SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
เรื่อง ปัญหาของการฆ่าตัวตาย
(The problem of suicide)
จัดทาโดย
นางสาวสมหญิง งามเลิศศุภร เลขที่ ๑๒
นางสาวนัชชา ห้วยหงษ์ทอง เลขที่ ๑๕
นางสาวนุชนาฏ สุดประเสริฐ เลขที่ ๓๔
นางสาวศุภสุตา อินทรภักดี เลขที่ ๓๖
ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๕/๔
เสนอ
คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา IS1 รหัสวิชา I30201
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติกาญจนบุรีสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๙
คานา
โครงงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาIS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้IS ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
5 โดยมีจุดประสงค์ เพื่อการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตัวนักเรียนเอง ซึ่งโครงงานเล่มนี้มีเนื้อหาความรู้
เกี่ยวกับการฆ่าตัวตาย สาเหตุของการฆ่าตัวตาย สภาพแวดล้อมของบุคคล และวิธีแก้ไขปัญหา ผู้จัดทาได้
เลือกหัวข้อนี้ในการทาโครงงาน เนื่องมาจากเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวและสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคนไม่ว่าจะเป็น
เด็กในวัยเรียน หรือผู้ใหญ่ รวมถึงเป็นการชี้ให้เห็นว่าพฤติกรรมดังกล่าวนั้นเป็นพฤติกรรมที่รุนแรง และ
เผยแพร่ข้อมูลให้นักเรียนในโรงเรียนได้เห็นถึงความรุนแรงของการฆ่าตัวตาย
ในการจัดทาโครงงานประสอบสื่อการเรียนรู้ในครั้งนี้ ผู้จัดทาขอขอบคุณ คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์
เอี่ยม ผู้ให้คาปรึกษาและข้อเสนอแนะต่างๆเกี่ยวกับรูปเล่มของโครงงาน เพื่อนๆ ทุกคนที่ให้ความร่วมมือ
และช่วยเหลือมาโดยตลอด ผู้จัดทาหวังว่าโครงงานเล่มนี้จะให้ความรู้ และเป็นประโยขน์แก่ผู้ที่ได้ศึกษา
ทุกๆ ท่าน
คณะผู้จัดทา
ก
กิตติกรรมประกาศ
การค้นคว้างานฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี เนื่องจากผู้ค้นคว้าได้รับความช่วยเหลือ ดูแลเอาใจใส่
เป็นอย่างดี โดยฌฉพาะอาจารย์ที่ปรึกษา ในการแนะนา ตรวจทาน แก้ไข ให้ข้อเสนอแนะ ติดตาม
ความก้าวหน้าในการดาเนินงานโครงงาน ผู้ค้นคว้ารู้สึกซาบซึ้งในความกรุณาของอาจารย์เป็นอย่างยิ่ง และ
ขอขอบพระคุณไว้ณ โอกาสนี้
ขอขอบคุณ คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ครูผู้สอนวิชา Is1 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯ กาญจนบุรี ที่
ได้กรุณาให้ข้อเสนอแนะ แก้ไข และให้แนวคิดต่างๆที่เป็นระโยชน์
ขอขอบคุณ สมาชิกในกลุ่มที่คอยช่วยเหลือซึ่งกันและกัน คอยให้กาลังใจ ช่วยดาเนินงานให้โครง
งานี้เสร็จลุล่วงไปด้วยดี ผู้ค้นคว้ารู้สึกซาบซึ้งในความกรุณาและความปราถนาดีของทุกๆท่านเป็นอย่างยิ่ง จึง
กราบขอบคุณและขอบคุณในโอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
ข
สารบัญ
คานา ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญภาพ ง
บทที่ 1 ความหมายหรือคาจากัดความของการฆ่าตัวตาย
1.1 คาจากัด 1
บทที่ 2 ปัจจัยเสี่ยงหรือสาเหตุ
2.1โรคทางจิตใจ 2
2.2 การใช้สารเสพติด 2
2.3 ปัญหาการพนัน 2
บทที่ 3 ความเชื่อ
3.1 ทางศาสนาศาสนา 3
3.2 ความเชื่อ ลัทธิ 3
3.3 จิตวิทยา 3
3.4 เวชปฏิบัติ 3
บทที่ 4 ผลกระทบ
4.1 ผลกระทบจากการฆ่าตัวตาย 4
บทที่ 5 สถิติและวิธีการลดปัญหา
5.1 สถิติการฆ่าตัวตาย 5
5.2 การป้องกันการฆ่าตัวตาย 5-6
บรรณนานุกรม 7
ค
สารบัญภาพ
รูปที่1.1 การฆ่าตัวตาย 1
รูปที่4.1 ผลกระทบ 4
รูปที่5.1 การป้องกันการฆ่าตัวตาย 6
ง
บทที่ 1
ความหมายหรือคาจากัดความของการฆ่าตัวตาย
เป็นการกระทาให้ตนเองถึงแก่ความตายอย่างตั้งใจ การฆ่าตัวตายมักเกิดจากภาวะซึมเศร้า ซึ่งเกิดจาก
ความผิดปกติทางจิต เช่น โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว หรือการใช้สารเสพติด ปัจจัยที่ทาให้เกิด
ความเครียดเช่นความลาบากทางการเงิน หรือปัญหากับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลก็มีส่วนเช่นกัน
1.1 คาจากัดความ
การฆ่าตัวตาย หรือการฆ่าตัวตายสมบูรณ์แบบ เป็น "การกระทาที่ปลิดชีพตน"ความพยายามฆ่าตัวตาย
หรือพฤติกรรมเสียงต่อการฆ่าตัวตายคือการทาร้ายตนเองโดยมีความปรารถนาว่าจะจบชีวิตตน แต่ไม่ถึงแก่
ความตายการฆ่าตัวตายแบบมีผู้ช่วย เกิดขึ้นเมื่อมีคนคนหนึ่งนาพาความตายมาให้อีกคนอีกคนทางอ้อม โดย
การให้คาแนะนาหรือวิธีการฆ่าตัวตายการฆ่าตัวตายตรงข้ามกับการุณยฆาตซึ่งคนอีกคนมีบทบาทหลักใน
การนาพาความตายมาสู่คนคนหนึ่งการเกิดความคิดฆ่าตัวตายเป็นความคิดในการจบชีวิตคนคนหนึ่งแต่ไม่
ต้องใช้ความพยายามเพื่อทาการดังกล่าว
รูปที1.1 การฆ่าตัวตายความเครียด
1
บทที่ 2
ปัจจัยเสี่ยงหรือสาเหตุ
2.1โรคทางจิตใจ
ประชาชนครึ่งหนึ่งที่เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตายอาจเป็นโรคเกี่ยวกับความหดหู่ หากมีโรคทางจิตใจ
อย่างน้อยหนึ่งชนิด เช่น โรคอารมณ์สองขั้ว เพิ่มความเสี่ยงที่จะฆ่าตัวตายถึง 20 เท่าโรคอื่น ๆ เช่น โรคจิต
เภท (14%) ความผิดปกติด้านบุคลิกภาพ (14%)โรคอารมณ์สองขั้วและความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่
สะเทือนใจคนที่เป็นโรคจิตเภทราว 5% เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย[27] ความผิดปกติเกี่ยวกับการกินเป็นอีก
ภาวะหนึ่งที่มีความเสี่ยงสูง
2.2การใช้สารเสพติด
คนส่วนมากได้รับผลกระทบจากฤทธิ์ยาระงับประสาท (เช่น แอลกอฮอล์ หรือเบนโซไดอาเซพีนส์)
หลังเขาเสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย โดย 15-61% ของคนกลุ่มนี้เป็นโรคพิษสุรา ประเทศที่มีการบริโภค
แอลกอฮอล์สูง และมีบาร์ในเมืองอย่างหนาแน่น มีอัตราการฆ่าตัวตายสูง ผู้ที่ได้รับการรักษาโรคพิษสุรา
ประมาณ 2.2-3.4% ณ เวลาหนึ่งในชีวิตจะเสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย
2.3ปัญหาการพนัน
ปัญหาการพนันเป็นเหตุให้เกิดความคิดฆ่าตัวตายและความพยายามฆ่าตัวตายเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ
ประชากรทั่วไปนักเล่นพนันระหว่าง 12-24% พยายามฆ่าตัวตายอัตราการฆ่าตัวตายในสามีภรรยาของพวก
เขามีมากกว่าประชากรทั่วไปถึง 3 เท่า ปัจจัยอื่น ๆ ที่เพิ่มความเสี่ยงในนักเล่นพนัน ได้แก่ ความผิดปกติทาง
จิตใจ แอลกอฮอล์ และการใช้ยา
2
บทที่ 3
ความเชื่อ
3.1ทางศาสนา
- ศาสนาพุทธพุทธศาสนาถือว่าการฆ่าตัวตายไม่เป็นปาณาติบาต เพราะปาณาติบาตหมายถึงการฆ่า
ชีวิตอื่น อย่างไรก็ตามผู้ฆ่าตัวตายด้วยความโกรธ ย่อมไปเกิดในอบายภูมิ เช่น นรกภูมิ
- ศาสนาอิสลาม ถือว่าอัตวินิบาตกรรม ถือว่าเป็นสิ่งไม่ถูกต้อง ใครก็ตามที่ฆ่าตัวตายต้องทุกข์ทรมาน
ด้วยไฟนรกและถูก อัปเปหิออกจากสวรรค์ตลอดไป ปรากฎในคัมภีร์อัลกุรอาน
3.2ความเชื่อ ลัทธิ ศาสนา
- การทรมานคน,หลุดพ้น
- อยู่กับพระเจ้า
- เกิดใหม่ชาติหน้า
3.3จิตวิทยา
- ต้องการแก้แค้น ทาลาย
- ต้องการทาร้ายตัวเอง,รู้สึกผิด,ไร้ค่า
- ต้องการตาย,หนีความทุกข์
3.4เวชปฏิบัติ
- พ้นจากความเจ็บปวด ทรมาน พิการ
- ความรู้สึกสิ้นหวัง เสียสมรรถภาพ
- โรคทางจิตเวช: โรคซึมเศร้า
- โรคทางสมอง: ติดสารเสพติด
3
บทที่ 4
ผลกระทบ
4.1ผลกระทบจากการฆ่าตัวตาย
4.1.1 สูญเสียทรัพยากรบุคคล และเศรษฐกิจของประเทศ
4.1.2 สุขภาพจิตของคนใกล้ชิด เพราะอาจเป็นเสมือน ตราบาปในใจของผู้ใกล้ชิดไปตลอดชีวิต
4.1.3 เป็นเครื่องบ่งชี้สภาพของสังคม โดยเฉพาะสภาวะความผูกพันของคนในสังคม
ฆ่าตัวตายมีความซับซ้อนทั้งความกว้างและลึกการรอให้เกิดการกระทาขึ้นก่อนแล้วค่อยบาบัดรักษา
โดยไม่ป้องกันตั้งแต่การเริ่มมีแนวคิดทั้งละเลยไม่ช่วยประคับประคองจิตใจของทั้งผู้กระทาและญาติหรือ
โยนความผิดให้กับปัญหาสังคมหรือความเจริญซึ่งดูจะใหญ่เกินแก้แต่เพียงอย่างเดียวน่าจะไม่เพียงพออีก
แล้วควรที่แพทย์จักร่วมมือกับสังคมป้องกันการลุกลามของกระบวนการนี้ ให้ความรู้คนทั่วไปเสี่ยงอาการ
ของโรคซึมเศร้าเพื่อหากลุ่มเสี่ยงสนับสนุนให้สถาบันครอบครัวมีความใกล้ชิดแน่นแฟ้นมากขึ้นเพื่อเป็นที่
พึ่งแก่สมาชิกคนใดคนหนึ่งที่อาจรู้สึกหมดหวัง
รูปที่ 4.1 ผลกระทบ
4
บทที่ 5
สถิติและวิธีการลดปัญหา
5.1สถิติการฆ่าตัวตาย
- ประเทศที่มีการฆ่าตัวตายสูงสุด คือ อันดับ 1 ได้แก่ ประเทศฮังการี โดยมีอัตราการฆ่าตัวตายของ
ประชากร คือ 38.6 : 100,000 คน รองลงมาคือ ประเทศศรีลังกาส่วนประเทศไทย อันดับที่ 26 โดยมีอัตรา
การฆ่าตัวตายของประชากรคือประมาณ 9 : 100,000 คน โดยประชากรที่ฆ่าตัวตายในปัจจุบันอายุ 15 – 24
ปี มี มากขึ้น
- จังหวัดที่มีการฆ่าตัวตายสูงสุดในไทย คือ เชียงใหม่ ลาพูน เชียงราย ระยอง จันทบุรี ประเด็นสาคัญ
คือจังหวัดดังกล่าวล้วนแต่เป็นจังหวัดท่องเที่ยงอันอาจมีสาเหตุการฆ่าตัวตายจากโรคเอดส์
- อาการ หรือ สัญลักษณ์อันตรายของผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย คือ มีความคิดอยากฆ่าตัวตาย ต่อเนื่อง
2 อาทิตย์ขึ้นไป มีอาการเตือนคนข้างเคียง มีความคิด ไม่อยากอยู่เพราะทรมาน
5.2การป้องกันการฆ่าตัวตาย
5.2.1การจัดการศึกษา
เพื่อให้เยาวชนทั่วไปมีทักษะในการจัดการปัญหาชีวิต ให้ความช่วยเหลือเอื้อเฟื้อแก้กันในยามวิกฤต
และมีความพร้อมสาหรับการมีชีวิตครอบครัวเพื่อเป็นแหล่งให้กาลังใจที่สาคัญควรส่งเสริมให้เยาวชนและ
ประชาชนทั่วไปมีทัศนคติที่ไม่รังเกียจหรือละอายต่อการใช้บริการทางสุขภาพจิต
5.2.2การควบคุมวิธีการที่ใช้ในการฆ่าตัวตาย
ในหลายประเทศพบว่าการควบคุมอุปกรณ์หรือวิธีการที่มีผู้ใช้ฆ่าตัวตายบ่อยจะช่วยลดอัตราการฆ่า
ตัวตายลงได้ทั้งนี้อาจเป็นเพราะการฆ่าตัวตายส่วนหนึ่งเป็นการกระทาที่หุนหันพลันแล่น โดยเฉพาะในผู้ที่มี
อายุน้อย หรือทาได้เพราะมีวิธีการที่ง่ายและไม่ทรมาน การมีมาตรการป้องกันจึงช่วยลดอัตราการฆ่าตัวตาย
5.2.3จัดบริการปรึกษาปัญหาสุขภาพจิต
บริการปรึกษาเพื่อแก้ปัญหาให้กับประชาชนกลุ่มต่างๆในช่วงที่ชีวิตตกอยู่ในภาวะวิกฤตจะช่วยให้
ผู้รับบริการตัดสินใจเลือกทางเดินที่เป็นประโยชน์ต่อตัวเขาในระยะยาวกลุ่มที่ควรได้รับความช่วยเหลือ
ได้แก่
5
5.2.4 การวินิจฉัยและรักษาโรคทางจิตเวชอย่างถูกต้อง
ผู้ฆ่าตัวตายสาเร็จส่วนใหญ่มีความเจ็บป่วยทางจิตเวชในขณะที่ฆ่าตัวตาย โดยเฉพาะภาวะซึมเศร้า
และติด สุรา จาเป็นต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างถูกต้อง แต่ผู้ป่วยจานวนมากไม่ได้ใช้บริการที่หน่วยบริการ
จิตเวช สถานบริการทางสุขภาพทั่วไป จึงต้องมีขีดความสามารถในการวินิจฉัยและรักษาโรคทางจิตเวชได้
อย่างถูกต้อง
5.2.5 การสร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและสังคม
การสร้างความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ให้มีความเอื้ออาทรต่อกัน ร่วมใจกันปกป้อง
ลูกหลานจาก อิทธิพลของค่านิยมที่ไม่เหมาะสม พัฒนาโรงเรียนให้เอื้อต่อการพัฒนาสุขภาพกายและใจ ช่วย
สร้างสังคมให้ สมาชิกไม่รู้สึกโดดเดี่ยวหรือแปลกแยก จะเป็นเกราะป้องกันที่ดีของปัญหาการฆ่าตัวตาย.
รูปที่5.1 การป้องกันการฆ่าตัวตาย
6
บรรณนานุกรม
“ความหมายหรือคาจากัดความของการฆ่าตัวตาย” [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก:
https://th.wikipedia.org/wiki/. สืบค้น 14 กันยายน 2559.
“ปัจจัยเสี่ยงและสาเหตุการฆ่าตัวตาย” [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก:
http://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=947. สืบค้น 14 กันยายน 2559.
“ความเชื่อ” [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: http://www.polsci.chula.ac.th/sumonthip/suicide.htm .
สืบค้น 14 กันยายน 2559.
“ผลกระทบ” [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: http://guru.sanook.com/4368/ . สืบค้น 14 กันยายน 2559.
“วิธีการลดปัญหา” [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: .http://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=948 สืบ
7
ภาคผนวก
- ภาพการประชุมกลุ่ม
- ภาพการนาเสนอและอภิปรายในชั้นเรียน
- ภาพการทากิจกรรมต่างๆ
- ข้อมูลรายละเอียดต่างๆ
- PPT
- งานย่อย 4
- งานก#1
- งานย่อย8
ผู้จัดทา
นางสาว สมหญิง งามเลิศศุภร นางสาว นัชชา ห้วยหงส์ทอง
เลขที่ 12 ชั้น ม.5/4 เลขที่ 15 ชั้น ม.5/4
นางสาว นุชนาฏ สุดประเสริฐ นางสาว ศุภสุตา อินทรภักดี
เลขที่ 34 ชั้น ม.5/4 เลขที่ 36 ชั้น ม.5/4

More Related Content

What's hot

ข้อสอบ O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net - สังคมศึกษาข้อสอบ O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net - สังคมศึกษาAon NP
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติมเพศศึกษา เรื่อง “วัยซ่าส์ วัยใส วัยฝัน” (เล่มที่ 1 ห้องแ...
หนังสืออ่านเพิ่มเติมเพศศึกษา  เรื่อง “วัยซ่าส์ วัยใส วัยฝัน” (เล่มที่ 1 ห้องแ...หนังสืออ่านเพิ่มเติมเพศศึกษา  เรื่อง “วัยซ่าส์ วัยใส วัยฝัน” (เล่มที่ 1 ห้องแ...
หนังสืออ่านเพิ่มเติมเพศศึกษา เรื่อง “วัยซ่าส์ วัยใส วัยฝัน” (เล่มที่ 1 ห้องแ...Jofe'Bossniks Arucha
 
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขกลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขfreelance
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดN'Name Phuthiphong
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5pimrapat_55
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5pimrapat_55
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นKorakrit Jindadang
 
4. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 04. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 0Nattarika Wonkumdang
 
แบบทดสอบสุขศึกษา
แบบทดสอบสุขศึกษาแบบทดสอบสุขศึกษา
แบบทดสอบสุขศึกษาJaruwan Boonchareon
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนพัน พัน
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0 (1)
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0 (1)3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0 (1)
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0 (1)Preeyaporn Chamnan
 
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลายข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลายคำหล้า สมวัน
 

What's hot (18)

ข้อสอบ O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net - สังคมศึกษาข้อสอบ O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net - สังคมศึกษา
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติมเพศศึกษา เรื่อง “วัยซ่าส์ วัยใส วัยฝัน” (เล่มที่ 1 ห้องแ...
หนังสืออ่านเพิ่มเติมเพศศึกษา  เรื่อง “วัยซ่าส์ วัยใส วัยฝัน” (เล่มที่ 1 ห้องแ...หนังสืออ่านเพิ่มเติมเพศศึกษา  เรื่อง “วัยซ่าส์ วัยใส วัยฝัน” (เล่มที่ 1 ห้องแ...
หนังสืออ่านเพิ่มเติมเพศศึกษา เรื่อง “วัยซ่าส์ วัยใส วัยฝัน” (เล่มที่ 1 ห้องแ...
 
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขกลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
ข้อสอบO-NET
ข้อสอบO-NETข้อสอบO-NET
ข้อสอบO-NET
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
6ความรักวัยรุ่น
6ความรักวัยรุ่น6ความรักวัยรุ่น
6ความรักวัยรุ่น
 
6ความรักวัยรุ่น
6ความรักวัยรุ่น6ความรักวัยรุ่น
6ความรักวัยรุ่น
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
ทุกศาสนา
ทุกศาสนาทุกศาสนา
ทุกศาสนา
 
4. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 04. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 0
 
แบบทดสอบสุขศึกษา
แบบทดสอบสุขศึกษาแบบทดสอบสุขศึกษา
แบบทดสอบสุขศึกษา
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืน
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0 (1)
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0 (1)3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0 (1)
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0 (1)
 
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลายข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ปัญหาของการฆ่าตัวตาย

  • 1. เรื่อง ปัญหาของการฆ่าตัวตาย (The problem of suicide) จัดทาโดย นางสาวสมหญิง งามเลิศศุภร เลขที่ ๑๒ นางสาวนัชชา ห้วยหงษ์ทอง เลขที่ ๑๕ นางสาวนุชนาฏ สุดประเสริฐ เลขที่ ๓๔ นางสาวศุภสุตา อินทรภักดี เลขที่ ๓๖ ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๕/๔ เสนอ คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา IS1 รหัสวิชา I30201 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติกาญจนบุรีสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๙
  • 2. คานา โครงงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาIS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้IS ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยมีจุดประสงค์ เพื่อการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตัวนักเรียนเอง ซึ่งโครงงานเล่มนี้มีเนื้อหาความรู้ เกี่ยวกับการฆ่าตัวตาย สาเหตุของการฆ่าตัวตาย สภาพแวดล้อมของบุคคล และวิธีแก้ไขปัญหา ผู้จัดทาได้ เลือกหัวข้อนี้ในการทาโครงงาน เนื่องมาจากเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวและสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคนไม่ว่าจะเป็น เด็กในวัยเรียน หรือผู้ใหญ่ รวมถึงเป็นการชี้ให้เห็นว่าพฤติกรรมดังกล่าวนั้นเป็นพฤติกรรมที่รุนแรง และ เผยแพร่ข้อมูลให้นักเรียนในโรงเรียนได้เห็นถึงความรุนแรงของการฆ่าตัวตาย ในการจัดทาโครงงานประสอบสื่อการเรียนรู้ในครั้งนี้ ผู้จัดทาขอขอบคุณ คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์ เอี่ยม ผู้ให้คาปรึกษาและข้อเสนอแนะต่างๆเกี่ยวกับรูปเล่มของโครงงาน เพื่อนๆ ทุกคนที่ให้ความร่วมมือ และช่วยเหลือมาโดยตลอด ผู้จัดทาหวังว่าโครงงานเล่มนี้จะให้ความรู้ และเป็นประโยขน์แก่ผู้ที่ได้ศึกษา ทุกๆ ท่าน คณะผู้จัดทา ก
  • 3. กิตติกรรมประกาศ การค้นคว้างานฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี เนื่องจากผู้ค้นคว้าได้รับความช่วยเหลือ ดูแลเอาใจใส่ เป็นอย่างดี โดยฌฉพาะอาจารย์ที่ปรึกษา ในการแนะนา ตรวจทาน แก้ไข ให้ข้อเสนอแนะ ติดตาม ความก้าวหน้าในการดาเนินงานโครงงาน ผู้ค้นคว้ารู้สึกซาบซึ้งในความกรุณาของอาจารย์เป็นอย่างยิ่ง และ ขอขอบพระคุณไว้ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณ คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ครูผู้สอนวิชา Is1 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯ กาญจนบุรี ที่ ได้กรุณาให้ข้อเสนอแนะ แก้ไข และให้แนวคิดต่างๆที่เป็นระโยชน์ ขอขอบคุณ สมาชิกในกลุ่มที่คอยช่วยเหลือซึ่งกันและกัน คอยให้กาลังใจ ช่วยดาเนินงานให้โครง งานี้เสร็จลุล่วงไปด้วยดี ผู้ค้นคว้ารู้สึกซาบซึ้งในความกรุณาและความปราถนาดีของทุกๆท่านเป็นอย่างยิ่ง จึง กราบขอบคุณและขอบคุณในโอกาสนี้ คณะผู้จัดทา ข
  • 4. สารบัญ คานา ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญภาพ ง บทที่ 1 ความหมายหรือคาจากัดความของการฆ่าตัวตาย 1.1 คาจากัด 1 บทที่ 2 ปัจจัยเสี่ยงหรือสาเหตุ 2.1โรคทางจิตใจ 2 2.2 การใช้สารเสพติด 2 2.3 ปัญหาการพนัน 2 บทที่ 3 ความเชื่อ 3.1 ทางศาสนาศาสนา 3 3.2 ความเชื่อ ลัทธิ 3 3.3 จิตวิทยา 3 3.4 เวชปฏิบัติ 3 บทที่ 4 ผลกระทบ 4.1 ผลกระทบจากการฆ่าตัวตาย 4 บทที่ 5 สถิติและวิธีการลดปัญหา 5.1 สถิติการฆ่าตัวตาย 5 5.2 การป้องกันการฆ่าตัวตาย 5-6 บรรณนานุกรม 7 ค
  • 5. สารบัญภาพ รูปที่1.1 การฆ่าตัวตาย 1 รูปที่4.1 ผลกระทบ 4 รูปที่5.1 การป้องกันการฆ่าตัวตาย 6 ง
  • 6. บทที่ 1 ความหมายหรือคาจากัดความของการฆ่าตัวตาย เป็นการกระทาให้ตนเองถึงแก่ความตายอย่างตั้งใจ การฆ่าตัวตายมักเกิดจากภาวะซึมเศร้า ซึ่งเกิดจาก ความผิดปกติทางจิต เช่น โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว หรือการใช้สารเสพติด ปัจจัยที่ทาให้เกิด ความเครียดเช่นความลาบากทางการเงิน หรือปัญหากับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลก็มีส่วนเช่นกัน 1.1 คาจากัดความ การฆ่าตัวตาย หรือการฆ่าตัวตายสมบูรณ์แบบ เป็น "การกระทาที่ปลิดชีพตน"ความพยายามฆ่าตัวตาย หรือพฤติกรรมเสียงต่อการฆ่าตัวตายคือการทาร้ายตนเองโดยมีความปรารถนาว่าจะจบชีวิตตน แต่ไม่ถึงแก่ ความตายการฆ่าตัวตายแบบมีผู้ช่วย เกิดขึ้นเมื่อมีคนคนหนึ่งนาพาความตายมาให้อีกคนอีกคนทางอ้อม โดย การให้คาแนะนาหรือวิธีการฆ่าตัวตายการฆ่าตัวตายตรงข้ามกับการุณยฆาตซึ่งคนอีกคนมีบทบาทหลักใน การนาพาความตายมาสู่คนคนหนึ่งการเกิดความคิดฆ่าตัวตายเป็นความคิดในการจบชีวิตคนคนหนึ่งแต่ไม่ ต้องใช้ความพยายามเพื่อทาการดังกล่าว รูปที1.1 การฆ่าตัวตายความเครียด 1
  • 7. บทที่ 2 ปัจจัยเสี่ยงหรือสาเหตุ 2.1โรคทางจิตใจ ประชาชนครึ่งหนึ่งที่เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตายอาจเป็นโรคเกี่ยวกับความหดหู่ หากมีโรคทางจิตใจ อย่างน้อยหนึ่งชนิด เช่น โรคอารมณ์สองขั้ว เพิ่มความเสี่ยงที่จะฆ่าตัวตายถึง 20 เท่าโรคอื่น ๆ เช่น โรคจิต เภท (14%) ความผิดปกติด้านบุคลิกภาพ (14%)โรคอารมณ์สองขั้วและความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่ สะเทือนใจคนที่เป็นโรคจิตเภทราว 5% เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย[27] ความผิดปกติเกี่ยวกับการกินเป็นอีก ภาวะหนึ่งที่มีความเสี่ยงสูง 2.2การใช้สารเสพติด คนส่วนมากได้รับผลกระทบจากฤทธิ์ยาระงับประสาท (เช่น แอลกอฮอล์ หรือเบนโซไดอาเซพีนส์) หลังเขาเสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย โดย 15-61% ของคนกลุ่มนี้เป็นโรคพิษสุรา ประเทศที่มีการบริโภค แอลกอฮอล์สูง และมีบาร์ในเมืองอย่างหนาแน่น มีอัตราการฆ่าตัวตายสูง ผู้ที่ได้รับการรักษาโรคพิษสุรา ประมาณ 2.2-3.4% ณ เวลาหนึ่งในชีวิตจะเสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย 2.3ปัญหาการพนัน ปัญหาการพนันเป็นเหตุให้เกิดความคิดฆ่าตัวตายและความพยายามฆ่าตัวตายเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ ประชากรทั่วไปนักเล่นพนันระหว่าง 12-24% พยายามฆ่าตัวตายอัตราการฆ่าตัวตายในสามีภรรยาของพวก เขามีมากกว่าประชากรทั่วไปถึง 3 เท่า ปัจจัยอื่น ๆ ที่เพิ่มความเสี่ยงในนักเล่นพนัน ได้แก่ ความผิดปกติทาง จิตใจ แอลกอฮอล์ และการใช้ยา 2
  • 8. บทที่ 3 ความเชื่อ 3.1ทางศาสนา - ศาสนาพุทธพุทธศาสนาถือว่าการฆ่าตัวตายไม่เป็นปาณาติบาต เพราะปาณาติบาตหมายถึงการฆ่า ชีวิตอื่น อย่างไรก็ตามผู้ฆ่าตัวตายด้วยความโกรธ ย่อมไปเกิดในอบายภูมิ เช่น นรกภูมิ - ศาสนาอิสลาม ถือว่าอัตวินิบาตกรรม ถือว่าเป็นสิ่งไม่ถูกต้อง ใครก็ตามที่ฆ่าตัวตายต้องทุกข์ทรมาน ด้วยไฟนรกและถูก อัปเปหิออกจากสวรรค์ตลอดไป ปรากฎในคัมภีร์อัลกุรอาน 3.2ความเชื่อ ลัทธิ ศาสนา - การทรมานคน,หลุดพ้น - อยู่กับพระเจ้า - เกิดใหม่ชาติหน้า 3.3จิตวิทยา - ต้องการแก้แค้น ทาลาย - ต้องการทาร้ายตัวเอง,รู้สึกผิด,ไร้ค่า - ต้องการตาย,หนีความทุกข์ 3.4เวชปฏิบัติ - พ้นจากความเจ็บปวด ทรมาน พิการ - ความรู้สึกสิ้นหวัง เสียสมรรถภาพ - โรคทางจิตเวช: โรคซึมเศร้า - โรคทางสมอง: ติดสารเสพติด 3
  • 9. บทที่ 4 ผลกระทบ 4.1ผลกระทบจากการฆ่าตัวตาย 4.1.1 สูญเสียทรัพยากรบุคคล และเศรษฐกิจของประเทศ 4.1.2 สุขภาพจิตของคนใกล้ชิด เพราะอาจเป็นเสมือน ตราบาปในใจของผู้ใกล้ชิดไปตลอดชีวิต 4.1.3 เป็นเครื่องบ่งชี้สภาพของสังคม โดยเฉพาะสภาวะความผูกพันของคนในสังคม ฆ่าตัวตายมีความซับซ้อนทั้งความกว้างและลึกการรอให้เกิดการกระทาขึ้นก่อนแล้วค่อยบาบัดรักษา โดยไม่ป้องกันตั้งแต่การเริ่มมีแนวคิดทั้งละเลยไม่ช่วยประคับประคองจิตใจของทั้งผู้กระทาและญาติหรือ โยนความผิดให้กับปัญหาสังคมหรือความเจริญซึ่งดูจะใหญ่เกินแก้แต่เพียงอย่างเดียวน่าจะไม่เพียงพออีก แล้วควรที่แพทย์จักร่วมมือกับสังคมป้องกันการลุกลามของกระบวนการนี้ ให้ความรู้คนทั่วไปเสี่ยงอาการ ของโรคซึมเศร้าเพื่อหากลุ่มเสี่ยงสนับสนุนให้สถาบันครอบครัวมีความใกล้ชิดแน่นแฟ้นมากขึ้นเพื่อเป็นที่ พึ่งแก่สมาชิกคนใดคนหนึ่งที่อาจรู้สึกหมดหวัง รูปที่ 4.1 ผลกระทบ 4
  • 10. บทที่ 5 สถิติและวิธีการลดปัญหา 5.1สถิติการฆ่าตัวตาย - ประเทศที่มีการฆ่าตัวตายสูงสุด คือ อันดับ 1 ได้แก่ ประเทศฮังการี โดยมีอัตราการฆ่าตัวตายของ ประชากร คือ 38.6 : 100,000 คน รองลงมาคือ ประเทศศรีลังกาส่วนประเทศไทย อันดับที่ 26 โดยมีอัตรา การฆ่าตัวตายของประชากรคือประมาณ 9 : 100,000 คน โดยประชากรที่ฆ่าตัวตายในปัจจุบันอายุ 15 – 24 ปี มี มากขึ้น - จังหวัดที่มีการฆ่าตัวตายสูงสุดในไทย คือ เชียงใหม่ ลาพูน เชียงราย ระยอง จันทบุรี ประเด็นสาคัญ คือจังหวัดดังกล่าวล้วนแต่เป็นจังหวัดท่องเที่ยงอันอาจมีสาเหตุการฆ่าตัวตายจากโรคเอดส์ - อาการ หรือ สัญลักษณ์อันตรายของผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย คือ มีความคิดอยากฆ่าตัวตาย ต่อเนื่อง 2 อาทิตย์ขึ้นไป มีอาการเตือนคนข้างเคียง มีความคิด ไม่อยากอยู่เพราะทรมาน 5.2การป้องกันการฆ่าตัวตาย 5.2.1การจัดการศึกษา เพื่อให้เยาวชนทั่วไปมีทักษะในการจัดการปัญหาชีวิต ให้ความช่วยเหลือเอื้อเฟื้อแก้กันในยามวิกฤต และมีความพร้อมสาหรับการมีชีวิตครอบครัวเพื่อเป็นแหล่งให้กาลังใจที่สาคัญควรส่งเสริมให้เยาวชนและ ประชาชนทั่วไปมีทัศนคติที่ไม่รังเกียจหรือละอายต่อการใช้บริการทางสุขภาพจิต 5.2.2การควบคุมวิธีการที่ใช้ในการฆ่าตัวตาย ในหลายประเทศพบว่าการควบคุมอุปกรณ์หรือวิธีการที่มีผู้ใช้ฆ่าตัวตายบ่อยจะช่วยลดอัตราการฆ่า ตัวตายลงได้ทั้งนี้อาจเป็นเพราะการฆ่าตัวตายส่วนหนึ่งเป็นการกระทาที่หุนหันพลันแล่น โดยเฉพาะในผู้ที่มี อายุน้อย หรือทาได้เพราะมีวิธีการที่ง่ายและไม่ทรมาน การมีมาตรการป้องกันจึงช่วยลดอัตราการฆ่าตัวตาย 5.2.3จัดบริการปรึกษาปัญหาสุขภาพจิต บริการปรึกษาเพื่อแก้ปัญหาให้กับประชาชนกลุ่มต่างๆในช่วงที่ชีวิตตกอยู่ในภาวะวิกฤตจะช่วยให้ ผู้รับบริการตัดสินใจเลือกทางเดินที่เป็นประโยชน์ต่อตัวเขาในระยะยาวกลุ่มที่ควรได้รับความช่วยเหลือ ได้แก่ 5
  • 11. 5.2.4 การวินิจฉัยและรักษาโรคทางจิตเวชอย่างถูกต้อง ผู้ฆ่าตัวตายสาเร็จส่วนใหญ่มีความเจ็บป่วยทางจิตเวชในขณะที่ฆ่าตัวตาย โดยเฉพาะภาวะซึมเศร้า และติด สุรา จาเป็นต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างถูกต้อง แต่ผู้ป่วยจานวนมากไม่ได้ใช้บริการที่หน่วยบริการ จิตเวช สถานบริการทางสุขภาพทั่วไป จึงต้องมีขีดความสามารถในการวินิจฉัยและรักษาโรคทางจิตเวชได้ อย่างถูกต้อง 5.2.5 การสร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและสังคม การสร้างความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ให้มีความเอื้ออาทรต่อกัน ร่วมใจกันปกป้อง ลูกหลานจาก อิทธิพลของค่านิยมที่ไม่เหมาะสม พัฒนาโรงเรียนให้เอื้อต่อการพัฒนาสุขภาพกายและใจ ช่วย สร้างสังคมให้ สมาชิกไม่รู้สึกโดดเดี่ยวหรือแปลกแยก จะเป็นเกราะป้องกันที่ดีของปัญหาการฆ่าตัวตาย. รูปที่5.1 การป้องกันการฆ่าตัวตาย 6
  • 12. บรรณนานุกรม “ความหมายหรือคาจากัดความของการฆ่าตัวตาย” [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: https://th.wikipedia.org/wiki/. สืบค้น 14 กันยายน 2559. “ปัจจัยเสี่ยงและสาเหตุการฆ่าตัวตาย” [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: http://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=947. สืบค้น 14 กันยายน 2559. “ความเชื่อ” [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: http://www.polsci.chula.ac.th/sumonthip/suicide.htm . สืบค้น 14 กันยายน 2559. “ผลกระทบ” [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: http://guru.sanook.com/4368/ . สืบค้น 14 กันยายน 2559. “วิธีการลดปัญหา” [ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: .http://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=948 สืบ 7
  • 15. - งานย่อย 4 - งานก#1
  • 17. ผู้จัดทา นางสาว สมหญิง งามเลิศศุภร นางสาว นัชชา ห้วยหงส์ทอง เลขที่ 12 ชั้น ม.5/4 เลขที่ 15 ชั้น ม.5/4 นางสาว นุชนาฏ สุดประเสริฐ นางสาว ศุภสุตา อินทรภักดี เลขที่ 34 ชั้น ม.5/4 เลขที่ 36 ชั้น ม.5/4