SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
โครงการการจัดการพัฒนาทักษะบุคลากร
ดานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร
OPERATING SYSTEM
ผูทําโครงการ
นาย ธนกฤต ฉิมชัยชนะ
น.ส วรัญญา ศรีสุข
โครงการนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
เเผนกวิชา บริหารธรุกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีปทุมธานี
ปการศึกษา 2558
ใบรับรองโครงการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีปทุมธานี
ชื่อโครงการเรื่อง : การจัดการพัฒนาทักษะบุคลากรดานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร
โดย : นาย ธนกฤต ฉิมชัยชนะ
: น.ส. วรัญญา ศรีสุข
ที่ปรึกษาโครงการ : อาจารยวีระยุทธ ครรชิตชัยวาร
สาขาวิชา : การจัดการทรัพยากรมนุษย
ภาควิชา : บริหารธรุกิจ
ปการศึกษา : 2558
วิทยาลัยเทคโนโลยีปทุมธานี ( T-Pech )ไดรับอนุมัติใหนับโครงการฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของ
การศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ เเผนกบริหารธุรกิจ
............................................... ผูอํานวยการ
( นายจตุรงค เพรชสงคราม )
วันที่ ................ เดือน ........................ พ.ศ. ..................
คณะกรรมการสอบโครงการ
............................................................... หัวหนาเเผนกบริหารธรุกิจ
( อาจารยภัทรวดี วงษไกร )
................................................................ กรรมการ
( อาจารยประสิทธิ์ สกุลทอง )
................................................................ กรรมการ
( อาจารยปรัชญา บุญทรงเจริญ )
................................................................ กรรมการ
( อาจารยพงศกร พุทธอินทรา )
โครงงานการจัดการพัฒนาทักษะบุคลากร
ดานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร
OPERATING SYSTEM
นาย ธนกฤต ฉิมชัยชนะ
น.ส วรัญญา ศรีสุข
โครงการนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
เเผนกวิชา บริหารธรุกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีปทุมธานี
ปการศึกษา 2558
ชื่อเรื่อง : การจัดการพัฒนาทักษะบุคลากรดานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร
สาขาวิชา : การจัดการทรัพยากรมนุษย
แผนกวิชา : บริหารธรุกิจ
ที่ปรึกษา : อาจารยวีระยุทธ ครรชิตชัยวาร
ปที่การศึกษา : 2558
บทคัดยอ
โครงงานการจัดการพัฒนาทักษะบุคลากรดานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอรจัดทําขึ้นโดยมี
วัตถุประสงคดังนี้
1. เพื่อเผยแพรความรูเกี่ยวกับระบบปฎิบัติการ ( Operating System )
2. เพื่อใชเปนสื่อในการศึกษาสําหรับผูที่สนใจ เรื่อง การจัดการพัฒนาทักษะบุคลากรดาน
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร สื่อเเละโปรเเกรมที่ใชในการดําเนินการ คือ
2.1 www. Google Chrome
2.2 Microsoft Word 2007
2.3 www. Gmail.com
2.4 www. blogger.com
2.5 www.slideshare.net
ผลการเผยแพรความรูออนไลน เรื่อง การจัดการพัฒนาทักษะบุคลากรดานระบบปฏิบัติการ
คอมพิวเตอรใน http://www.slideshare.net/AkiraSan13/ss-46531380 ประกอบดวยเนื้อหาของ
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร ( Operating System ) และผลการประเมินของโครงงานการจัดการ
พัฒนาทักษะบุคลากรดานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร โดยมีคาเฉลี่ยอยูในระดับ D ( X=3.70)
………..............………….......นักศึกษา ……….......…....……… ครูผูควบคุมโครงการ
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานนี้สําเร็จลุลวงไดดวยความกรุณาจาก อ.วีระยุทธ ครรชิตชัยวาร อาจารยที่ควบคุม
โครงงานที่ใหความกรุณาแนะนําและใหคําปรึกษาตลอดจนใหความชวยเหลือแกไขขอบกพรอง
ตางๆมาโดยตลอดจนทําให โครงงานการจัดการพัฒนาทักษะบุคลากรดานระบบปฏิบัติการ
คอมพิวเตอร ครั้งนี้สําเสร็จสมบูรณตามวัตถุประสงคผูจัดทําโครงงานจึงขอขอบพระคุณเป็นอยาง
สูงไว ณ โอกาสนี้
ขอขอบพระคุณ บิดา มารดา เพื่อนนักเรียน ตลอดจนผูที่เกี่ยวของทุกทานที่ไมไดกลาว นาม
ไว ณ ที่นี้ ที่มีสวนชวยเหลือใหโครงงานฉบับนี้สําเร็จลุลวงไดดวยดี
ธนกฤต ฉิมชัยชนะ
วรัญญา ศรีสุข
สารบัญ
เรื่อง หนา
บทคัดยอ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ
บทที่ 1 บทนํา
ที่มาและความสําคัญ
วัตถุประสงคของโครงการ
ขอบเขตของโครงงาน
ผลที่คาดวาจะไดรับ
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ
ความหมายของระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร ( Operating System )
ระบบปฎิบัติการ คืออะไร
ระบบปฎิบัติการ DOS
ระบบปฎิบัติการ Windows
ระบบปฎิบัติการ Linux
บทที่ 3 อุปกรณและวิธีการดําเนินการ
วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใชในการพัฒนา
ขั้นตอนการดําเนินงาน
บทที่ 4 ผลการดําเนินโครงงาน
ผลการดําเนินงานระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร ( Operating System )
ตัวอยางการดําเนินงานระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร ( Operating System )
บทที่ 5 สรุปผลการดําเนินงาน และขอเสนอแนะ
สรุปผลการดําเนินระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร ( Operating System )
ผลการประเมินประสิทธิภาพ
อุปสรรคในการทํางาน
ขอเสนอเเนะ
สารบัญ ( ตอ )
เรื่อง หนา
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
สารบัญตาราง
เรื่อง หนา
ตารางที่ 1
แบบประเมินประสิทธิภาพของ โครงงานการจัดการพัฒนาทักษะบุคลากรดาน
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร ( Operating System )
สารบัญภาพ
เรื่อง หนา
ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ MS-DOS
ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows 95
ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows 98
ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows Me
ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows 2000
ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows XP
ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows Vista
ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows 7
ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Linux
ตัวอยางภาพขั้นตอนการสราง Gmail และ Blogger
ตัวอยางการอัพโหลดไฟลลงเว็บ www.slideshare.com
บทที่ 1
บทนํา
1.1 แนวคิด ที่มา และความสําคัญ
ถามีรถยนตอยูแตขับรถยนตไมเปน รถยนตคันดังกลาวก็จะไมมีประโยชนอะไรเลย ซึ่ง
คอมพิวเตอรก็เชนเดียวกัน ถึงแมวาจะมีเครื่องคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพมากเพียงใดก็ตามถา
หากเครื่องคอมพิวเตอรดังกลางไมมีระบบปฎิบัติการคอยควบคุมการทํางาน ซึ่งเปรียบเสมือนกับ
คนขับรถที่จะตองคอยควบคุมรถใหเดินทางไปถึงที่หมายอยางถูกตองและปลอดภัยระบบปฎบัติ
การ ก็จะตองควบคุมการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอรใหทํางานตามที่ตองการเพื่อใหไดผล
ลัพธที่ถูกตอง
ในปจจุบันระบบปฎิบัติการไมไดนํามาใชงานกับเครื่องคอมพิวเตอรเทานั้น ยังมีอุปกรณ
อิเล็กทรอนิคสสมัยใหมตาง ๆ เชน โทรศัพทเคลื่อนที่ เครื่องเลนเกม หรือแมกระทั่งเครื่องซักผา
ก็มีระบบปฎิบัติการในการควบคุมการทํางานเชนกัน แตจะเปนระบบปฎิบัติการที่ออกแบบมา
สําหรับอุปกรณนั้น ๆ โดยเฉพาะ
ดังนั้น ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร (operating system) หรือ โอเอส (OS) เปนซอฟตแวร
ที่ทําหนาที่เปนตัวกลางระหวางฮารดแวรและซอฟตแวรประยุกตทั่วไป บางครั้งเราอาจะเห็น
ระบบปฏิบัติการเปนเฟรมแวรก็ได ระบบปฏิบัติการมีหนาที่หลัก ๆ คือ การจัดสรรทรัพยากรใน
เครื่องคอมพิวเตอร เพื่อใหบริการซอฟตแวรประยุกต ในเรื่องการรับสงและจัดเก็บขอมูลกับ
ฮารดแวร เชน การสงขอมูลภาพไปแสดงผลที่จอภาพ การสงขอมูลไปเก็บหรืออานจาก
ฮารดดิสก การรับสงขอมูลในระบบเครือขาย การสงสัญญานเสียงไปออกลําโพง หรือจัดสรรพื้นที่
ในหนวยความจํา ตามที่ซอฟตแวรประยุกตรองขอ รวมทั้งทําหนาที่จัดสรรเวลาการใชหนวย
ประมวลผลกลาง ในกรณีที่อนุญาตใหซอฟตแวรประยุกตหลายๆ ตัวทํางานพรอมๆ กัน
ระบบปฏิบัติการ ชวยใหตัวซอฟตแวรประยุกต ไมตองจัดการเรื่องเหลานั้นดวยตนเอง
เพียงแคเรียกใชบริการจากระบบปฏิบัติการก็พอ ทําใหพัฒนาซอฟตแวรประยุกตไดงายขึ้น
ระบบปฏิบัติการที่เปนที่นิยมในคอมพิวเตอรสวนบุคคลทุกวันนี้ ไดแก ไมโครซอฟท วินโดวส
แมคโอเอส และลินุกซ เปนตน
1.2 วัตถุประสงค
1.2.1. เพื่อสรางสภาพการใชงานที่สะดวกและมีประสิทธิภาพสําหรับผูใชในการใชทรัพยากร
ดานตาง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร
1.2.2. เพื่อใชเปนสื่อในการศึกษาใหกับผูที่สนใจ เรื่องระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร
1.2.3. เพื่อนําเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด
1.3 ขอบเขตการศึกษา
1.3.1. ขอบเขตดานเนื้อหา เรื่อง ระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร (Operating System ) ซึ่ง
ประกอบดวย
1.3.1.1 ระบบปฎิบัติการ DOS
1.3.1.2 ระบบปฎิบัติการ Windows
1.3.1.3 ระบบปฎิบัติการ Linux
1.3.2. โปรแกรมที่ใชในการดําเนินการ ไดแก
1.3.2.1 โปรแกรม Microsoft Word 2007
1.3.2.2 โปรแกรม Google Chrome
1.3.2.3 www.Blogger.com
1.3.2.4 www.Gmail.com
1.3.2.5 www.slideshare.com
1.4 ผลที่คาดวาจะไดรับ
1.4.1. เพื่อสรางสภาพการใชงานที่สะดวกและมีประสิทธิภาพสําหรับผูใชในการใชทรัพยากร
ดานตาง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร
1.4.2. เพื่อใชเปนสื่อในการศึกษาใหกับผูที่สนใจ เรื่อง ระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร
1.4.3. เพื่อนําเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด
บทที่ 2
2.1 เอกสารที่เกี่ยวของ
การจัดทําโครงงานการจัดการพัฒนาทักษะบุคลากรดานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร
นี้ผูจัดทําไดศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของตอไปนี้
2.1.1. ความหมายของระบบปฎิบัติการ
2.1.2. ระบบปฎิบัติการ คืออะไร ?
2.1.3. ระบบปฎิบัติการ DOS
2.1.4. ระบบปฎิบัติการ Windows
2.1.5. ระบบปฎิบัติการ Linux
2.1.1.ความหมายของระบบปฎิบัติการ
จากองคประกอบระบบคอมพิวเตอรขางตนก็จะเห็นไดวา ระบบปฎิบัติการถือเปนสวน
สําคัญสวนหนึ่งในระบบคอมพิวเตอร ซึ่งระบบปฎิบัติการจัดเปนโปรแกรมระบบที่ใชสําหรับ
ควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอร รวมทั้งจัดการจัดสรรทรัพยากรในระบบใหเปนไปอยางมี
ประสิทธิภาพ ดังนั้นระบบปฎิบัติการหรือมักเรียกสั้น ๆ วา ( OS:Operating System ) จึงหมายถึง
ชุดโปรแกรมที่ทําหนาที่ในการควบคุมดูแลการดําเนินการตาง ๆ ของระบบคอมพิวเตอรประสาน
การทํางานระหวางทรัพยากรตาง ๆ ในระบบทั้งในสวนที่ซอฟตแวรและสวนที่เปนฮารดแวร ให
สามารถดําเนินการทํางานรวมกันไดอยางเหมาะสมโดยมีเปาหมายเพื่อเปนตัวกลางที่ชายในการ
ประสานการทํางานของฮารดแวรและซอฟตแวรดวยการตอบสนองตอผูใชงาน
ทําใหผูใชงานสามารถโตตอบกับคอมพิวเตอรไดอยางสะดวกและเปนไปอยางที่ประสิทธิภาพ โดย
ผูใชงานไมจําเปนตองรูวาภายในคอมพิวเตอรตองทํางานอยางไรปลอยใหเปนหนาที่ของระบบ
ปฎิบัติการเปนผูจัดการแทนทั้งหมด
2.1.2. ระบบปฎิบัติการคืออะไร ?
ระบบปฏิบัติการเปนโปรแกรม (Software) ที่ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของ เครื่อง
คอมพิวเตอรและอุปกรณที่ตอพวงกับเครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งระบบปฏิบัติการจะทําหนาที่เปน
ตัวกลางในการติดตอกับฮารดแวรของเครื่องโดยตรงและโปรแกรมการใชงานตาง ๆ ระบบ
คอมพิวเตอรแทบทุกระบบถือวาระบบปฎิบัติการเปนสวนสําคัญของระบบปฎิบัติการโดยทั่วไป
ระบบคอมพิวเตอรแบงเปน 4 สวน คือ ฮารดแวร ระบบปฎิบัติการโปรแกรมประยุกตและผูใช
1. ฮารดแวร ประกอบดวยทรัพยากรตาง ๆ ที่มีในระบบ ไดแก อุปกรณนําขอมูลเขา/ออก
หนวยประมวลผลกลางและหนวยความจํา นอกจากนี้ยังหมายความรวมถึง โปรแกรมภาษาเครื่อง
และไมโครโปรแกรม ซึ่งเปนสวนที่บริษัทผูผลิตสรางขึ้นเพื่อใชเปนซอฟรแวรในระดับพื้นฐาน
(Primitive Level) โดยสามารถทํางานไดโดยตรงกับทรัพยากรระบบดวยคําสั่งงายๆ เชน ADD
MOVE หรือ JUMP คําสั่งเหลานี้จะถูกกําหนดเปนขั้นตอนการทํางานของวงจรภายในเครื่อง
คอมพิวเตอร ชุดคําสั่งที่ไมโครโปรแกรมตองแปลหรือตีความหมายจะอยูใน รูปแบบภาษาเครื่อง
และมักเปนคําสั่งในการคํานวณ เปรียบเทียบ และการควบคุมอุปกรณนําขอมูลเขา/ออก
2. ระบบปฏิบัติการ เปนโปรแกรมที่ทํางานเปนตัวกลางระหวางผูใชเครื่องและฮารดแวร โดย
มีวัตถุประสงคเพื่อจัดสภาพแวดลอมใหผูใชระบบสามารถปฏิบัติงานบนเครื่องคอมพิวเตอรได โดย
จะเอื้ออํานวยการพัฒนาและการใชโปรแกรมตางๆ รวมถึงการจัดสรรทรัพยากรตางๆ ใหไดอยางมี
ประสิทธิภาพ
3. โปรแกรมประยุกต คือซอฟตแวรหรือโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อการทํางานเฉพาะอยางที่
เราตองการ เชน งานสวนตัว งานทางดานธุรกิจ งานทางดานวิทยาศาสตร โปรแกรมทางธุรกิจ
เกมสตางๆ ระบบฐานขอมูล ตลอดจนตัวแปลภาษา เราอาจเรียกโปรแกรมประเภทนี้วา User's
Program โปรแกรมประเภทนี้โดยสวนใหญมักใชภาษาระดับสูงในการพัฒนา เชน ภาษาC, C++,
COBOL, PASCAL, BASIC ฯลฯ ตัวอยางของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นใชในทางธุรกิจ เชน
โปรแกรมระบบบัญชีจายเงินเดือน (Payroll Program) โปรแกรมระบบเชาซื้อ (Hire Purchase)
โปรแกรมระบบสินคาคงหลัง (Stock Program) ฯลฯ ซึ่งแตละโปรแกรมก็จะมีเงื่อนไขหรือ
แบบฟอรมที่แตกตางกันตามความตองการหรือกฏเกณฑของแตละหนวยงานที่ใชซึ่งโปรแกรม
ประเภทนี้เราสามารถดัดแปลงแกไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางสวนของโปรแกรมเองได
เพื่อใหตรงกับความตองการของผูใชงานโปรแกรม โปรแกรมเหลานี้เปนตัวกําหนด
แนวทางในการใชทรัพยากรระบบเพื่อทํางานตางๆ ใหแกผูใชหลากหลายประเภทซึ่งอาจเปนได
ทั้งบุคคล โปรแกรม หรือเครื่องคอมพิวเตอร เชนตัวแปรภาษาตองใชทรัพยากรระบบในการแปล
โปรแกรมภาษาระดับสูง ใหเปนภาษาเครื่องแกโปรแกรมเมอรดังนั้นระบบปฏิบัติการตอง
ควบคุมและประสานงานในการใชทรัพยากรระบบของผูใชใหเปนไปอยางถูกตอง
4. ผูใช ถึงแมระบบคอมพิวเตอรจะประกอบดวยองคประกอบทั้งทางดานฮารดแวรและ
ซอฟตแวร แตระบบคอมพิวเตอรจะไมสามารถทํางานไดถาขาดอีกองคประกอบหนึ่งซึ่งไดแก
องคประกอบทางดานบุคลากรที่จะเปนผูจัดการและควบคุมระบบคอมพิวเตอรใหสามารถ
ปฏิบัติงานไดอยางราบรื่นคอยแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นกับระบบคอมพิวเตอรพัฒนาโปรแกรม
ประยุกตตาง ๆ รวมไปถึงการใชงานโปรแกรมประยุกตที่ถูกพัฒนาขึ้น
2.1.3. ระบบปฎิบัติการ DOS (Disk Operating System)
เริ่มมีใชครั้งแรกบนเครื่อง IBM PC ประมานป คศ. 1981 เรียกวาโปรแกรม PC-DOS ตอมา
บริษัทไมโครซอฟตไดสราง MS-DOS สําหรับเครื่องคอมพิวเตอรทั้งไปและไดรับความนิยมอยาง
แพรหลายมาจึงถึงปจจุบัน ตั้งแตรุน Versions 1.0 / 2.0 /3.0 / 3.30 /4.0 5.0 / 6.0 และ 6.22 ปจจุบันมี
ซอฟตแวรทํางานภายใต ระบบปฎิบัติการ MS-DOS อยูเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะ
ไมโครคอมพิวเตอรรุนเกา ๆ ที่มีทรัพยากรของระบบนอย
ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ MS-DOS
การใชคําสั่งดอสโดยการพิมพคําสั่งที่เครื่องหมายพรอมรับคําสั่ง ในลักษณะCommand Line ซึ่ง
DOS ติดตอกับผูใชดวยการพิมพคําสั่งไมมีภาพกราฟกใหใชเรียกวาทํางานในโหมดตัวอักษร Text
Mode ทั้งนี้ ระบบปฎิบัติการ MS-DOS มีขอเสีย คือ ติดตอกับผูใชไมสะดวกเพราะผูใชตองจําพิมพ
คําสั่งใหถูกตองโปรแกรมจึงจะทํางาน ดังนั้นประมาณป ค.ศ. 1985 บริษัทไมโครซอฟตไดพัฒนา
Microsoft Windows Version 1.0 และเรื่อยมาจนถึง Version 3.11 ในปค.ศ. 1990 ซอฟตแวร
ดังกลาวทํางานแบบกราฟกเรียกวา Graphic User Interface (GUI) ทําหนาที่แทนดอส ทําใหเกิด
ความสะดวกแกผูใชอยางมากคุณสมบัติเดนของ Microsoft Windows 3.11 คือทํางานในกราฟก
โหมดเปน Multi-Tasking และ Generic แตยังคงทํางานในลักษณะ Single-User ยังคงตองอาศัย
ระบบปฏิบัติการดอส ทําการบูทเครื่องเพื่อเริ่มตนระบบกอน ความแตกตางที่เห็นในชัดของชื่อ
ไฟลในระบบ DOS กับ Windows คือ ความยาวของชื่อไฟล Windows สามารถตั้งชื่อใหยาวไดมาก
ถึง 255 ตัวอักษร สวนในระบบ DOS ชื่อและนามสกุลของไฟลจะถูกจํากัดไดเพียงชื่อยาวไมเกิน 8
ตัวอักษร นามสกุลยาวไมเกิน 3 ตัวอักษร ตัวอยาง Readme.TXT (ชื่อไฟล Readme หลังจุดคือ
นามสกุล TXT)
2.1.3.1 คําสั่งระบบ DOS พื้นฐาน
DIR ( Directory ) – คําสั่งในการแสดงรายชื่อไฟลรายชื่อ Directory
ตัวอยางการใชงานรวมคําสั่งยอย ๆ
Dir – แสดงรายชื่อไฟลไดเรกทอรี่ทั้งหมดพรอมทั้งขนาดไฟล + วันเวลาอัปเดทลาสุด
Dir /p – แสดงรายชื่อไฟลไดเรกทอรี่ในแนวนอนใหหยุดแสดงทีละหนา (กรณีที่มีจํานวน
ไฟลยาวมากกวา 1 หนาจอ)
Dir /w – แสดงรายชื่อไฟลไดเรกทอรี่ในแนวนอน
Dir /s, – แสดงรายชื่อไฟลไดเรกทอรี่และไฟลที่อยูในไดเรกทอรี่ยอยดวย
Dir /od – แสดงรายชื่อไฟลใหเรียงตามวันที่อัพเดษ Dir /n – แสดงรายชื่อไฟลใหเรียงตาม
ชื่อ
CLS (Clear Screen) – คําสั่งสําหรับลบหนาจอออก
DEL (Delete) – คําสั่งในการลบชื่อไฟลที่ตองการ เชน DEL readme.txt หมายถึงใหลบชื่อ
ไฟล README.TXT
ตัวอยางการใชงาน (รวมคําสั่งยอย ๆ)
Del readme.txt – ลบไฟลชื่อ readme.txt
Del *.* – ใหลบไฟลทั้งหมดที่อยูในไดเรกทอรี่ปจจุบัน
Del *. – ใหลบไฟลทั้งหมดที่อยูในไดเรกทอรี่ปจจุบัน เฉพาะไฟลที่ไมมีนามสกุล
MD (Make Directory) – คําสั่งในการสรางไดเรกทอรี่ เชน MD Photo จะไดไดเรกทอรี่
C:Photo
CD (Change Directory) – คําสั่งในการเขาไปในไดเรกทอรี่ (CD คือคําสั่งในการออกจาก
หองไดเรกทอรี่)
RD (Remove Directory) – คําสั่งในการลบไดเรกทอรี่ เชน RD Photo (เราจะตองอยูนอก
หองไดเรอทอรี่ Photo)
REN (Rename) – คําสั่งในการเปลี่ยนชื่อชือ เชน REN readme.txt read.me หมายถึงการ
เปลี่ยนชื่อไฟลเปน READ.ME
2.1.3.2 ชนิดคําสั่ง DOS คําสั่งของ DOS มีอยู 2 ชนิดคือ
คําสั่งภายใน (Internal Command) เปนคําสั่งที่เรียกใชไดทันทีตลอดเวลาที่เครื่องเปดใชงาน
อยู เพราะคําสั่งประเภทนี้ถูกบรรจุลงในหนวยความจําหลัก (ROM) ตลอดเวลา หลังจากที่ Boot
DOS สวนมากจะเปนคําสั่งที่ใชอยูเสมอ เชน CLS, DIR, COPY, REN เปนตน
คําสั่งภายนอก (External Command) คําสั่งนี้จะถูกเก็บไวในดิสกหรือแผน DOS คําสั่ง
เหลานี้จะไมถูกเก็บไวในหนวยความจํา เมื่อตองการใชคําสั่งเหลานี้คอมพิวเตอรจะเรียกคําสั่ง
เขาสูหนวยความจํา ถาแผนดิสกหรือฮารดดิสกไมมีคําสั่งที่ตองการใชอยูก็ไมสามารถเรียกคําสั่งนั้น
ๆ ได ตัวอยางเชน คําสั่ง FORMAT, DISKCOPY, TREE, DELTREE เปนตน
รูปแบบและการใชคําสั่งตางๆ
ในการใชคําสั่งตาง ๆ ของ DOS จะมีการกําหนดอักษรหรือสัญญลักษณ ใชแทนขอความของ
รูปแบบคําสั่ง ดังนี้
[d:] หมายถึง Drive เชน A:, B:
[path] หมายถึง ชื่อไดเรคเตอรี่ยอย
[filename] หมายถึง ชื่อแฟมขอมูล หรือ ชื่อไฟล
[.ext] หมายถึง สวนขยาย หรือนามสกุล
หมายเหตุ : ขอความที่อยูในวงเล็บ ([ ] ) ถาไมมีก็ไมตองใสในคําสั่ง
2.1.3.3 วิธีใชคําสั่ง DOS ใน Windows
สําหรับผูใชงาน Windows 95,98 สามารถใชงานระบบ DOS ได มีวิธีเรียกใชงานดังนี้
คลิกปุม Start เลือก คําสั่ง RUN พิมพคําวา Command หรือ
คลิกปุม Start เลือกเมนู Program และเลือกโปรแกรม MS-DOS
ตองการใหหนาจอแสดง DOS เต็มจอใหกดปุม ALT พรอมกับปุม Enter
ถาตองการใหหนาจอเล็กดังเดิม ก็ใหกดปุม ALT พรอมกับปุม Enter
ถาตองการเขาระบบ Windows ใหพิมพคําวา EXIT
2.1.4 . ระบบปฏิบัติการ Windows
Windows คืออะไร
Windows คือ ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอรระบบหนึ่ง (Operating System) สรางขึ้นโดย
บริษัท ไมโครซอฟต เนื่องจากความยากในการใชงานดอสทําใหบริษัทไมโครซอฟตไดมีการ
พัฒนาซอฟตแวรที่เรียกวา Windows ที่มีลักษณะเปน GUI (Graphic-User Interface) ที่นํารูปแบบ
ของสัญลักษณภาพกราฟกเขามาแทนการปอนคําสั่งทีละบรรทัด ซึ่งใกลเคียงกับแมคอินทอช-โอ
เอส เพื่อใหการใชงานดอสทําไดงายขึ้นแตวินโดวสจะยังไมใชระบบปฏิบัติการจริง ๆ เนื่องจาก
มันจะทํางานอยูภายใตการควบคุมของดอสอีกที กลาวคือจะตองมีการติดตั้งดอสกอนที่จะติดตั้ง
ระบบปฏิบัติการ Windows และผูใชจะสามารถเรียกใชคําสั่งตาง ๆ ที่มีอยูในดอสไดโดยผานทาง
Windows ซึ่งจะงายตอการใชงานมากกวาดอส ระบบปฏิบัติการ Windows ใชหลักการแบง
งานเปนสวนเรียกวาหนาตางงาน (Windows) ที่แสดงผลลัพธแตละโปรแกรม มีการผลิต และ
จําหนายหลายรุน โดยแบงออกดังนี้
2.1.4.1ระบบปฏิบัติการวินโดวส 95
ระบบปฏิบัติการวินโดวส 95 พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟตและวางจําหนายในชวงปลายป
1995 เปนซอฟตแวรที่ใชกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอรทั่ว ๆไป ที่มีคุณลักษณะฮารดแวรและ
หนวยความจําสูงกวาระบบปฏิบัติการดอสตองใชซีพียูที่มีความเร็วในการประมวลผลดวยตัว
โปรแกรมตองใชพื้นที่ฮารดดิสกประมาณ 40 MB มีรูปแบบการติดตอกับผูใช (User Interface)
เปนภาพกราฟกทําใหงายและสะดวกตอการใชงานยิ่งขึ้น (Friendly User Interface) วินโดวส 95
ติดตอกับผูใชโดยใชภาพกราฟฟก การใชงานควบคุมโปรแกรมโดยใชเมาสเปนสวนใหญ ผูใชไม
ตองจําคําสั่งสะดวกตอการใชงานมาก นอกจากนั้นยังมี DOS Prompt ใหสามารถใชคําสั่งที่จําเปน
ของดอสใน วินโดวส 95 ไดอีกดวย ความสามารถของ วินโดวส 95 คือเตรียมโปรแกรมสําหรับ
การควบคุม การเชื่อมตออุปกรณภายนอกไวจํานวนมากสามารตรวจสอบอุปกรณที่นํามาเชื่อมตอ
ใหมไดอยางอัตโนมัติ ทําใหผูใชสะดวกอยางมากในการติดตั้งอุปกรณใหมเขากับคอมพิวเตอร
การทํางานในลักษณะนี้เรียกวา PNP (Plug and Play) นอกจากนี้ยังมีความสามารถ จัดการในการ
เชื่อมตอเปนเครือขายคอมพิวเตอรแบบจุดตอจุด (Peer-to-Peer) เพื่อใชทรัพยากรของระบบ
เครือขายรวมกัน
ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows 95
2.1.4.2 ระบบปฏิบัติการวินโดวส 98
วินโดวส 98 เปนระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูงพัฒนาตอเนื่องมาจาก วินโดวส 95
สามารถทํางานแบบหลายงาน (Multi-Tasking OS) มีผูใชในระบบเพียงคนเดียวแบบ Single- User
OSได อีกทั้งยังสามารถนําไปใชกับไมโครคอมพิวเตอรไดทั่วไป เรียกวาเปนแบบ Generic
Operating System การทํางานของวินโดวส 98 ติดตอกับผูใชแบบ Graphic User Interface (GUI)
เชนเดียวกับวินโดวส 95 แตปรับรูปแบบใหดูสวยงามอัตโนมัติยิ่งขึ้น มีความสามารถในการ
เชื่อมตอกับระบบเครือขายอินเทอรเน็ตไดสะดวกยิ่งขึ้น มีโปรแกรมที่เปนเครื่องมือสําหรับการ
สืบคนขอมูลทางอินเทอรเน็ตมาพรอมคือโปรแกรม Internet Explore
ขอเสีย - ของโปรแกรม ระบบปฏิบัติการวินโดวส 98 คือ ตองการทรัพยากรของระบบ
ไดแก หนวยประมวลผล หนวยความจํา ฮารดดิสก อุปกรณมัลติมีเดียสูง คอมพิวเตอรที่มี
ประสิทธิภาพต่ําไมสามารถติดตั้งวินโดวส 98
ขอดี - คือ ผูใชสามารถใชงานไดอยางสะดวก มากกวาวินโดวส 95 มีซอฟตแวรประยุกตตาง
ๆ สนับสนุนทํางานบนระบบวินโดวส 98 เปนจํานวนมาก รองรับการใชงาน ดานอินเทอรเน็ตได
เปนอยางดี ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows 98
2.1.4.3 ระบบปฏิบัติการ Windows ME
Windows ME (Windows Millennium Edition) เปนระบบปฏิบัติการรุนใหม ที่ถูกพัฒนาขึ้น
มาจากระบบปฏิบัติการ วินโดวส 95และ98 ซึ่งออกแบบมาใหเหมาะสม กับผูใชตามบานเปน
ระบบปฏิบัติการที่ทันสมัย ฉลาด และเขาใจผูใชมากกวาวินโดวส 95 และวินโดวส 98 หนาตาของ
Windows ME จะมีรูปลักษณเหมือนวินโดวส 98 มาก แตมันมีคุณลักษณะพิเศษที่เหนือกวาเดิมมาก
เชน สามารถสรางระบบเครือขายภายในบานได นอกจากนี้ยังมีความสามารถ ดานอินเทอรเน็ต
และมัลติมีเดีย มากกวาวินโดวส 98 อีกดวย
ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows Me
2.1.4.4 ระบบปฏิบัติการ Windows 2000
Windows 2000 เปนระบบปฏิบัติการที่เกิดขึ้นมาเพื่อตอบสนองระบบเครือขาย และเปน OS
ที่สรางขึ้นมาเปน GUI ตั้งแตตน ดังนั้นการนํา Application เดิม ๆที่เคยใชกับระบบปฏิบัติการดอส
หรือ โปรแกรม ที่สั่งงานฮารดแวรโดยตรงมาใชบนระบบปฏิบัติการวินโดวส 2000 อาจไมยอม
ทํางานใหแตการทํางานระบบ Multi-Tasking และ Multi-User ใชงานไดดีกวาตระกูล วินโดวส
95 และ 98 โดยทําการควบคุมขบวนการทํางานของแตละโปรแกรมไดดีขึ้น
ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows 2000
2.1.4.5 ระบบปฏิบัติการ Windows XP
WindowsXP เปนระบบปฏิบัติการที่เริ่มวางตลาดในป ค.ศ. 2001 โดยตั้งชื่อใหรับกับการ
เปลี่ยนแปลงลาสุดวา Microsoft Windows XP โดยคําวา XP ยอมาจาก Experience แปลวามี
ประสบการณ โดยทางบริษัทผูสรางกลาววาการตั้งชื่อเชนนี้มีเหตุผลมาจากที่ตองการสื่อใหเห็น
ถึงการไดรับประสบการณใหม ๆจากการใช Windows XP ทุก ๆประมาณ 2 ป บริษัท
ไมโครซอฟตผูผลิตโปรแกรมวินโดวสจะวางตลาดวินโดวสรุนใหม ๆ โดยไดใสเทคโนโลยีที่
ทันสมัยและเปลี่ยนแปลงสิ่งที่เปนขอดอยของวินโดวสรุนเกาเพราะฉะนั้นผูที่ตองการเทคโนโลยี
ใหม ๆ Windows XP มีจุดเดนและความสามารถมากมาย ไมวาจะเปนระบบใชงานที่ดูสวยงาม
และงายกวาวินโดวสรุนเกา ๆ มีระบบชวยเหลือในการปรับแตงมากมาย เชน ระบบติดตั้ง
ฮารดแวร ติดตั้งเครือขายและสรางผูใชในเครือขายดวยคอมพิวเตอร
นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมรุนใหมแถมมาใหหลายโปรแกรม เชน โปรแกรมดูหนังฟงเพลง
(Windows Media Player 8) และโปรแกรมทองโลกอินเทอรเน็ต (Internet Explorer 6) เหมาะ
สําหรับนักคอมพิวเตอรมือใหมและผูใชงานทั่วไปอยางยิ่ง
Windows XP มีใหเลือกใชสองรุนคือ
Windows XP Home Edition ซึ่งเหมาะสําหรับผูใชงานตามบานที่ไมเชื่อมตอกับเครือขาย
และอีกรุนคือ Windows Xp Professional Edition ซึ่งเหมาะกับผูใชงานในองคกรตั้งแตขนาดเล็ก
ถึงขนาดใหญ เนื่องจากสามารถเชื่อมตอกับระบบเครือขายไดดีคนที่ใชวินโดวสเวอรชั่น XP
จะตองใชเครื่องที่มีทรัพยากรมาก เชน ซีพียู เพนเทียม 300 MHz ขึ้นไป แรมไมต่ํากวา 128 MB
ฮารดดิสกเหลือกพื้นที่วางมากกวา 1.5 GB เปนตน.
ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows XP
2.1.4.6 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows Vista
เปนโปรแกรมระบบปฏิบัติการรุนใหมลาสุดจากไมโครซอฟท ที่พัฒนาตอมาจาก Microsoft
Windows XP และ Microsoft Windows Server 2003 ที่ไดรับการปรับปรุงและพัฒนาใหมีความ
ล้ําสมัยทั้งรูปรางหนาตา (Interface) และฟงกชั่นการใชงานตางๆ นอกจากที่ Vista จะมีความพิเศษ
ในเรื่องฟงกชั่นตางๆแลวไมโครซอฟทไดปรับปรุงเรื่องความปลอดภัยและเน็ตเวิรคใหสามารถ
ทํางานไดมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ปจจุบันไดวางจําหนายใหกับองคกรธุรกิจวันที่ 8 พฤศจิกายน
พ.ศ. 2549 และวางจําหนายใหกับผูใชทั่วไปวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2550 ไมโครซอฟท
ประกาศใชชื่อ Microsoft Windows Vista อยางเปนทางการแกสื่อมวลชนในวันที่ 22 กรกฎาคม
พ.ศ. 2548 แทนที่ชื่อรหัสลองฮอรน (Longhorn) โดยคําวา วิสตา ในภาษาอังกฤษหมายถึงมุมมอง
หรือทิวทัศน ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows Vista
2.1.4.7 ระบบปฏิบัติการ Windows 7
Windows 7 คือ ระบบปฏิบัติการตัวใหมลาสุดจากไมโครซอฟทมีกําหนดวางจําหนายใน
วันที่ 22 ตุลาคม 2009 หลังจากที่วางจําหนาย Windows Vista ซึ่งทํายอดขายไดสูงมาก (แตผล
ตอบรับไมคอยนาพอใจ) ในชวง 2 – 3 ป ที่ผานมาโดย Windows 7 นี้นับไดเปนระบบปฏิบัติการรุน
ที่ 7 ของไมโครซอฟทนับตั้งแต Windows 1.0 เปนตนมา
ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows 7
2.1.4.8 ระบบปฏิบัติการ Linux
Linux เปนระบบปฏิบัติการแบบ UNIX – Compatible ตัวหนึ่งที่ทํางานบนเครื่อง
คอมพิวเตอร ตั้งแตระดับ (PC) พัฒนาขึ้นเปนครั้งแรกในป ค.ศ. 1991 โดยนักศึกษาชื่อ Linus B.
Torvalds ณ University of Helsinki ประเทศฟนแลนดในลักษณะของงานอดิเรก โดยมีแรง
บันดาลใจมาจากระบบ Minix ซึ่งเปนระบบปฏิบัติการคลายๆ UNIX เล็กๆ ตัวหนึ่งที่พัฒนาโดย
Andy Tanenbaum เพื่อประกอบการเรียนรูในหนังสือเกี่ยวกับการออกแบบระบบปฏิบัติการ
คอมพิวเตอร
Linux Version 0.01 ถูกแจกจายใหทดลองใชประมาณปลายเดือน ส.ค. 1991 โดยมีเฉพาะ
Harddisk Driver และระบบไฟลขนาดเล็กใหใชเทานั้นไมมีแมแต Floppy Disk Driver และตองมี
ระบบ Minix อยูแลวจึงจะสามารถทําการคอมไพเลอร และทดลองใชงานไดเนื่องจากยังไมมีโหลด
เดอรและคอมไพเลอร ตองอาศัยการคอมไพลขามระบบและบูตระบบผาน Minix
Linus เปดตัว Linux อยางเปนทางการในวันที่ 5 ตุลาคม 1991 ดวย Version 0.02
ซึ่งยังคงเปนระบบปฏิบัติการสําหรับผูพัฒนาโปรแกรมระบบอยูจนกระทั่ง
ไดเปดตัว Version 1.0 ในเดือนมีนาคม 1994 และเริ่มมีผูใชกันอยางแพรหลายเนื่องจากเปน
ระบบปฏิบัติการคลาย UNIX ที่สมบูรณแบบ มีความสามารถสนันสนุนกราฟก
X Window สนับสนุนระบบเครือขาย TCP/IP สามารถรับสงอีเมลทําหนาที่เปน News, WWW,
FTP Server ไดและความสามารถอื่นๆ อีกมาก
ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Linux
บทที่ 3
3.1 อุปกรณและวิธีการดําเนินการ
3.1.1 วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือหรือโปรเเกรมที่ใชในการพัฒนาจัดทําโครงงานการจัดการ
พัฒนาทักษะบุคลากรดานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร ประกอบดวย
3.1.1.1 เครื่องคอมพิวเตอรที่เชื่อมตอระบบเครือขายอินเทอรเน็ต
3.1.1.2 โปรแกรมที่ใชในการดําเนินงาน ไดแก
Microsoft Word 2007 เพื่อจัดทําโครงการ
Google Chrome เพื่อคนหาขอมูลเกี่ยวกับโครงการ
Blogger.com เพื่อคนหาขอมูลเกี่ยวกับโครงการ
G-Mail ใชทําสําหรับล็อกอินทําสไลดผานสื่อออนไลน
Slideshare.net สําหรับทําสไลดผานสื่อออนไลนเพื่อเผยเเพรความรูกับผูที่สนใจ
3.1.2 ขั้นตอนการดําเนินงาน
3.1.2.1 ศึกษาหัวขอที่ครูประจําวิชาไดมอบหมาย
3.1.2.2 คนควาขอมูลที่เกี่ยวของกับเรื่อง ระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอรและคนควาเพิ่มเติม
จากเว็บไซตตาง ๆ และจัดเก็บขอมูลเพื่อจัดทําเนื้อหา
3.1.2.3 จัดทําเอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร
3.1.2.4 จัดทําเเบบทดสอบของ ระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร
3.1.2.4 ประเมินผลงานใหอาจารยที่ปรึกษาโครงการและใหเพื่อนผูที่สนใจรวมประเมินดวย
3.1.2.5 จัดทําสไลดโครงงาน การจัดการพัฒนาทักษะบุคลากรดานระบบปฏิบัติการ
คอมพิวเตอร เพื่อการเผยเเพรความรูผานสื่อออนไลนโดยผูจัดทําไวที่
http://www.slideshare.net/AkiraSan13/ss-46531380
บทที่ 4
4.1 ผลการดําเนินการโครงานผานสื่อออนไลนและตัวอยางภาพ
4.1.1 การสรางบัญชี Gmail เเละ Username Slideshare
4.1.1.1 ใหทําการสรางบัญชีของ Gmail เพื่อใชสําหรับสมัครทําสไลดของ Slideshare.
ตัวอยางภาพการสรางบัญชี Gmail
ตัวอยางภาพการสรางบัญชี Gmail
4.1.1.2. เมื่อเราไดบัญชี Gmail เเลวก็ไปใหเขาไปที่ www.Slideshare.net เพื่อทําการสมัคร
สรางสไลดโดยเลือกที่ Signup ดังรูป
ตัวอยางภาพการสราง Username เพื่อทําสไลด
4.1.1.3 เมื่อกด Signup เว็ปไซคจะเปลี่ยนมาที่สราง User ในการ Log In เพื่อทําสไลด ให
ทําการกรอกที่อยูของบัญชี Gmail เเละ Username เเละ Password ในการ Log In เขาทําสไลดเมื่อ
กรอกขอมูลขางตนครบเเลวจึงกด Signup ดังรูป
ตัวอยางภาพการสราง Username เพื่อทําสไลด
4.1.1.4 เมือกด Signup เเลวเราก็จะได Username ที่เปนชื่อของผูสราง ดังภาพ
ตัวอยางภาพการสราง Username เพื่อทําสไลด
4.1.1.5 เมื่อเราได Username ในการ Log In เเลวการที่เราอัพโหลดเพื่อทําสไลดนั้นเราตองทํา
การเเปลงไฟล Micresoft Word ใหเปนไฟล PDF เทานั้นจึงจะสามารถอัพโหลดลง slideshare
ไดโดยดุวิธีทําไดดังนี้
4.1.2 การเปลี่ยนไฟลจาก Word เปน PDF เพื่อใชในการอัพโหลด slideshare.net
4.1.2.1. เปดโครงการหรืองานที่ตองการอัพโหลดที่ตองการจัดพิมพเปน PDF
4.1.2.2. คลิ๊กปุม Microsoft Office แลวชี้ไปที่ลูกศรที่อยูติดกับ บันทึกเปน จากนั้นคลิ๊ก
PDF หรือ XPS
ตัวอยางภาพการบันทึกไฟลเปน PDF
4.1.2.3. ในรายการ ชื่อแฟม ใหพิมพหรือเลือกชื่อสําหรับแฟมที่ตองการเซพ
4.1.2.4. ในรายการ บันทึกเปน ใหเลือกเปน PDF ดังรุป
ตัวอยางภาพการบันทึกไฟลเปน PDF
4.1.2.5. ถาคุณตองการเปดแฟมทันทีหลังจากบันทึกแฟมเปน PDF ใหเลือกเลือกเครื่องหมาย
เปดแฟมหลังจากจัดพิมพ โดยเครื่องหมายนี้จะพรอมใชงานเฉพาะเมือคุณมีโปรแกรมอาน
PDF เทานั้น
4.1.2.6. ถัดจากปรับใหเหมาะสม โดยใหเลือกทําอยางใดอยางหนึ่งตอไปนี้ขึ้นอยูกับวา
ขนาดแฟมหรือคุณภาพการพิมพสิ่งใดสําคัญมากกวาสําหรับคุณ
4.1.2.7. เมือตองตองการระบุตัวเลือกตาง ๆ ของแฟมใหคลิ๊กตัวเลือกเชื่อมโยงไปยังขอมูล
เพิ่มเติมเกี่ยวกับตัวเลือกเหลานี้เเลว คลิ๊กตกลง
4.1.2.8. ในกลองโตตอบจัดพิมพเปน PDF หรือ XPS ใหคลิ๊ก จัดพิมพ เราก็จะได
ไฟลขอมูลที่เปนไฟล PDF ที่เราตองการดังรูป
ตัวอยางภาพการบันทึกไฟลเปน PDF
4.1.3 การอัพไฟลโครงงานของผูจัดทําผานสื่อออนไลนผานเว็บ slideshare.net
4.1.3.1 ใหทําการ Log In หนาเว็ปของ slideshare.net ที่เราไดสมัครไวในหัวขอที่ 4.1.1
ตัวอยางภาพ การ Log In Slideshaer
4.1.3.2 เมื่อเราทําการ Log In Slideshare เเลวเราก็จะทําการ Upload โดยคลิกเลือกที่ Upload
ดังรุป
ตัวอยางภาพ การ Upload ลง Slideshaer
4.1.3.3 เมือคลิกที่ Upload เเลว
ตัวอยางการอัพไฟลโครงงานลงเว็บ www.blogger.com
ตัวอยางการอัพไฟลโครงงานลงเว็บ www.slideshare.com
บทที่ 5
5.1 สรุปผลการดําเนินงานและขอเสนอแนะ
การจําทําโครงงานคอมพิวเตอรการเผยแพรความรูออนไลน เรื่อง ระบบปฎิบัติการ (
OS : Operating System ) สรุปผลการดําเนินการและของเสนอแนะไดดังนี้
5.1.1. สรุปผลการดําเนินงานของระบบปฎิบัติการ
ผูจัดทําโครงงานคอมพิวเตอรการเผยแพรความรูออนไลน เรื่อง ระบบปฎิบัติการ ( OS :
Operating System ) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
5.1.1.1 เนื้อหาในบทเรียน
5.1.1.2 ที่มาและความสําคัญของระบบปฎิบัติการ
5.1.1.3 ความหมายของระบบปฎิบัติการ
5.1.1.4 โปรแกรมที่ใชในการดําเนินงาน
5.1.2. ผลการประเมินประสิทธิภาพ
ผลการประเมินประสิทธิภาพของการเผยแพรความรูออนไลน เรื่อง ระบบปฎิบัติการ
แสดงคาคะแนนเฉลี่ย (X) สวนเบียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และคาระดับประสิทธิภาพของกลุม
ตัวอยางของผูใชงานจำนวน 20 คน มีดังตอไปนี้
ตารางที่ 1 แบบประเมินเพื่อหาประสิทธิภาพของการเผยแพรความรูออนไลน เรื่อง ระบบ
ปฎิบัติการ ( OS : Operating System )
รายการประเมิน (X ) (S.D.) ความหมาย
1. ความชัดเจนของขอความรูที่เผยแพร 4.10 0.519 ดี
2. ความเหมาะสมของการใชรูปภาพ 4.05 0.511 ดี
3. ความเหมาะสมของการจัดวางสวนตางๆ 3.70 0.400 ดี
4.สื่อสารกับผูใชไดตรงตามวัตถุประสงค 3.70 0.811 ดี
5. การใชงานงาย 4.35 0.440 ดี
6. ความเหมาะสมของปริมาณขอมูลที่นําเสนอ 3.50 0.523 พอใช
รวมเฉลย 3.98 0.354 ดี
จากตารางที่ 1 แบบประเมินเพอหาประสิทธิภาพของการเผยเเพรความรูออนไลน เรื่อง
ระบบปฎิบัติการ มีคาเฉลี่ยรวม D ( X=3.70 )
5.1.3. อุปสรรคในการทําโครงงาน
การเผยแพรความรูออนไลน เรื่อง ระบบปฎิบัติการ ( OS : Operating System ) และไดมีการ
ทดลองทําใหพบปญหาตาง ๆ ดังนี้
5.1.3.1 มีปญหาในการคนหาขอมูลตาง ๆ เกิดจากอินเทอรเน็ตไมเสถียร
5.1.3.2 เครื่องคอมพิวเตอรมีปญหาเนื่องจากไวรัสเขาเครื่องทําใหงานหาบอย
5.1.4. ขอเสนอแนะ
5.1.4.1 ควรมีการจัดทําโครงงานอยางตอเนื่องเพื่อที่จะไดเผยแพรความรูผานสื่อออนไลนได
ครบทุก ๆ กลุมสาระการเรียนรูจะไดเปนประโยชนตอไป
บรรณานุกรม
ความหมายของระบบปฎิบัติการ วันที่สืบคน 25 มีนาคม 2558
https://sites.google.com/site/operatingsystemeng1/khwam-hmay-khxng-rabb-ptibati-kar
ระบบปฎิบัติการ DOS วันที่สืบคน 25 มีนาคม 2558
https://www.gotoknow.org/posts/327381
ระบบปฎิบัติการ Windows วันที่สืบคน 25 มีนาคม 2558
https://sites.google.com/site/hxngreiynxxnlinbykhruniw/rabb-ptibati-kar-windows-1
ระบบปฎิบัติการ Linux วันที่สืบคน 25 มีนาคม 2558
http://linuxunix54321.tripod.com/Linux01.htm
ภาคผนวก
ประวัติผูจัดทํา
ชื่อ นาย ธนกฤต นามสกุล ฉิมชัยชนะ
ชื่อเรื่อง ระบบปฎิบัติการ ( OS )
เเผนกวิชา บริหารธุรกิจ สาขาวิชา การจัดการทรัพยากรมนุษย
ประวัติ
ประวัติสวนตัว
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
ประวัติการศึกษา
ป. พ.ศ ..............................................................................................................................
ป. พ.ศ ..............................................................................................................................
ประวัติผูจัดทํา
ชื่อ นางสาว วรัญญา นามสกุล ศรีสุข
ชื่อเรื่อง ระบบปฎิบัติการ ( OS )
เเผนกวิชา บริหารธุรกิจ สาขาวิชา การจัดการทรัพยากรมนุษย
ประวัติ
ประวัติสวนตัว
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
ประวัติการศึกษา
ป. พ.ศ ..............................................................................................................................
ป. พ.ศ ..............................................................................................................................
โครงงานระบบปฎิบัติการ

More Related Content

What's hot

โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas14
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานkanoksuk
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการBuslike Year
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการBuslike Year
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการBuslike Year
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นkvcthidarat
 
ประเภท และขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภท และขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภท และขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภท และขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ThesakulWongklom
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ lek_za_za
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkat55
 
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คโครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คNichakarnkvc
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas14
 

What's hot (16)

โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
ประเภท และขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภท และขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภท และขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภท และขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
689 2
689 2689 2
689 2
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คโครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
 
บทที่1 บทนำ 1
บทที่1 บทนำ 1บทที่1 บทนำ 1
บทที่1 บทนำ 1
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 

Similar to โครงงานระบบปฎิบัติการ

โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์molovekotic
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์  โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ molovekotic
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์  โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ molovekotic
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Namfon12
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์molovekotic
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Namfon12
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Namfon12
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานwanuporn12345
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์wanuporn12345
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ0804000803
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ภาคิน ดวงคุณ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .jamiezaa123
 

Similar to โครงงานระบบปฎิบัติการ (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์  โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์  โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
 
งานธิดารัตน์
งานธิดารัตน์งานธิดารัตน์
งานธิดารัตน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
223333
223333223333
223333
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
 

โครงงานระบบปฎิบัติการ

  • 1. โครงการการจัดการพัฒนาทักษะบุคลากร ดานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร OPERATING SYSTEM ผูทําโครงการ นาย ธนกฤต ฉิมชัยชนะ น.ส วรัญญา ศรีสุข โครงการนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง เเผนกวิชา บริหารธรุกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีปทุมธานี ปการศึกษา 2558
  • 2. ใบรับรองโครงการ วิทยาลัยเทคโนโลยีปทุมธานี ชื่อโครงการเรื่อง : การจัดการพัฒนาทักษะบุคลากรดานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร โดย : นาย ธนกฤต ฉิมชัยชนะ : น.ส. วรัญญา ศรีสุข ที่ปรึกษาโครงการ : อาจารยวีระยุทธ ครรชิตชัยวาร สาขาวิชา : การจัดการทรัพยากรมนุษย ภาควิชา : บริหารธรุกิจ ปการศึกษา : 2558 วิทยาลัยเทคโนโลยีปทุมธานี ( T-Pech )ไดรับอนุมัติใหนับโครงการฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของ การศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ เเผนกบริหารธุรกิจ ............................................... ผูอํานวยการ ( นายจตุรงค เพรชสงคราม ) วันที่ ................ เดือน ........................ พ.ศ. .................. คณะกรรมการสอบโครงการ ............................................................... หัวหนาเเผนกบริหารธรุกิจ ( อาจารยภัทรวดี วงษไกร ) ................................................................ กรรมการ ( อาจารยประสิทธิ์ สกุลทอง ) ................................................................ กรรมการ ( อาจารยปรัชญา บุญทรงเจริญ ) ................................................................ กรรมการ ( อาจารยพงศกร พุทธอินทรา )
  • 3. โครงงานการจัดการพัฒนาทักษะบุคลากร ดานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร OPERATING SYSTEM นาย ธนกฤต ฉิมชัยชนะ น.ส วรัญญา ศรีสุข โครงการนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง เเผนกวิชา บริหารธรุกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีปทุมธานี ปการศึกษา 2558
  • 4. ชื่อเรื่อง : การจัดการพัฒนาทักษะบุคลากรดานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร สาขาวิชา : การจัดการทรัพยากรมนุษย แผนกวิชา : บริหารธรุกิจ ที่ปรึกษา : อาจารยวีระยุทธ ครรชิตชัยวาร ปที่การศึกษา : 2558 บทคัดยอ โครงงานการจัดการพัฒนาทักษะบุคลากรดานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอรจัดทําขึ้นโดยมี วัตถุประสงคดังนี้ 1. เพื่อเผยแพรความรูเกี่ยวกับระบบปฎิบัติการ ( Operating System ) 2. เพื่อใชเปนสื่อในการศึกษาสําหรับผูที่สนใจ เรื่อง การจัดการพัฒนาทักษะบุคลากรดาน ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร สื่อเเละโปรเเกรมที่ใชในการดําเนินการ คือ 2.1 www. Google Chrome 2.2 Microsoft Word 2007 2.3 www. Gmail.com 2.4 www. blogger.com 2.5 www.slideshare.net ผลการเผยแพรความรูออนไลน เรื่อง การจัดการพัฒนาทักษะบุคลากรดานระบบปฏิบัติการ คอมพิวเตอรใน http://www.slideshare.net/AkiraSan13/ss-46531380 ประกอบดวยเนื้อหาของ ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร ( Operating System ) และผลการประเมินของโครงงานการจัดการ พัฒนาทักษะบุคลากรดานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร โดยมีคาเฉลี่ยอยูในระดับ D ( X=3.70) ………..............………….......นักศึกษา ……….......…....……… ครูผูควบคุมโครงการ
  • 5. กิตติกรรมประกาศ โครงงานนี้สําเร็จลุลวงไดดวยความกรุณาจาก อ.วีระยุทธ ครรชิตชัยวาร อาจารยที่ควบคุม โครงงานที่ใหความกรุณาแนะนําและใหคําปรึกษาตลอดจนใหความชวยเหลือแกไขขอบกพรอง ตางๆมาโดยตลอดจนทําให โครงงานการจัดการพัฒนาทักษะบุคลากรดานระบบปฏิบัติการ คอมพิวเตอร ครั้งนี้สําเสร็จสมบูรณตามวัตถุประสงคผูจัดทําโครงงานจึงขอขอบพระคุณเป็นอยาง สูงไว ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณ บิดา มารดา เพื่อนนักเรียน ตลอดจนผูที่เกี่ยวของทุกทานที่ไมไดกลาว นาม ไว ณ ที่นี้ ที่มีสวนชวยเหลือใหโครงงานฉบับนี้สําเร็จลุลวงไดดวยดี ธนกฤต ฉิมชัยชนะ วรัญญา ศรีสุข
  • 6. สารบัญ เรื่อง หนา บทคัดยอ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนํา ที่มาและความสําคัญ วัตถุประสงคของโครงการ ขอบเขตของโครงงาน ผลที่คาดวาจะไดรับ บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ ความหมายของระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร ( Operating System ) ระบบปฎิบัติการ คืออะไร ระบบปฎิบัติการ DOS ระบบปฎิบัติการ Windows ระบบปฎิบัติการ Linux บทที่ 3 อุปกรณและวิธีการดําเนินการ วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใชในการพัฒนา ขั้นตอนการดําเนินงาน บทที่ 4 ผลการดําเนินโครงงาน ผลการดําเนินงานระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร ( Operating System ) ตัวอยางการดําเนินงานระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร ( Operating System ) บทที่ 5 สรุปผลการดําเนินงาน และขอเสนอแนะ สรุปผลการดําเนินระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร ( Operating System ) ผลการประเมินประสิทธิภาพ อุปสรรคในการทํางาน ขอเสนอเเนะ
  • 7. สารบัญ ( ตอ ) เรื่อง หนา บรรณานุกรม ภาคผนวก
  • 8. สารบัญตาราง เรื่อง หนา ตารางที่ 1 แบบประเมินประสิทธิภาพของ โครงงานการจัดการพัฒนาทักษะบุคลากรดาน ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร ( Operating System )
  • 9. สารบัญภาพ เรื่อง หนา ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ MS-DOS ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows 95 ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows 98 ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows Me ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows 2000 ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows XP ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows Vista ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows 7 ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Linux ตัวอยางภาพขั้นตอนการสราง Gmail และ Blogger ตัวอยางการอัพโหลดไฟลลงเว็บ www.slideshare.com
  • 10. บทที่ 1 บทนํา 1.1 แนวคิด ที่มา และความสําคัญ ถามีรถยนตอยูแตขับรถยนตไมเปน รถยนตคันดังกลาวก็จะไมมีประโยชนอะไรเลย ซึ่ง คอมพิวเตอรก็เชนเดียวกัน ถึงแมวาจะมีเครื่องคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพมากเพียงใดก็ตามถา หากเครื่องคอมพิวเตอรดังกลางไมมีระบบปฎิบัติการคอยควบคุมการทํางาน ซึ่งเปรียบเสมือนกับ คนขับรถที่จะตองคอยควบคุมรถใหเดินทางไปถึงที่หมายอยางถูกตองและปลอดภัยระบบปฎบัติ การ ก็จะตองควบคุมการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอรใหทํางานตามที่ตองการเพื่อใหไดผล ลัพธที่ถูกตอง ในปจจุบันระบบปฎิบัติการไมไดนํามาใชงานกับเครื่องคอมพิวเตอรเทานั้น ยังมีอุปกรณ อิเล็กทรอนิคสสมัยใหมตาง ๆ เชน โทรศัพทเคลื่อนที่ เครื่องเลนเกม หรือแมกระทั่งเครื่องซักผา ก็มีระบบปฎิบัติการในการควบคุมการทํางานเชนกัน แตจะเปนระบบปฎิบัติการที่ออกแบบมา สําหรับอุปกรณนั้น ๆ โดยเฉพาะ ดังนั้น ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร (operating system) หรือ โอเอส (OS) เปนซอฟตแวร ที่ทําหนาที่เปนตัวกลางระหวางฮารดแวรและซอฟตแวรประยุกตทั่วไป บางครั้งเราอาจะเห็น ระบบปฏิบัติการเปนเฟรมแวรก็ได ระบบปฏิบัติการมีหนาที่หลัก ๆ คือ การจัดสรรทรัพยากรใน เครื่องคอมพิวเตอร เพื่อใหบริการซอฟตแวรประยุกต ในเรื่องการรับสงและจัดเก็บขอมูลกับ ฮารดแวร เชน การสงขอมูลภาพไปแสดงผลที่จอภาพ การสงขอมูลไปเก็บหรืออานจาก ฮารดดิสก การรับสงขอมูลในระบบเครือขาย การสงสัญญานเสียงไปออกลําโพง หรือจัดสรรพื้นที่ ในหนวยความจํา ตามที่ซอฟตแวรประยุกตรองขอ รวมทั้งทําหนาที่จัดสรรเวลาการใชหนวย ประมวลผลกลาง ในกรณีที่อนุญาตใหซอฟตแวรประยุกตหลายๆ ตัวทํางานพรอมๆ กัน ระบบปฏิบัติการ ชวยใหตัวซอฟตแวรประยุกต ไมตองจัดการเรื่องเหลานั้นดวยตนเอง เพียงแคเรียกใชบริการจากระบบปฏิบัติการก็พอ ทําใหพัฒนาซอฟตแวรประยุกตไดงายขึ้น ระบบปฏิบัติการที่เปนที่นิยมในคอมพิวเตอรสวนบุคคลทุกวันนี้ ไดแก ไมโครซอฟท วินโดวส แมคโอเอส และลินุกซ เปนตน
  • 11. 1.2 วัตถุประสงค 1.2.1. เพื่อสรางสภาพการใชงานที่สะดวกและมีประสิทธิภาพสําหรับผูใชในการใชทรัพยากร ดานตาง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร 1.2.2. เพื่อใชเปนสื่อในการศึกษาใหกับผูที่สนใจ เรื่องระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร 1.2.3. เพื่อนําเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด 1.3 ขอบเขตการศึกษา 1.3.1. ขอบเขตดานเนื้อหา เรื่อง ระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร (Operating System ) ซึ่ง ประกอบดวย 1.3.1.1 ระบบปฎิบัติการ DOS 1.3.1.2 ระบบปฎิบัติการ Windows 1.3.1.3 ระบบปฎิบัติการ Linux 1.3.2. โปรแกรมที่ใชในการดําเนินการ ไดแก 1.3.2.1 โปรแกรม Microsoft Word 2007 1.3.2.2 โปรแกรม Google Chrome 1.3.2.3 www.Blogger.com 1.3.2.4 www.Gmail.com 1.3.2.5 www.slideshare.com 1.4 ผลที่คาดวาจะไดรับ 1.4.1. เพื่อสรางสภาพการใชงานที่สะดวกและมีประสิทธิภาพสําหรับผูใชในการใชทรัพยากร ดานตาง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร 1.4.2. เพื่อใชเปนสื่อในการศึกษาใหกับผูที่สนใจ เรื่อง ระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร 1.4.3. เพื่อนําเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด
  • 12. บทที่ 2 2.1 เอกสารที่เกี่ยวของ การจัดทําโครงงานการจัดการพัฒนาทักษะบุคลากรดานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร นี้ผูจัดทําไดศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของตอไปนี้ 2.1.1. ความหมายของระบบปฎิบัติการ 2.1.2. ระบบปฎิบัติการ คืออะไร ? 2.1.3. ระบบปฎิบัติการ DOS 2.1.4. ระบบปฎิบัติการ Windows 2.1.5. ระบบปฎิบัติการ Linux 2.1.1.ความหมายของระบบปฎิบัติการ จากองคประกอบระบบคอมพิวเตอรขางตนก็จะเห็นไดวา ระบบปฎิบัติการถือเปนสวน สําคัญสวนหนึ่งในระบบคอมพิวเตอร ซึ่งระบบปฎิบัติการจัดเปนโปรแกรมระบบที่ใชสําหรับ ควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอร รวมทั้งจัดการจัดสรรทรัพยากรในระบบใหเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ ดังนั้นระบบปฎิบัติการหรือมักเรียกสั้น ๆ วา ( OS:Operating System ) จึงหมายถึง ชุดโปรแกรมที่ทําหนาที่ในการควบคุมดูแลการดําเนินการตาง ๆ ของระบบคอมพิวเตอรประสาน การทํางานระหวางทรัพยากรตาง ๆ ในระบบทั้งในสวนที่ซอฟตแวรและสวนที่เปนฮารดแวร ให สามารถดําเนินการทํางานรวมกันไดอยางเหมาะสมโดยมีเปาหมายเพื่อเปนตัวกลางที่ชายในการ ประสานการทํางานของฮารดแวรและซอฟตแวรดวยการตอบสนองตอผูใชงาน ทําใหผูใชงานสามารถโตตอบกับคอมพิวเตอรไดอยางสะดวกและเปนไปอยางที่ประสิทธิภาพ โดย ผูใชงานไมจําเปนตองรูวาภายในคอมพิวเตอรตองทํางานอยางไรปลอยใหเปนหนาที่ของระบบ ปฎิบัติการเปนผูจัดการแทนทั้งหมด 2.1.2. ระบบปฎิบัติการคืออะไร ? ระบบปฏิบัติการเปนโปรแกรม (Software) ที่ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของ เครื่อง คอมพิวเตอรและอุปกรณที่ตอพวงกับเครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งระบบปฏิบัติการจะทําหนาที่เปน ตัวกลางในการติดตอกับฮารดแวรของเครื่องโดยตรงและโปรแกรมการใชงานตาง ๆ ระบบ คอมพิวเตอรแทบทุกระบบถือวาระบบปฎิบัติการเปนสวนสําคัญของระบบปฎิบัติการโดยทั่วไป ระบบคอมพิวเตอรแบงเปน 4 สวน คือ ฮารดแวร ระบบปฎิบัติการโปรแกรมประยุกตและผูใช
  • 13. 1. ฮารดแวร ประกอบดวยทรัพยากรตาง ๆ ที่มีในระบบ ไดแก อุปกรณนําขอมูลเขา/ออก หนวยประมวลผลกลางและหนวยความจํา นอกจากนี้ยังหมายความรวมถึง โปรแกรมภาษาเครื่อง และไมโครโปรแกรม ซึ่งเปนสวนที่บริษัทผูผลิตสรางขึ้นเพื่อใชเปนซอฟรแวรในระดับพื้นฐาน (Primitive Level) โดยสามารถทํางานไดโดยตรงกับทรัพยากรระบบดวยคําสั่งงายๆ เชน ADD MOVE หรือ JUMP คําสั่งเหลานี้จะถูกกําหนดเปนขั้นตอนการทํางานของวงจรภายในเครื่อง คอมพิวเตอร ชุดคําสั่งที่ไมโครโปรแกรมตองแปลหรือตีความหมายจะอยูใน รูปแบบภาษาเครื่อง และมักเปนคําสั่งในการคํานวณ เปรียบเทียบ และการควบคุมอุปกรณนําขอมูลเขา/ออก 2. ระบบปฏิบัติการ เปนโปรแกรมที่ทํางานเปนตัวกลางระหวางผูใชเครื่องและฮารดแวร โดย มีวัตถุประสงคเพื่อจัดสภาพแวดลอมใหผูใชระบบสามารถปฏิบัติงานบนเครื่องคอมพิวเตอรได โดย จะเอื้ออํานวยการพัฒนาและการใชโปรแกรมตางๆ รวมถึงการจัดสรรทรัพยากรตางๆ ใหไดอยางมี ประสิทธิภาพ 3. โปรแกรมประยุกต คือซอฟตแวรหรือโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อการทํางานเฉพาะอยางที่ เราตองการ เชน งานสวนตัว งานทางดานธุรกิจ งานทางดานวิทยาศาสตร โปรแกรมทางธุรกิจ เกมสตางๆ ระบบฐานขอมูล ตลอดจนตัวแปลภาษา เราอาจเรียกโปรแกรมประเภทนี้วา User's Program โปรแกรมประเภทนี้โดยสวนใหญมักใชภาษาระดับสูงในการพัฒนา เชน ภาษาC, C++, COBOL, PASCAL, BASIC ฯลฯ ตัวอยางของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นใชในทางธุรกิจ เชน โปรแกรมระบบบัญชีจายเงินเดือน (Payroll Program) โปรแกรมระบบเชาซื้อ (Hire Purchase) โปรแกรมระบบสินคาคงหลัง (Stock Program) ฯลฯ ซึ่งแตละโปรแกรมก็จะมีเงื่อนไขหรือ แบบฟอรมที่แตกตางกันตามความตองการหรือกฏเกณฑของแตละหนวยงานที่ใชซึ่งโปรแกรม ประเภทนี้เราสามารถดัดแปลงแกไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางสวนของโปรแกรมเองได เพื่อใหตรงกับความตองการของผูใชงานโปรแกรม โปรแกรมเหลานี้เปนตัวกําหนด แนวทางในการใชทรัพยากรระบบเพื่อทํางานตางๆ ใหแกผูใชหลากหลายประเภทซึ่งอาจเปนได ทั้งบุคคล โปรแกรม หรือเครื่องคอมพิวเตอร เชนตัวแปรภาษาตองใชทรัพยากรระบบในการแปล โปรแกรมภาษาระดับสูง ใหเปนภาษาเครื่องแกโปรแกรมเมอรดังนั้นระบบปฏิบัติการตอง ควบคุมและประสานงานในการใชทรัพยากรระบบของผูใชใหเปนไปอยางถูกตอง 4. ผูใช ถึงแมระบบคอมพิวเตอรจะประกอบดวยองคประกอบทั้งทางดานฮารดแวรและ ซอฟตแวร แตระบบคอมพิวเตอรจะไมสามารถทํางานไดถาขาดอีกองคประกอบหนึ่งซึ่งไดแก องคประกอบทางดานบุคลากรที่จะเปนผูจัดการและควบคุมระบบคอมพิวเตอรใหสามารถ ปฏิบัติงานไดอยางราบรื่นคอยแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นกับระบบคอมพิวเตอรพัฒนาโปรแกรม ประยุกตตาง ๆ รวมไปถึงการใชงานโปรแกรมประยุกตที่ถูกพัฒนาขึ้น
  • 14. 2.1.3. ระบบปฎิบัติการ DOS (Disk Operating System) เริ่มมีใชครั้งแรกบนเครื่อง IBM PC ประมานป คศ. 1981 เรียกวาโปรแกรม PC-DOS ตอมา บริษัทไมโครซอฟตไดสราง MS-DOS สําหรับเครื่องคอมพิวเตอรทั้งไปและไดรับความนิยมอยาง แพรหลายมาจึงถึงปจจุบัน ตั้งแตรุน Versions 1.0 / 2.0 /3.0 / 3.30 /4.0 5.0 / 6.0 และ 6.22 ปจจุบันมี ซอฟตแวรทํางานภายใต ระบบปฎิบัติการ MS-DOS อยูเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะ ไมโครคอมพิวเตอรรุนเกา ๆ ที่มีทรัพยากรของระบบนอย ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ MS-DOS การใชคําสั่งดอสโดยการพิมพคําสั่งที่เครื่องหมายพรอมรับคําสั่ง ในลักษณะCommand Line ซึ่ง DOS ติดตอกับผูใชดวยการพิมพคําสั่งไมมีภาพกราฟกใหใชเรียกวาทํางานในโหมดตัวอักษร Text Mode ทั้งนี้ ระบบปฎิบัติการ MS-DOS มีขอเสีย คือ ติดตอกับผูใชไมสะดวกเพราะผูใชตองจําพิมพ คําสั่งใหถูกตองโปรแกรมจึงจะทํางาน ดังนั้นประมาณป ค.ศ. 1985 บริษัทไมโครซอฟตไดพัฒนา Microsoft Windows Version 1.0 และเรื่อยมาจนถึง Version 3.11 ในปค.ศ. 1990 ซอฟตแวร ดังกลาวทํางานแบบกราฟกเรียกวา Graphic User Interface (GUI) ทําหนาที่แทนดอส ทําใหเกิด ความสะดวกแกผูใชอยางมากคุณสมบัติเดนของ Microsoft Windows 3.11 คือทํางานในกราฟก โหมดเปน Multi-Tasking และ Generic แตยังคงทํางานในลักษณะ Single-User ยังคงตองอาศัย ระบบปฏิบัติการดอส ทําการบูทเครื่องเพื่อเริ่มตนระบบกอน ความแตกตางที่เห็นในชัดของชื่อ ไฟลในระบบ DOS กับ Windows คือ ความยาวของชื่อไฟล Windows สามารถตั้งชื่อใหยาวไดมาก ถึง 255 ตัวอักษร สวนในระบบ DOS ชื่อและนามสกุลของไฟลจะถูกจํากัดไดเพียงชื่อยาวไมเกิน 8 ตัวอักษร นามสกุลยาวไมเกิน 3 ตัวอักษร ตัวอยาง Readme.TXT (ชื่อไฟล Readme หลังจุดคือ นามสกุล TXT)
  • 15. 2.1.3.1 คําสั่งระบบ DOS พื้นฐาน DIR ( Directory ) – คําสั่งในการแสดงรายชื่อไฟลรายชื่อ Directory ตัวอยางการใชงานรวมคําสั่งยอย ๆ Dir – แสดงรายชื่อไฟลไดเรกทอรี่ทั้งหมดพรอมทั้งขนาดไฟล + วันเวลาอัปเดทลาสุด Dir /p – แสดงรายชื่อไฟลไดเรกทอรี่ในแนวนอนใหหยุดแสดงทีละหนา (กรณีที่มีจํานวน ไฟลยาวมากกวา 1 หนาจอ) Dir /w – แสดงรายชื่อไฟลไดเรกทอรี่ในแนวนอน Dir /s, – แสดงรายชื่อไฟลไดเรกทอรี่และไฟลที่อยูในไดเรกทอรี่ยอยดวย Dir /od – แสดงรายชื่อไฟลใหเรียงตามวันที่อัพเดษ Dir /n – แสดงรายชื่อไฟลใหเรียงตาม ชื่อ CLS (Clear Screen) – คําสั่งสําหรับลบหนาจอออก DEL (Delete) – คําสั่งในการลบชื่อไฟลที่ตองการ เชน DEL readme.txt หมายถึงใหลบชื่อ ไฟล README.TXT ตัวอยางการใชงาน (รวมคําสั่งยอย ๆ) Del readme.txt – ลบไฟลชื่อ readme.txt Del *.* – ใหลบไฟลทั้งหมดที่อยูในไดเรกทอรี่ปจจุบัน Del *. – ใหลบไฟลทั้งหมดที่อยูในไดเรกทอรี่ปจจุบัน เฉพาะไฟลที่ไมมีนามสกุล MD (Make Directory) – คําสั่งในการสรางไดเรกทอรี่ เชน MD Photo จะไดไดเรกทอรี่ C:Photo CD (Change Directory) – คําสั่งในการเขาไปในไดเรกทอรี่ (CD คือคําสั่งในการออกจาก หองไดเรกทอรี่) RD (Remove Directory) – คําสั่งในการลบไดเรกทอรี่ เชน RD Photo (เราจะตองอยูนอก หองไดเรอทอรี่ Photo) REN (Rename) – คําสั่งในการเปลี่ยนชื่อชือ เชน REN readme.txt read.me หมายถึงการ เปลี่ยนชื่อไฟลเปน READ.ME
  • 16. 2.1.3.2 ชนิดคําสั่ง DOS คําสั่งของ DOS มีอยู 2 ชนิดคือ คําสั่งภายใน (Internal Command) เปนคําสั่งที่เรียกใชไดทันทีตลอดเวลาที่เครื่องเปดใชงาน อยู เพราะคําสั่งประเภทนี้ถูกบรรจุลงในหนวยความจําหลัก (ROM) ตลอดเวลา หลังจากที่ Boot DOS สวนมากจะเปนคําสั่งที่ใชอยูเสมอ เชน CLS, DIR, COPY, REN เปนตน คําสั่งภายนอก (External Command) คําสั่งนี้จะถูกเก็บไวในดิสกหรือแผน DOS คําสั่ง เหลานี้จะไมถูกเก็บไวในหนวยความจํา เมื่อตองการใชคําสั่งเหลานี้คอมพิวเตอรจะเรียกคําสั่ง เขาสูหนวยความจํา ถาแผนดิสกหรือฮารดดิสกไมมีคําสั่งที่ตองการใชอยูก็ไมสามารถเรียกคําสั่งนั้น ๆ ได ตัวอยางเชน คําสั่ง FORMAT, DISKCOPY, TREE, DELTREE เปนตน รูปแบบและการใชคําสั่งตางๆ ในการใชคําสั่งตาง ๆ ของ DOS จะมีการกําหนดอักษรหรือสัญญลักษณ ใชแทนขอความของ รูปแบบคําสั่ง ดังนี้ [d:] หมายถึง Drive เชน A:, B: [path] หมายถึง ชื่อไดเรคเตอรี่ยอย [filename] หมายถึง ชื่อแฟมขอมูล หรือ ชื่อไฟล [.ext] หมายถึง สวนขยาย หรือนามสกุล หมายเหตุ : ขอความที่อยูในวงเล็บ ([ ] ) ถาไมมีก็ไมตองใสในคําสั่ง 2.1.3.3 วิธีใชคําสั่ง DOS ใน Windows สําหรับผูใชงาน Windows 95,98 สามารถใชงานระบบ DOS ได มีวิธีเรียกใชงานดังนี้ คลิกปุม Start เลือก คําสั่ง RUN พิมพคําวา Command หรือ คลิกปุม Start เลือกเมนู Program และเลือกโปรแกรม MS-DOS ตองการใหหนาจอแสดง DOS เต็มจอใหกดปุม ALT พรอมกับปุม Enter ถาตองการใหหนาจอเล็กดังเดิม ก็ใหกดปุม ALT พรอมกับปุม Enter ถาตองการเขาระบบ Windows ใหพิมพคําวา EXIT
  • 17. 2.1.4 . ระบบปฏิบัติการ Windows Windows คืออะไร Windows คือ ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอรระบบหนึ่ง (Operating System) สรางขึ้นโดย บริษัท ไมโครซอฟต เนื่องจากความยากในการใชงานดอสทําใหบริษัทไมโครซอฟตไดมีการ พัฒนาซอฟตแวรที่เรียกวา Windows ที่มีลักษณะเปน GUI (Graphic-User Interface) ที่นํารูปแบบ ของสัญลักษณภาพกราฟกเขามาแทนการปอนคําสั่งทีละบรรทัด ซึ่งใกลเคียงกับแมคอินทอช-โอ เอส เพื่อใหการใชงานดอสทําไดงายขึ้นแตวินโดวสจะยังไมใชระบบปฏิบัติการจริง ๆ เนื่องจาก มันจะทํางานอยูภายใตการควบคุมของดอสอีกที กลาวคือจะตองมีการติดตั้งดอสกอนที่จะติดตั้ง ระบบปฏิบัติการ Windows และผูใชจะสามารถเรียกใชคําสั่งตาง ๆ ที่มีอยูในดอสไดโดยผานทาง Windows ซึ่งจะงายตอการใชงานมากกวาดอส ระบบปฏิบัติการ Windows ใชหลักการแบง งานเปนสวนเรียกวาหนาตางงาน (Windows) ที่แสดงผลลัพธแตละโปรแกรม มีการผลิต และ จําหนายหลายรุน โดยแบงออกดังนี้ 2.1.4.1ระบบปฏิบัติการวินโดวส 95 ระบบปฏิบัติการวินโดวส 95 พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟตและวางจําหนายในชวงปลายป 1995 เปนซอฟตแวรที่ใชกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอรทั่ว ๆไป ที่มีคุณลักษณะฮารดแวรและ หนวยความจําสูงกวาระบบปฏิบัติการดอสตองใชซีพียูที่มีความเร็วในการประมวลผลดวยตัว โปรแกรมตองใชพื้นที่ฮารดดิสกประมาณ 40 MB มีรูปแบบการติดตอกับผูใช (User Interface) เปนภาพกราฟกทําใหงายและสะดวกตอการใชงานยิ่งขึ้น (Friendly User Interface) วินโดวส 95 ติดตอกับผูใชโดยใชภาพกราฟฟก การใชงานควบคุมโปรแกรมโดยใชเมาสเปนสวนใหญ ผูใชไม ตองจําคําสั่งสะดวกตอการใชงานมาก นอกจากนั้นยังมี DOS Prompt ใหสามารถใชคําสั่งที่จําเปน ของดอสใน วินโดวส 95 ไดอีกดวย ความสามารถของ วินโดวส 95 คือเตรียมโปรแกรมสําหรับ การควบคุม การเชื่อมตออุปกรณภายนอกไวจํานวนมากสามารตรวจสอบอุปกรณที่นํามาเชื่อมตอ ใหมไดอยางอัตโนมัติ ทําใหผูใชสะดวกอยางมากในการติดตั้งอุปกรณใหมเขากับคอมพิวเตอร การทํางานในลักษณะนี้เรียกวา PNP (Plug and Play) นอกจากนี้ยังมีความสามารถ จัดการในการ เชื่อมตอเปนเครือขายคอมพิวเตอรแบบจุดตอจุด (Peer-to-Peer) เพื่อใชทรัพยากรของระบบ เครือขายรวมกัน ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows 95
  • 18. 2.1.4.2 ระบบปฏิบัติการวินโดวส 98 วินโดวส 98 เปนระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูงพัฒนาตอเนื่องมาจาก วินโดวส 95 สามารถทํางานแบบหลายงาน (Multi-Tasking OS) มีผูใชในระบบเพียงคนเดียวแบบ Single- User OSได อีกทั้งยังสามารถนําไปใชกับไมโครคอมพิวเตอรไดทั่วไป เรียกวาเปนแบบ Generic Operating System การทํางานของวินโดวส 98 ติดตอกับผูใชแบบ Graphic User Interface (GUI) เชนเดียวกับวินโดวส 95 แตปรับรูปแบบใหดูสวยงามอัตโนมัติยิ่งขึ้น มีความสามารถในการ เชื่อมตอกับระบบเครือขายอินเทอรเน็ตไดสะดวกยิ่งขึ้น มีโปรแกรมที่เปนเครื่องมือสําหรับการ สืบคนขอมูลทางอินเทอรเน็ตมาพรอมคือโปรแกรม Internet Explore ขอเสีย - ของโปรแกรม ระบบปฏิบัติการวินโดวส 98 คือ ตองการทรัพยากรของระบบ ไดแก หนวยประมวลผล หนวยความจํา ฮารดดิสก อุปกรณมัลติมีเดียสูง คอมพิวเตอรที่มี ประสิทธิภาพต่ําไมสามารถติดตั้งวินโดวส 98 ขอดี - คือ ผูใชสามารถใชงานไดอยางสะดวก มากกวาวินโดวส 95 มีซอฟตแวรประยุกตตาง ๆ สนับสนุนทํางานบนระบบวินโดวส 98 เปนจํานวนมาก รองรับการใชงาน ดานอินเทอรเน็ตได เปนอยางดี ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows 98 2.1.4.3 ระบบปฏิบัติการ Windows ME Windows ME (Windows Millennium Edition) เปนระบบปฏิบัติการรุนใหม ที่ถูกพัฒนาขึ้น มาจากระบบปฏิบัติการ วินโดวส 95และ98 ซึ่งออกแบบมาใหเหมาะสม กับผูใชตามบานเปน ระบบปฏิบัติการที่ทันสมัย ฉลาด และเขาใจผูใชมากกวาวินโดวส 95 และวินโดวส 98 หนาตาของ Windows ME จะมีรูปลักษณเหมือนวินโดวส 98 มาก แตมันมีคุณลักษณะพิเศษที่เหนือกวาเดิมมาก เชน สามารถสรางระบบเครือขายภายในบานได นอกจากนี้ยังมีความสามารถ ดานอินเทอรเน็ต และมัลติมีเดีย มากกวาวินโดวส 98 อีกดวย ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows Me
  • 19. 2.1.4.4 ระบบปฏิบัติการ Windows 2000 Windows 2000 เปนระบบปฏิบัติการที่เกิดขึ้นมาเพื่อตอบสนองระบบเครือขาย และเปน OS ที่สรางขึ้นมาเปน GUI ตั้งแตตน ดังนั้นการนํา Application เดิม ๆที่เคยใชกับระบบปฏิบัติการดอส หรือ โปรแกรม ที่สั่งงานฮารดแวรโดยตรงมาใชบนระบบปฏิบัติการวินโดวส 2000 อาจไมยอม ทํางานใหแตการทํางานระบบ Multi-Tasking และ Multi-User ใชงานไดดีกวาตระกูล วินโดวส 95 และ 98 โดยทําการควบคุมขบวนการทํางานของแตละโปรแกรมไดดีขึ้น ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows 2000 2.1.4.5 ระบบปฏิบัติการ Windows XP WindowsXP เปนระบบปฏิบัติการที่เริ่มวางตลาดในป ค.ศ. 2001 โดยตั้งชื่อใหรับกับการ เปลี่ยนแปลงลาสุดวา Microsoft Windows XP โดยคําวา XP ยอมาจาก Experience แปลวามี ประสบการณ โดยทางบริษัทผูสรางกลาววาการตั้งชื่อเชนนี้มีเหตุผลมาจากที่ตองการสื่อใหเห็น ถึงการไดรับประสบการณใหม ๆจากการใช Windows XP ทุก ๆประมาณ 2 ป บริษัท ไมโครซอฟตผูผลิตโปรแกรมวินโดวสจะวางตลาดวินโดวสรุนใหม ๆ โดยไดใสเทคโนโลยีที่ ทันสมัยและเปลี่ยนแปลงสิ่งที่เปนขอดอยของวินโดวสรุนเกาเพราะฉะนั้นผูที่ตองการเทคโนโลยี ใหม ๆ Windows XP มีจุดเดนและความสามารถมากมาย ไมวาจะเปนระบบใชงานที่ดูสวยงาม และงายกวาวินโดวสรุนเกา ๆ มีระบบชวยเหลือในการปรับแตงมากมาย เชน ระบบติดตั้ง ฮารดแวร ติดตั้งเครือขายและสรางผูใชในเครือขายดวยคอมพิวเตอร นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมรุนใหมแถมมาใหหลายโปรแกรม เชน โปรแกรมดูหนังฟงเพลง (Windows Media Player 8) และโปรแกรมทองโลกอินเทอรเน็ต (Internet Explorer 6) เหมาะ สําหรับนักคอมพิวเตอรมือใหมและผูใชงานทั่วไปอยางยิ่ง Windows XP มีใหเลือกใชสองรุนคือ Windows XP Home Edition ซึ่งเหมาะสําหรับผูใชงานตามบานที่ไมเชื่อมตอกับเครือขาย และอีกรุนคือ Windows Xp Professional Edition ซึ่งเหมาะกับผูใชงานในองคกรตั้งแตขนาดเล็ก ถึงขนาดใหญ เนื่องจากสามารถเชื่อมตอกับระบบเครือขายไดดีคนที่ใชวินโดวสเวอรชั่น XP จะตองใชเครื่องที่มีทรัพยากรมาก เชน ซีพียู เพนเทียม 300 MHz ขึ้นไป แรมไมต่ํากวา 128 MB ฮารดดิสกเหลือกพื้นที่วางมากกวา 1.5 GB เปนตน.
  • 20. ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows XP 2.1.4.6 ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows Vista เปนโปรแกรมระบบปฏิบัติการรุนใหมลาสุดจากไมโครซอฟท ที่พัฒนาตอมาจาก Microsoft Windows XP และ Microsoft Windows Server 2003 ที่ไดรับการปรับปรุงและพัฒนาใหมีความ ล้ําสมัยทั้งรูปรางหนาตา (Interface) และฟงกชั่นการใชงานตางๆ นอกจากที่ Vista จะมีความพิเศษ ในเรื่องฟงกชั่นตางๆแลวไมโครซอฟทไดปรับปรุงเรื่องความปลอดภัยและเน็ตเวิรคใหสามารถ ทํางานไดมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ปจจุบันไดวางจําหนายใหกับองคกรธุรกิจวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 และวางจําหนายใหกับผูใชทั่วไปวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2550 ไมโครซอฟท ประกาศใชชื่อ Microsoft Windows Vista อยางเปนทางการแกสื่อมวลชนในวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 แทนที่ชื่อรหัสลองฮอรน (Longhorn) โดยคําวา วิสตา ในภาษาอังกฤษหมายถึงมุมมอง หรือทิวทัศน ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows Vista 2.1.4.7 ระบบปฏิบัติการ Windows 7 Windows 7 คือ ระบบปฏิบัติการตัวใหมลาสุดจากไมโครซอฟทมีกําหนดวางจําหนายใน วันที่ 22 ตุลาคม 2009 หลังจากที่วางจําหนาย Windows Vista ซึ่งทํายอดขายไดสูงมาก (แตผล ตอบรับไมคอยนาพอใจ) ในชวง 2 – 3 ป ที่ผานมาโดย Windows 7 นี้นับไดเปนระบบปฏิบัติการรุน ที่ 7 ของไมโครซอฟทนับตั้งแต Windows 1.0 เปนตนมา ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Windows 7
  • 21. 2.1.4.8 ระบบปฏิบัติการ Linux Linux เปนระบบปฏิบัติการแบบ UNIX – Compatible ตัวหนึ่งที่ทํางานบนเครื่อง คอมพิวเตอร ตั้งแตระดับ (PC) พัฒนาขึ้นเปนครั้งแรกในป ค.ศ. 1991 โดยนักศึกษาชื่อ Linus B. Torvalds ณ University of Helsinki ประเทศฟนแลนดในลักษณะของงานอดิเรก โดยมีแรง บันดาลใจมาจากระบบ Minix ซึ่งเปนระบบปฏิบัติการคลายๆ UNIX เล็กๆ ตัวหนึ่งที่พัฒนาโดย Andy Tanenbaum เพื่อประกอบการเรียนรูในหนังสือเกี่ยวกับการออกแบบระบบปฏิบัติการ คอมพิวเตอร Linux Version 0.01 ถูกแจกจายใหทดลองใชประมาณปลายเดือน ส.ค. 1991 โดยมีเฉพาะ Harddisk Driver และระบบไฟลขนาดเล็กใหใชเทานั้นไมมีแมแต Floppy Disk Driver และตองมี ระบบ Minix อยูแลวจึงจะสามารถทําการคอมไพเลอร และทดลองใชงานไดเนื่องจากยังไมมีโหลด เดอรและคอมไพเลอร ตองอาศัยการคอมไพลขามระบบและบูตระบบผาน Minix Linus เปดตัว Linux อยางเปนทางการในวันที่ 5 ตุลาคม 1991 ดวย Version 0.02 ซึ่งยังคงเปนระบบปฏิบัติการสําหรับผูพัฒนาโปรแกรมระบบอยูจนกระทั่ง ไดเปดตัว Version 1.0 ในเดือนมีนาคม 1994 และเริ่มมีผูใชกันอยางแพรหลายเนื่องจากเปน ระบบปฏิบัติการคลาย UNIX ที่สมบูรณแบบ มีความสามารถสนันสนุนกราฟก X Window สนับสนุนระบบเครือขาย TCP/IP สามารถรับสงอีเมลทําหนาที่เปน News, WWW, FTP Server ไดและความสามารถอื่นๆ อีกมาก ตัวอยางหนาตางระบบปฎิบัติการ Linux
  • 22. บทที่ 3 3.1 อุปกรณและวิธีการดําเนินการ 3.1.1 วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือหรือโปรเเกรมที่ใชในการพัฒนาจัดทําโครงงานการจัดการ พัฒนาทักษะบุคลากรดานระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร ประกอบดวย 3.1.1.1 เครื่องคอมพิวเตอรที่เชื่อมตอระบบเครือขายอินเทอรเน็ต 3.1.1.2 โปรแกรมที่ใชในการดําเนินงาน ไดแก Microsoft Word 2007 เพื่อจัดทําโครงการ Google Chrome เพื่อคนหาขอมูลเกี่ยวกับโครงการ Blogger.com เพื่อคนหาขอมูลเกี่ยวกับโครงการ G-Mail ใชทําสําหรับล็อกอินทําสไลดผานสื่อออนไลน Slideshare.net สําหรับทําสไลดผานสื่อออนไลนเพื่อเผยเเพรความรูกับผูที่สนใจ 3.1.2 ขั้นตอนการดําเนินงาน 3.1.2.1 ศึกษาหัวขอที่ครูประจําวิชาไดมอบหมาย 3.1.2.2 คนควาขอมูลที่เกี่ยวของกับเรื่อง ระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอรและคนควาเพิ่มเติม จากเว็บไซตตาง ๆ และจัดเก็บขอมูลเพื่อจัดทําเนื้อหา 3.1.2.3 จัดทําเอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร 3.1.2.4 จัดทําเเบบทดสอบของ ระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร 3.1.2.4 ประเมินผลงานใหอาจารยที่ปรึกษาโครงการและใหเพื่อนผูที่สนใจรวมประเมินดวย 3.1.2.5 จัดทําสไลดโครงงาน การจัดการพัฒนาทักษะบุคลากรดานระบบปฏิบัติการ คอมพิวเตอร เพื่อการเผยเเพรความรูผานสื่อออนไลนโดยผูจัดทําไวที่ http://www.slideshare.net/AkiraSan13/ss-46531380
  • 23. บทที่ 4 4.1 ผลการดําเนินการโครงานผานสื่อออนไลนและตัวอยางภาพ 4.1.1 การสรางบัญชี Gmail เเละ Username Slideshare 4.1.1.1 ใหทําการสรางบัญชีของ Gmail เพื่อใชสําหรับสมัครทําสไลดของ Slideshare. ตัวอยางภาพการสรางบัญชี Gmail ตัวอยางภาพการสรางบัญชี Gmail
  • 24. 4.1.1.2. เมื่อเราไดบัญชี Gmail เเลวก็ไปใหเขาไปที่ www.Slideshare.net เพื่อทําการสมัคร สรางสไลดโดยเลือกที่ Signup ดังรูป ตัวอยางภาพการสราง Username เพื่อทําสไลด 4.1.1.3 เมื่อกด Signup เว็ปไซคจะเปลี่ยนมาที่สราง User ในการ Log In เพื่อทําสไลด ให ทําการกรอกที่อยูของบัญชี Gmail เเละ Username เเละ Password ในการ Log In เขาทําสไลดเมื่อ กรอกขอมูลขางตนครบเเลวจึงกด Signup ดังรูป ตัวอยางภาพการสราง Username เพื่อทําสไลด
  • 25. 4.1.1.4 เมือกด Signup เเลวเราก็จะได Username ที่เปนชื่อของผูสราง ดังภาพ ตัวอยางภาพการสราง Username เพื่อทําสไลด 4.1.1.5 เมื่อเราได Username ในการ Log In เเลวการที่เราอัพโหลดเพื่อทําสไลดนั้นเราตองทํา การเเปลงไฟล Micresoft Word ใหเปนไฟล PDF เทานั้นจึงจะสามารถอัพโหลดลง slideshare ไดโดยดุวิธีทําไดดังนี้ 4.1.2 การเปลี่ยนไฟลจาก Word เปน PDF เพื่อใชในการอัพโหลด slideshare.net 4.1.2.1. เปดโครงการหรืองานที่ตองการอัพโหลดที่ตองการจัดพิมพเปน PDF 4.1.2.2. คลิ๊กปุม Microsoft Office แลวชี้ไปที่ลูกศรที่อยูติดกับ บันทึกเปน จากนั้นคลิ๊ก PDF หรือ XPS ตัวอยางภาพการบันทึกไฟลเปน PDF
  • 26. 4.1.2.3. ในรายการ ชื่อแฟม ใหพิมพหรือเลือกชื่อสําหรับแฟมที่ตองการเซพ 4.1.2.4. ในรายการ บันทึกเปน ใหเลือกเปน PDF ดังรุป ตัวอยางภาพการบันทึกไฟลเปน PDF 4.1.2.5. ถาคุณตองการเปดแฟมทันทีหลังจากบันทึกแฟมเปน PDF ใหเลือกเลือกเครื่องหมาย เปดแฟมหลังจากจัดพิมพ โดยเครื่องหมายนี้จะพรอมใชงานเฉพาะเมือคุณมีโปรแกรมอาน PDF เทานั้น 4.1.2.6. ถัดจากปรับใหเหมาะสม โดยใหเลือกทําอยางใดอยางหนึ่งตอไปนี้ขึ้นอยูกับวา ขนาดแฟมหรือคุณภาพการพิมพสิ่งใดสําคัญมากกวาสําหรับคุณ 4.1.2.7. เมือตองตองการระบุตัวเลือกตาง ๆ ของแฟมใหคลิ๊กตัวเลือกเชื่อมโยงไปยังขอมูล เพิ่มเติมเกี่ยวกับตัวเลือกเหลานี้เเลว คลิ๊กตกลง 4.1.2.8. ในกลองโตตอบจัดพิมพเปน PDF หรือ XPS ใหคลิ๊ก จัดพิมพ เราก็จะได ไฟลขอมูลที่เปนไฟล PDF ที่เราตองการดังรูป ตัวอยางภาพการบันทึกไฟลเปน PDF
  • 27. 4.1.3 การอัพไฟลโครงงานของผูจัดทําผานสื่อออนไลนผานเว็บ slideshare.net 4.1.3.1 ใหทําการ Log In หนาเว็ปของ slideshare.net ที่เราไดสมัครไวในหัวขอที่ 4.1.1 ตัวอยางภาพ การ Log In Slideshaer 4.1.3.2 เมื่อเราทําการ Log In Slideshare เเลวเราก็จะทําการ Upload โดยคลิกเลือกที่ Upload ดังรุป ตัวอยางภาพ การ Upload ลง Slideshaer 4.1.3.3 เมือคลิกที่ Upload เเลว
  • 29. บทที่ 5 5.1 สรุปผลการดําเนินงานและขอเสนอแนะ การจําทําโครงงานคอมพิวเตอรการเผยแพรความรูออนไลน เรื่อง ระบบปฎิบัติการ ( OS : Operating System ) สรุปผลการดําเนินการและของเสนอแนะไดดังนี้ 5.1.1. สรุปผลการดําเนินงานของระบบปฎิบัติการ ผูจัดทําโครงงานคอมพิวเตอรการเผยแพรความรูออนไลน เรื่อง ระบบปฎิบัติการ ( OS : Operating System ) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 5.1.1.1 เนื้อหาในบทเรียน 5.1.1.2 ที่มาและความสําคัญของระบบปฎิบัติการ 5.1.1.3 ความหมายของระบบปฎิบัติการ 5.1.1.4 โปรแกรมที่ใชในการดําเนินงาน 5.1.2. ผลการประเมินประสิทธิภาพ ผลการประเมินประสิทธิภาพของการเผยแพรความรูออนไลน เรื่อง ระบบปฎิบัติการ แสดงคาคะแนนเฉลี่ย (X) สวนเบียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และคาระดับประสิทธิภาพของกลุม ตัวอยางของผูใชงานจำนวน 20 คน มีดังตอไปนี้ ตารางที่ 1 แบบประเมินเพื่อหาประสิทธิภาพของการเผยแพรความรูออนไลน เรื่อง ระบบ ปฎิบัติการ ( OS : Operating System ) รายการประเมิน (X ) (S.D.) ความหมาย 1. ความชัดเจนของขอความรูที่เผยแพร 4.10 0.519 ดี 2. ความเหมาะสมของการใชรูปภาพ 4.05 0.511 ดี 3. ความเหมาะสมของการจัดวางสวนตางๆ 3.70 0.400 ดี 4.สื่อสารกับผูใชไดตรงตามวัตถุประสงค 3.70 0.811 ดี 5. การใชงานงาย 4.35 0.440 ดี 6. ความเหมาะสมของปริมาณขอมูลที่นําเสนอ 3.50 0.523 พอใช รวมเฉลย 3.98 0.354 ดี จากตารางที่ 1 แบบประเมินเพอหาประสิทธิภาพของการเผยเเพรความรูออนไลน เรื่อง ระบบปฎิบัติการ มีคาเฉลี่ยรวม D ( X=3.70 )
  • 30. 5.1.3. อุปสรรคในการทําโครงงาน การเผยแพรความรูออนไลน เรื่อง ระบบปฎิบัติการ ( OS : Operating System ) และไดมีการ ทดลองทําใหพบปญหาตาง ๆ ดังนี้ 5.1.3.1 มีปญหาในการคนหาขอมูลตาง ๆ เกิดจากอินเทอรเน็ตไมเสถียร 5.1.3.2 เครื่องคอมพิวเตอรมีปญหาเนื่องจากไวรัสเขาเครื่องทําใหงานหาบอย 5.1.4. ขอเสนอแนะ 5.1.4.1 ควรมีการจัดทําโครงงานอยางตอเนื่องเพื่อที่จะไดเผยแพรความรูผานสื่อออนไลนได ครบทุก ๆ กลุมสาระการเรียนรูจะไดเปนประโยชนตอไป
  • 31. บรรณานุกรม ความหมายของระบบปฎิบัติการ วันที่สืบคน 25 มีนาคม 2558 https://sites.google.com/site/operatingsystemeng1/khwam-hmay-khxng-rabb-ptibati-kar ระบบปฎิบัติการ DOS วันที่สืบคน 25 มีนาคม 2558 https://www.gotoknow.org/posts/327381 ระบบปฎิบัติการ Windows วันที่สืบคน 25 มีนาคม 2558 https://sites.google.com/site/hxngreiynxxnlinbykhruniw/rabb-ptibati-kar-windows-1 ระบบปฎิบัติการ Linux วันที่สืบคน 25 มีนาคม 2558 http://linuxunix54321.tripod.com/Linux01.htm
  • 33. ประวัติผูจัดทํา ชื่อ นาย ธนกฤต นามสกุล ฉิมชัยชนะ ชื่อเรื่อง ระบบปฎิบัติการ ( OS ) เเผนกวิชา บริหารธุรกิจ สาขาวิชา การจัดการทรัพยากรมนุษย ประวัติ ประวัติสวนตัว ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ประวัติการศึกษา ป. พ.ศ .............................................................................................................................. ป. พ.ศ ..............................................................................................................................
  • 34. ประวัติผูจัดทํา ชื่อ นางสาว วรัญญา นามสกุล ศรีสุข ชื่อเรื่อง ระบบปฎิบัติการ ( OS ) เเผนกวิชา บริหารธุรกิจ สาขาวิชา การจัดการทรัพยากรมนุษย ประวัติ ประวัติสวนตัว ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ประวัติการศึกษา ป. พ.ศ .............................................................................................................................. ป. พ.ศ ..............................................................................................................................