for the Lindau Nobel Laureate Meetings)
  • 2. โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี 2 • สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงอ่านวารสาร Deutschland ฉบับวันที่ 17 กรกฎาคม 2549 (http://www.magazine-germany.com/en/artikel-en/article/article/a- gathering-of-great-minds.html) พบว่ามีการประชุมนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบล ณ เมืองลินเดา จึงทรงมีพระราชดำาริว่าประเทศไทยจะได้ประโยชน์จากการเข้าร่วมในการประชุมดังกล่าว • สวทช.ได้สนองพระราชดำาริโดยได้ลงนามบันทึกความเข้าใจกับสภาการประชุมผู้ได้รับรางวัลโน เบลเมืองลินเดา และมูลนิธิการประชุมผู้ได้รับรางวัลโนเบลเมืองลินเดา ครั้งแรกเมื่อ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2551 และครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 โดยพระองค์ได้ทรงประทับเป็นองค์ ประธานทั้งสองครั้ง • วัตถุประสงค์ เพื่อคัดเลือกและส่งนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่เข้าร่วมการประชุม • การประชุมดังกล่าวก่อตั้งเมื่อ ค.ศ.1951 (พ.ศ. 2494) โดยมูลนิธิการประชุมผู้ได้รับรางวัลโนเบล ณ เมืองลินเดา ทะเลสาบคอนสแตนซ์ (Foundation Lindau Nobelprizewinners Meeting at Lake Constance) • เพื่อสร้างเครือข่ายระหว่างผู้ได้รับรางวัลโนเบล กับเยาวชนและนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ โดยได้เชิญ ผู้ได้รับรางวัลโนเบลนักศึกษาและนักวิจัยจากทั่วโลกเข้าร่วมการประชุม • ระยะเวลาของการประชุมราว 1 สัปดาห์ ระหว่างปลายมิถุนายนถึงต้นกรกฎาคม ณ เมืองเมืองลินเดา ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี • จัดทุกปีหมุนเวียนไปตามสาขาฟิสิกส์ เคมี และสรีรวิทยาหรือแพทยศาสตร์ และในปี ค.ศ. 2005 ซึ่ง เป็นปีไอน์สไตน์ได้จัดการประชุมขึ้นทั้งสามสาขาพร้อมกัน สำาหรับสาขาเศรษฐศาสตร์ จัดขึ้นทุก 2 ปี เริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 2004 ความเป็นมาความเป็นมา
  • 3. โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี 3 • สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จร่วมการประชุม 4 ครั้ง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 ถึง ปี พ.ศ. 2554 • สำาหรับในปี พ.ศ. 2553 นั้น มูลนิธิการประชุมผู้ได้รับรางวัลโนเบล ณ เมืองลินเดาได้ ทูลเกล้าฯ ถวายพระเกียรติให้ดำารงตำาแหน่งวุฒิสภากิตติมศักดิ์ (สภาสูง) ของมูลนิธิฯ ณ หอประชุมอินเซลฮัลเล เมืองลินเดา ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ในพิธีเปิดการประชุมผู้ได้รับรางวัลโนเบล เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2553
  • 4. โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี 4 • ตัวแทนองค์กรประเทศไทย(สวทช)ได้ลงนามความบันทึกความเข้าใจกับสภาการประชุมผู้ ได้รับรางวัลโนเบล ณ เมืองลินเดาและมูลนิธิการประชุมผู้ได้รับรางวัลโนเบล ณ เมื่องลินเดา ในการสนับสนุนตัวแทนนักวิทยาศาสตร์ไทยรุ่นเยาว์เข้าร่วมกิจกรรมครั้งที่ 1 เมื่อ พ.ศ.2551 (ระยะเวลา พ.ศ. 2551-2553) และครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ.2553 (ระยะเวลา พ.ศ. 2554–2556) สมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีทรงฉายพระรูป ร่วมกับ ผู้แทนทั้งสองฝายและเยาวชนผู้เข้าร่วมประชุมจากประเทศไทยในการลง นาม ครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2553 โปรดเกล้าฯให้ตัวแทนไทยปี 2554 ได้เข้าเฝ้าในวันที่ 26 มิถุนายน 2554ในการประชุม The 61st Meeting of Nobel Laureates ทางสรีรวิทยาหรือแพทยศาสตร์ ระหว่าง 26 มิถุนายน – 1 กรกฎาคม 2554
  • 5. โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี 5 1.นายปัทม์  วงษ์ปาน 2.นางสาวอัจฉรา  ปัญญา 3.นางสาวสตรีรัตน์  โฮดัค (กำาแพงแก้ว) ตัวแทนประเทศไทย ประจำาปี 2551 สาขาฟิสิกส์ 1.นางสาวรณพร ตันติเวชวุฒิกุล 2.นางสาวศิรินันท์ กุลชาติ 3.นายธนิษฐ์ ปราณีนรารัตน์ 4.นายณิรวัฒน์ ธรรมจักร์ 5.นางสาวรวิวรรณ เหล่าเจริญสุข 6.นางสาวปาริฉัตร วนลาภพัฒนา ตัวแทนประเทศไทย ประจำาปี 2552 สาขาเคมี ตัวแทนประเทศไทยประจำาปี 2553 สาขาเคมี ฟิสิกส์ สรีรวิทยาหรือแพทยศาสตร์ 1.นายสุธีรักษ์ ฤกษ์ดี 2.นายสุรเชษฐ์ หลิมกำาเนิด 4.นายฉัตรชัย เหมือนประสาท 5.นายสิขริณญ์ อุปะละ 3.นางสาวนิธิวดี ไทยเจริญ ตัวแทนประเทศไทยประจำาปี 2554 สาขาสรีรวิทยาและแพทยศาสตร์ 1.นายฐิติวัฒน์ สังขวร 1 2 3 2.นายอนาวิล สงวนแก้ว 3. นางสาวพรพรรณ มาตังคสมบัติ
  • 6. โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี 6 ตัวแทนประเทศไทยประจำาปี 2555 สาขาฟิสิกส์ กำาลังศึกษาปริญญาโทควบเอกชั้นปีที่ 4 สาขาฟิสิกส์ ม.เทคโนโลยีสุรนารี กำาลังเดินทางไปทำาวิจัยหลังปริญญาเอก (postdoctoral) ที่ University of Durham ประเทศอังกฤษ โดยทุน พสวท ได้รับทุนไปศึกษาต่อต่างประเทศจาก พสวท. กำาลังเตรียมการสมัครเข้า สถานะตอนนี้เป็นนักศึกษาป.โท ปีที่ 1 สาขาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถ่ายภาพร่วมกับศาสตราจารย์ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ และศาสตารจารย์นพ.สิริฤกษ์ ทรงสิวิไลหน้าหอ ประชม Inselhalle Lindau
  • 7. โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี 7 1. นางสาวดิษยา พรพัฒนนางกูร  จบปริญญาเอกจาก University of California sandiego (UCSD) สาขา Bioengineering   ปัจจุบันเป็นอาจารย์ ภาค วิชาInternational School of Engineering คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. นายนำาพล  อินสิน  จบปริญญาเอก จากMassachusetts Institute of Technology สาขา Inorganic Chemistry  ปัจจุบันเป็น อาจารย์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 3. นายกันตพัฒน์  จันทร์แส นภักดิ์   กำาลังศึกษาปริญญาเอกที่ Texas A&M University USA , ปริญญาตรี จบจาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 4.นางสาวอัญญานี คำาแก้ว    กำาลังศึกษาปริญญาเอกที่ Texas A&M University USA ,จบปริญญา ตรี จาก มหาวิทยาลัยศิลปากร 5. นายจารุพงษ์ แสงบุญมี   กำาลังศึกษาปริญญาเอก ปี 1 คณะแพทยศาสตร์ สาขา ชีวเคมี ทางการแพทย์และชีววิทยา โมเลกุล มหาวิทยาลัยขอนแก่น จบปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัย ขอนแก่นสาขาวิทยาศาสตร์การ แพทย์
  • 8. โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี 8 กิจกรรมก่อนและหลังกลับจากร่วมกิจกรรม  ก่อนเดินทางได้มีการจัดประชุมเตรียมความ พร้อมวิชาการจำานวน 2 ครั้งโดยเรียนเชิญคณะ กรรมการร่วมให้ข้อเสนอแนะ จัด ทำาpresentation ถวายสมเด็จพระเทพรัตนราช สุดาฯสยามบรมราชกุมารีและนำาไปใช้ ประโยชน์ของผู้เข้าร่วมประชุมเอง  เฉพาะในปีที่มีฟิสิกส์ก็จะเข้าร่วมกิจกรรมที่ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)  ตัวอย่างกิจกรรมหลังจากการเข้าร่วมโครงการ เช่นนายฐิติวัฒน์ (ตัวแทนปี 2554) ได้รับเชิญ จากสถาบันมะเร็งแห่งชาติให้เป็นวิทยากรเรื่อง ประสบการณ์การเข้าร่วมประชุมผู้ได้รับรางวัล โนเบล ณ เมืองลินเดา ใน วันที่ 18 สิงหาคม 2554 เป็นต้น
  • 9. โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี 9 “ตามรอยนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบล...ไอเดียสู่การสร้างสรรค์สะท้านโลก” ในวันที่ 25 - 27 กรกฎาคม 2555 ณ บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย มีผู้เข้าร่วมงานทั้งสิ้น 214 คน มากกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ที่ 150 คน โดยมีวิทยากรจากกลุ่มผู้แทน ลินเดา ทั้งสิ้น 14 คน จากทั้งหมด 23 คน และมีนักวิจัยและนักวิทยาศาสตร์ที่ประสบความสำาเร็จ เข้าร่วม เป็นวิทยากร อีก กว่า 35 ท่าน
  • 10. โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี 10 กิจกรรมใน The 63rd Meeting of Nobel Laureates ปี 2556 วันที่ 30 มิ.ย.- 5 ก.ค.56 •สำานักงานโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริฯ สวทช. ได้ช่วยดำาเนินเรื่อง การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตติยดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 3 ให้กับ เคาน์เตสเบตทีนา เบอร์ นาดอตต์(Countess Bettina Bernadotte) และ ศาสตราจารย์ ดร.ว็อล์ฟกัง ชือเรอร์ (Dr. h.c. Wolfgang Schürer) ซึ่งเป็นผู้ร่วมผลักดันในการเพิ่มจำานวน นักวิทยาศาสตร์ไทยเข้า ร่วมโครงการประชุมนักวิทยาศาสตร์โนเบล ณ เมืองลินเดา จากเริ่มต้นปีละ 3 คน (ปี พ.ศ.2551) เป็น ปี ละ 6 คน ในปัจจุบัน •ทั้งสองท่านได้ขอให้นำาความขึ้นกราบบัคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรเกล้าฯพระราชทานเครื่องราชดังกล่าวใน ระหว่างการประชุมThe 63rd Meeting of Nobel Laureates ปี 2556 •การลงนาม MoU ครั้งที่3ระหว่างสวทชและลินเดา ศาสตราจารย์ ดร.ว็อล์ ฟกัง ชือเรอร์Chairman of the Foundation Lindau Nobelprizewinners Meetings และ Vice- President of the Council for Lindau Nobel Laureate Meetings เคาน์เตสเบตทีนา เบอร์นาดอตต์ President of the Council for Lindau Nobel Laureate Meetings และMember of the Board of the Foundation Lindau Nobelprizewinners Meetings
  • 11. โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี 11 หน่วยงานความร่วมมือ ประกอบด้วยหน่วยงานสำาคัญ ได้แก่ • สำานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) • สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) • ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ • มหาวิทยาลัยมหิดล • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี • ฝ่ายเลขานุการโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำาริสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี