SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
รายงานผลการทากิจกรรม
กิจกรรมการทดลองที่ 1
เรื่อง “เซลล์พริกกะเหรี่ยง”
ชื่อสมาชิก
กลุ่มที่...........
1................................................................................ชั้น...............เลขที่........
2................................................................................ชั้น...............เลขที่........
3................................................................................ชั้น...............เลขที่........
4................................................................................ชั้น...............เลขที่........
5................................................................................ชั้น...............เลขที่........
จุดประสงค์
1. ศึกษา ทดลอง สังเกตดูเซลล์ส่วนต่างๆ ของพริกกะเหรี่ยง
2. อธิบายลักษณะต่างๆ ของพริกกะเหรี่ยงและการนาพริกกะเหรี่ยงไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
การออกแบบการทดลอง
- ปัญหา เซลล์บริเวณส่วนต่างๆของต้นพริกกะเหรี่ยงมีลักษณะอย่างไร
- สมมติฐาน เซลล์บริเวณส่วนต่างๆของต้นพริกกะเหรี่ยงมีลักษณะแตกต่างกัน
- ตัวแปรต้น เซลล์ส่วนต่างๆ ของต้นพริกกะเหรี่ยง (เซลล์ผิวใบ เซลล์ผิวลาต้น เซลล์ลาต้นตัดตามยาว
และเซลล์ลาต้นตัดตามขวาง)
- ตัวแปรตาม รูปเซลล์ผิวใบ เซลล์ผิวลาต้น เซลล์ลาต้นตัดตามยาวและเซลล์ลาต้นตัดตามขวาง
- ตัวแปรควบคุม กาลังขยายของภาพ
บันทึกผลการทดลอง
ชนิดของเซลล์ วาดภาพก่อนดูเซลล์
ภายใต้กล้องจุลทรรศน์
รูปเซลล์ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ผลการสังเกต
เซลล์ผิวใบ
พริกกะเหรี่ยง
เซลล์ผิวลาต้น
พริกกะเหรี่ยง
บันทึกผลการทดลอง
ชนิดของเซลล์ วาดภาพก่อนดูเซลล์
ภายใต้กล้องจุลทรรศน์
รูปเซลล์ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ผลการสังเกต
เซลล์เนื้อเยื่อ
ลาเลียงน้า
ตัดตามขวาง
เซลล์เนื้อเยื่อ
ลาเลียงน้า
ตัดตามยาว
การอภิปรายและสรุปผลการทดลอง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
กิจกรรมที่ 2 ให้นักเรียนศึกษาสังเกตและข้อมูลของพริกกะเหรี่ยงแล้วบันทึกลงในตาราง
ลักษณะของพริกกะเหรี่ยง ผลการสังเกต
โครงร่างใบ
จานวนใบเลี้ยง
ข้อและปล้อง
ระบบราก
เนื้อเยื่อลาเลียงน้า
กิจกรรมที่ 3 ศึกษาใบความรู้พริกกะเหรี่ยงแล้วบันทึกข้อมูลและตอบคาถามให้ถูกต้อง
ชื่อ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ชื่อสามัญ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ชื่อวิทยาศาสตร์……………………………………………………………………………………………………………………………………
ภาพต้นพริกกะเหรี่ยง
1. จงบอกลักษณะต่างๆของต้นพริกกะเหรี่ยง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2. พริกกะเหรี่ยงมีลักษณะเด่นอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
3. จงบอกประโยชน์และคุณค่าทางอาหารของพริกกะเหรี่ยง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
4. พริกกะเหรี่ยงใช้เป็นยาพื้นบ้านได้อย่างไรบ้าง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ใบความรู้
เรื่อง พริกกะเหรี่ยง (BIRD CHILI)
พริกกะเหรี่ยง
ชาวกะเหรี่ยง หรือปกากะญอ เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทยบนที่สูงกลุ่มหนึ่ง ที่มีบทบาทสาคัญใน การ
ช่วยอนุรักษ์ป่าต้นน้า ความเป็นจริงชาวกะเหรี่ยงได้ชื่อว่าเป็นชาวเขา แต่ก็ไม่ได้อาศัยอยู่บนที่สูง ทั้งหมด
บางส่วนตั้งบ้านเรือนบนที่ราบ เช่นเดียวกับชาวพื้นราบ ส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานใกล้แหล่งน้าหรือต้น น้าลาธาร
ประเทศไทยมีชาวกะเหรี่ยงประมาณ ๑,๙๙๓ หมู่บ้าน รวม ๖๙,๓๕๓ หลังคาเรือน ประชากรมี ทั้งสิ้น
๓๕๒,๒๙๕ คน หรือร้อยละ ๔๖.๘๐ ของประชากรชาวเขาในประเทศไทย ชาวกะเหรี่ยงอาศัย กระจายอยู่ใน
๑๕ จังหวัดของภาคเหนือ และภาคตะวันตก เช่น กาญจนบุรี กาแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก แพร่ น่าน
ราชบุรี ลาปาง และ แม่ฮ่องสอน ชาวกะเหรี่ยงในประเทศไทย มี ๔ กลุ่มย่อย คือ สะกอ หรือยางขาวซึ่งมี
ประชากรมากที่สุด โปหรือโพล่ ปะโอ หรือตองสู และ บะเว หรือคะยาซึ่งอาศัยอยู่ ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน
ชาวกะเหรี่ยง นิยมตั้งถิ่นฐานเป็นหลักแหล่งที่ถาวร ไม่นิยมย้ายถิ่นบ่อย มีภูมิปัญญาในการจัดการ
ทรัพยากรดิน และน้าอย่างดี ชาวกะเหรี่ยงส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานใกล้แหล่งน้าหรือต้นน้าลาธาร เป็นชนเผ่าที่ รัก
ความสันโดษ อยู่อย่างเงียบ ๆ ชอบใช้ชีวิตอยู่กับป่าเขาลาเนาไพร ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทาไร่ และทา นา
ปลูกพืชผักสวนครัวตามฤดูกาล เลี้ยงสัตว์ไว้เพื่อบริโภคมากกว่าค้าขาย ตลอดจนใช้ชีวิตแบบพึ่งป่าพึ่ง น้า และ
อาศัยรวมกันเป็นกลุ่มใหญ่
การทาการเกษตรหลักของชาวกะเหรี่ยง คือ การปลูกข้าวไร่เพื่อใช้บริโภคในครัวเรือน มีรูปแบบ ทั้ง
ปลูกแบบขั้นบันได และการทาไร่หมุนเวียน สาหรับพืชผักสวนครัวจะปลูกร่วมกับข้าวไร่ หรือในสวน หลังบ้าน
วัฒนธรรมของคนกะเหรี่ยงถือว่า บ้านใดมีข้าว มีพริก มีฟืน ไม่ต้องมีเงินก็อยู่ได้ จึงปลูกพริก ไว้ให้พอกิน
ไม่ได้ปลูกเป็นการค้า การปลูกพริกกะเหรี่ยงเกษตรกรจะปลูกแบบพืชไร่ โดยเอาเมล็ดพริกผสม กับเมล็ดพืช
ชนิดอื่น เช่น ผักกาด ฟัก แฟง และแตงกวา แล้วหว่านหลังหยอดเมล็ดข้าวในไร่ไปแล้ว เมื่อ เมล็ดข้าวงอกก็จะ
เป็นร่มเงาให้กล้าผัก และพริกที่หว่านเมล็ดไป ดังนั้นชาวกะเหรี่ยงก็จะได้ผลผลิตฟัก แฟง และแตงกวาสาหรับ
ใช้บริโภค เมื่อเกี่ยวข้าวแล้วพริกกะเหรี่ยงก็จะออกดอก และติดผล แม้ในระยะนี้จะ ไม่มีฝนตกแล้ว แต่พริก
กะเหรี่ยงซึ่งมีรากแก้วก็จะสามารถรอดชีวิตได้
พริกกะเหรี่ยงมีชื่อสามัญBIRD CHILI และชื่อวิทยาศาสตร์ Capsicum frutescens Linn. จัดเป็น
พริกขี้หนูที่นิยมปลูกกัน มากชนิดหนึ่ง โดยปลูกมากในจังหวัดตามแนวชายแดนไทย-พม่า เช่น เพชรบุรี
กาญจนบุรี ตาก และ แม่ฮ่องสอน เป็นพริกพื้นเมืองที่ทนทานต่อสภาพแวดล้อม สามารถปรับตัวได้ดี มีอายุ
เก็บเกี่ยว 7-8 เดือน มีเอกลักษณ์เฉพาะด้านรูปร่าง และสีผิว มีสารแคปไซซินที่ให้ความเผ็ดสูง และมีกลิ่นหอม
เฉพาะตัว ซึ่งเป็น ลักษณะเด่นประจาพันธุ์ ทาให้เป็นที่ต้องการของผู้บริโภค และโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูป
เป็นซอสพริก
ลักษณะเด่น
1. มีความทนทานต่อสภาพแวดล้อม สภาพอากาศ และโรค-แมลง
2. ลาต้นใหญ่ แตกแขนงดี และให้ผลผลิตติดต่อกันเป็นเวลานาน
3. ทาเป็นพริกตากแห้งได้ดี โดยผลสด 3 กิโลกรัมจะตากแห้งได้ 1 -1.3 กิโลกรัม
4. มีความเผ็ด และกลิ่นหอมซึ่งเป็นลักษณะประจาพันธุ์ของพริกกะเหรี่ยง
5. โรงงานทาซอสพริกนิยมนาไปปั่นผสมกับพริกหนุ่มเขียวเพื่อเพิ่มความเผ็ด และความหอม
เป็นไม้ล้มลุก สูง 0.3-1.5 เมตร กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยม ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปไข่ปลายใบแหลม
โคนใบสอบ สีเขียวสด
ดอก เป็นสีขาว ออกเดี่ยวๆ หรือ 3-5 ดอก ออกตามซอกใบและปลายกิ่ง ก้านดอกยาวกลีบเลี้ยงเชื่อม
ติดกัน ปลายเป็นแฉก 5 แฉก และจะคงรูปอยู่จนกระทั่งกลายเป็นผล กลีบดอกโคนเชื่อมกันเป็นหลอด
สั้น ปลายแยกเป็นกลีบดอก 5กลีบ กลีบดอกค่อนข้างบาง ใจกลางดอกมีเกสรตัวผู้สีเหลือง ดอกเมื่อบานเต็มที่
เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 ซม.มีเกสรตัวผู้จานวน 5 อัน
ผล ชูตั้งขึ้น ติดผลเป็นช่อ ช่อละ 3-5 ผล หรืออาจมากกว่านั้น ผลเป็นรูปกลมรีและยาวโคนผลใหญ่
ปลายผลเรียวแหลม ผลโตกว่าผลพริกขี้หนูสวนเห็นชัดเจน ขนาดใหญ่เท่ากับพริกกะเหรี่ยงชนิดที่มีผลเป็นสี
แดง
การเตรียมเมล็ดพันธุ์ และต้นกล้า
1. เลือกต้นพริกที่แข็งแรงสมบูรณ์ ทนทานต่อโรค และแมลง ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี ติด
ผลดก ให้ผลผลิตสูง ผลขนาดใหญ่ และอยู่ในช่วงที่เก็บเกี่ยวผลในรุ่นที่ 2 หรือ 3
2. เก็บผลพริกที่เริ่มสุก หรือสุกสีแดงสด ไม่มีโรคแมลงทาลาย แล้วแกะเมล็ด
3. นาเมล็ดพันธุ์แช่น้าทิ้งไว้ 1 คืน หรือนามาห่อในผ้าขาวบางเก็บไว้ประมาณ 2-3 วัน จนมีตุ่มราก สี
ขาวเล็กซึ่งพร้อมที่จะใช้เพาะเมล็ด
4. เลือกพื้นที่สาหรับเพาะเมล็ด เตรียมดินให้ละเอียดพร้อมผสมปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก สัดส่วน 2:1 แล้ว
คลุกเคล้าให้เข้ากัน
5. โรยเมล็ดพริกที่เตรียมไว้เป็นแถวห่างกันประมาณ 3 นิ้ว กลบด้วยหน้าดินหนาประมาณ 1 ซม.
6. หลังเพาะแล้ว 7-10 วันเมล็ดจะเริ่มงอก รดน้าให้ชุ่มสม่าเสมอ
7. เมื่อต้นกล้ามีใบจริงประมาณ 3-4 คู่หรือมีอายุประมาณ 30 วัน จึงย้ายปลูกในแปลงได้
การปลูก
1. การปลูกในสภาพไร่จะหยอดเมล็ดในไร่ หลุมละ 5-10 เมล็ด ใช้ระยะปลูก 80X80 เซนติเมตร
และหากปลูกแซมข้าวไร่จะใช้ระยะปลูกตามความต้องการ และสภาพพื้นที่เป็นหลัก
2. การปลูกด้วยต้นกล้าจะรองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก อัตรา 800-1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ใช้ระยะปลูก
80X80 เซนติเมตร หรือ 2,500-3,000 ต้นต่อไร่ สามารถปลูกเป็นพืชแซมกับพืชชนิดอื่นได้
3. การปลูกเพื่อจาหน่ายควรเป็นพื้นที่ที่สามารถให้น้าได้ และเป็นที่ดอนน้าไม่ท่วมขัง โดยเริ่มเพาะ
กล้าพริกตั้งแต่เดือนกันยายนหรือเดือนตุลาคม แล้วย้ายปลูกโดยใช้ระยะปลูก 80X80 เซนติเมตรหรือ จานวน
2,500-3,000 ต้นต่อไร่ เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิตได้หลังปลูกแล้วประมาณ 90 วันซึ่งเป็นช่วงฤดูแล้ง ทาให้พริกเริ่มมี
ราคาแพงเนื่องจากผลผลิตพริกที่ปลูกในสภาพไร่หมด และพริกสดขาดแคลน เกษตรกร สามารถขายพริกสดได้
ราคา 50-80 บาทต่อกิโลกรัม และเก็บเกี่ยวตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป
การดูแลรักษา
1. ส่วนใหญ่ไม่มีการให้น้าอาศัยน้าฝนธรรมชาติ
2. ช่วงปลูกที่เหมาะสม คือ เดือนพฤษภาคม และมิถุนายน
3. การกาจัดวัชพืชโดยใช้แรงงานคน และไม่ใช้สารเคมีกาจัดวัชพืช
4. ไม่นิยมใส่ปุ๋ยเคมีเนื่องจากเชื่อว่าจะทาให้ความหอมที่เป็นลักษณะพิเศษเฉพาะตัวลดลง
5. ป้องกันกาจัดศัตรูพืชที่สาคัญ
5.1 โรครากเน่าโคนเน่า และโรคกุ้งแห้ง ป้องกันกาจัดโดยคัดเมล็ดพันธุ์ที่ปราศจากโรคก่อนปลูก และ
ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์ม่ารองก้นหลุมก่อนปลูก
5.2 เพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน และเพลี้ยแป้ง ทาให้ใบหงิกงอ ใบม้วนผิดปกติ ระบาดในช่วงแล้ง ป้องกัน
กาจัดโดยใช้น้าหมักสมุนไพรพ่นทุก 5-7 วันหรือใช้เชื้อราบิวเบอร์รี่
การเก็บผลผลิต
พริกกะเหรี่ยงเริ่มทยอยเก็บผลผลิตได้หลังปลูกประมาณ 60 วัน โดยเลือกเก็บผลที่มีสีแดงสด สาหรับ
ใช้แปรรูปเป็นซอสพริก ให้ผลผลิตพริกสด 400-500 กิโลกรัมต่อไร่
การจาหน่าย
1. จาหน่ายเป็นพริกสด ซึ่งราคาขึ้นอยู่กับคุณภาพและปริมาณพริก ราคาจาหน่ายพริกสด 80-150
บาท ทาให้ชาวกะเหรี่ยงมีรายได้ประมาณ 10,000-15,000 บาทต่อไร่
2. จาหน่ายเป็นพริกแห้ง ซึ่งจะได้ราคาที่สูงกว่าพริกชนิดอื่น โดยพริกสด 400-500 กิโลกรัมตากเป็น
พริก แห้ง 80-100 กิโลกรัม หรือสัดส่วน 5 : 1
การใช้เป็นยาพื้นบ้านของชาวกะเหรี่ยง
1. แก้ปวดหัวเนื่องมาจากไข้หวัด หรือตัวร้อน ใช้ใบพริกสดตากับดินสอพองปิดขมับ
2. แก้เจ็บคอเสียงแหบ ใช้พริกป่น ๑ หยิบมือเติมน้าเดือด ๑ แก้ว ทิ้งไว้พออุ่น และใช้น้ากลั้วคอ
3. ช่วยขับลม แก้อาหารไม่ย่อย เจริญอาหาร รักษากระเพาะที่ไม่มีกาลังย่อยอาหาร
4. แก้พิษปลาดุก ใช้พริกเขียวหรือแดงก็ได้ ขยี้ตรงที่ปลาดุกแทง จะไม่บวมไม่ฟกช้า
5. แก้บวม ใช้ใบพริก บดผสมน้ามะนาว แล้วพอกบริเวณที่บวม
6. รักษาแผลสด และแผลเปื่อย ใช้ใบตาพอกรักษาแผลสด และแผล ห้ามใช้ปิดแผลมากเกินไป
7. แก้พิษตะขาบและแมลงป่องกัด ใช้พริกแห้งตาผงละลายน้ามะนาว และทาแผล
8. มดคันไฟกัด ใช้ใบหรือดอกขยี้ และถูบริเวณที่ถูกกัด
นอกจากนี้ชาวกะเหรียงยังมีความเชื่อว่าพริกกะเหรี่ยงมีสรรพคุณ เช่น มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย มีผล
ต่อระดับไขมันในเลือด มีผลต่อการจับตัวของเกล็ดเลือด มีผลต่อระบบไหลเวียนโลหิต มีผลต่อการละลาย ลิ่ม
เลือด มีผลต่อการขยายตัวของหลอดเลือด และมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงน้าตาลในเลือด
ภาพ ผลผลิตพริกกระเหรี่ยง และการตากให้แห้งหลังเก็บเกี่ยว
ภาพ ผลิตภัณฑ์จากการแปรรูปพริกกระเหรี่ยง
เซลล์ลาต้นพริกกะเหรี่ยงตัดตามขวาง เซลล์ลาต้นพริกกะเหรี่ยงตัดตามยาว
เซลล์ผิวลาต้นพริกกะเหรี่ยง เซลล์ผิวใบพริกกะเหรี่ยง

More Related Content

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

การทดลองพริกกะเหรี่ยง

  • 1. รายงานผลการทากิจกรรม กิจกรรมการทดลองที่ 1 เรื่อง “เซลล์พริกกะเหรี่ยง” ชื่อสมาชิก กลุ่มที่........... 1................................................................................ชั้น...............เลขที่........ 2................................................................................ชั้น...............เลขที่........ 3................................................................................ชั้น...............เลขที่........ 4................................................................................ชั้น...............เลขที่........ 5................................................................................ชั้น...............เลขที่........ จุดประสงค์ 1. ศึกษา ทดลอง สังเกตดูเซลล์ส่วนต่างๆ ของพริกกะเหรี่ยง 2. อธิบายลักษณะต่างๆ ของพริกกะเหรี่ยงและการนาพริกกะเหรี่ยงไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
  • 2. การออกแบบการทดลอง - ปัญหา เซลล์บริเวณส่วนต่างๆของต้นพริกกะเหรี่ยงมีลักษณะอย่างไร - สมมติฐาน เซลล์บริเวณส่วนต่างๆของต้นพริกกะเหรี่ยงมีลักษณะแตกต่างกัน - ตัวแปรต้น เซลล์ส่วนต่างๆ ของต้นพริกกะเหรี่ยง (เซลล์ผิวใบ เซลล์ผิวลาต้น เซลล์ลาต้นตัดตามยาว และเซลล์ลาต้นตัดตามขวาง) - ตัวแปรตาม รูปเซลล์ผิวใบ เซลล์ผิวลาต้น เซลล์ลาต้นตัดตามยาวและเซลล์ลาต้นตัดตามขวาง - ตัวแปรควบคุม กาลังขยายของภาพ บันทึกผลการทดลอง ชนิดของเซลล์ วาดภาพก่อนดูเซลล์ ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ รูปเซลล์ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ผลการสังเกต เซลล์ผิวใบ พริกกะเหรี่ยง เซลล์ผิวลาต้น พริกกะเหรี่ยง
  • 3. บันทึกผลการทดลอง ชนิดของเซลล์ วาดภาพก่อนดูเซลล์ ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ รูปเซลล์ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ผลการสังเกต เซลล์เนื้อเยื่อ ลาเลียงน้า ตัดตามขวาง เซลล์เนื้อเยื่อ ลาเลียงน้า ตัดตามยาว การอภิปรายและสรุปผลการทดลอง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................
  • 4. กิจกรรมที่ 2 ให้นักเรียนศึกษาสังเกตและข้อมูลของพริกกะเหรี่ยงแล้วบันทึกลงในตาราง ลักษณะของพริกกะเหรี่ยง ผลการสังเกต โครงร่างใบ จานวนใบเลี้ยง ข้อและปล้อง ระบบราก เนื้อเยื่อลาเลียงน้า กิจกรรมที่ 3 ศึกษาใบความรู้พริกกะเหรี่ยงแล้วบันทึกข้อมูลและตอบคาถามให้ถูกต้อง ชื่อ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ชื่อสามัญ…………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ชื่อวิทยาศาสตร์…………………………………………………………………………………………………………………………………… ภาพต้นพริกกะเหรี่ยง
  • 5. 1. จงบอกลักษณะต่างๆของต้นพริกกะเหรี่ยง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. พริกกะเหรี่ยงมีลักษณะเด่นอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 3. จงบอกประโยชน์และคุณค่าทางอาหารของพริกกะเหรี่ยง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 4. พริกกะเหรี่ยงใช้เป็นยาพื้นบ้านได้อย่างไรบ้าง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
  • 6. ใบความรู้ เรื่อง พริกกะเหรี่ยง (BIRD CHILI) พริกกะเหรี่ยง ชาวกะเหรี่ยง หรือปกากะญอ เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทยบนที่สูงกลุ่มหนึ่ง ที่มีบทบาทสาคัญใน การ ช่วยอนุรักษ์ป่าต้นน้า ความเป็นจริงชาวกะเหรี่ยงได้ชื่อว่าเป็นชาวเขา แต่ก็ไม่ได้อาศัยอยู่บนที่สูง ทั้งหมด บางส่วนตั้งบ้านเรือนบนที่ราบ เช่นเดียวกับชาวพื้นราบ ส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานใกล้แหล่งน้าหรือต้น น้าลาธาร ประเทศไทยมีชาวกะเหรี่ยงประมาณ ๑,๙๙๓ หมู่บ้าน รวม ๖๙,๓๕๓ หลังคาเรือน ประชากรมี ทั้งสิ้น ๓๕๒,๒๙๕ คน หรือร้อยละ ๔๖.๘๐ ของประชากรชาวเขาในประเทศไทย ชาวกะเหรี่ยงอาศัย กระจายอยู่ใน ๑๕ จังหวัดของภาคเหนือ และภาคตะวันตก เช่น กาญจนบุรี กาแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก แพร่ น่าน ราชบุรี ลาปาง และ แม่ฮ่องสอน ชาวกะเหรี่ยงในประเทศไทย มี ๔ กลุ่มย่อย คือ สะกอ หรือยางขาวซึ่งมี ประชากรมากที่สุด โปหรือโพล่ ปะโอ หรือตองสู และ บะเว หรือคะยาซึ่งอาศัยอยู่ ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ชาวกะเหรี่ยง นิยมตั้งถิ่นฐานเป็นหลักแหล่งที่ถาวร ไม่นิยมย้ายถิ่นบ่อย มีภูมิปัญญาในการจัดการ ทรัพยากรดิน และน้าอย่างดี ชาวกะเหรี่ยงส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานใกล้แหล่งน้าหรือต้นน้าลาธาร เป็นชนเผ่าที่ รัก ความสันโดษ อยู่อย่างเงียบ ๆ ชอบใช้ชีวิตอยู่กับป่าเขาลาเนาไพร ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทาไร่ และทา นา ปลูกพืชผักสวนครัวตามฤดูกาล เลี้ยงสัตว์ไว้เพื่อบริโภคมากกว่าค้าขาย ตลอดจนใช้ชีวิตแบบพึ่งป่าพึ่ง น้า และ อาศัยรวมกันเป็นกลุ่มใหญ่ การทาการเกษตรหลักของชาวกะเหรี่ยง คือ การปลูกข้าวไร่เพื่อใช้บริโภคในครัวเรือน มีรูปแบบ ทั้ง ปลูกแบบขั้นบันได และการทาไร่หมุนเวียน สาหรับพืชผักสวนครัวจะปลูกร่วมกับข้าวไร่ หรือในสวน หลังบ้าน วัฒนธรรมของคนกะเหรี่ยงถือว่า บ้านใดมีข้าว มีพริก มีฟืน ไม่ต้องมีเงินก็อยู่ได้ จึงปลูกพริก ไว้ให้พอกิน ไม่ได้ปลูกเป็นการค้า การปลูกพริกกะเหรี่ยงเกษตรกรจะปลูกแบบพืชไร่ โดยเอาเมล็ดพริกผสม กับเมล็ดพืช ชนิดอื่น เช่น ผักกาด ฟัก แฟง และแตงกวา แล้วหว่านหลังหยอดเมล็ดข้าวในไร่ไปแล้ว เมื่อ เมล็ดข้าวงอกก็จะ เป็นร่มเงาให้กล้าผัก และพริกที่หว่านเมล็ดไป ดังนั้นชาวกะเหรี่ยงก็จะได้ผลผลิตฟัก แฟง และแตงกวาสาหรับ ใช้บริโภค เมื่อเกี่ยวข้าวแล้วพริกกะเหรี่ยงก็จะออกดอก และติดผล แม้ในระยะนี้จะ ไม่มีฝนตกแล้ว แต่พริก กะเหรี่ยงซึ่งมีรากแก้วก็จะสามารถรอดชีวิตได้
  • 7. พริกกะเหรี่ยงมีชื่อสามัญBIRD CHILI และชื่อวิทยาศาสตร์ Capsicum frutescens Linn. จัดเป็น พริกขี้หนูที่นิยมปลูกกัน มากชนิดหนึ่ง โดยปลูกมากในจังหวัดตามแนวชายแดนไทย-พม่า เช่น เพชรบุรี กาญจนบุรี ตาก และ แม่ฮ่องสอน เป็นพริกพื้นเมืองที่ทนทานต่อสภาพแวดล้อม สามารถปรับตัวได้ดี มีอายุ เก็บเกี่ยว 7-8 เดือน มีเอกลักษณ์เฉพาะด้านรูปร่าง และสีผิว มีสารแคปไซซินที่ให้ความเผ็ดสูง และมีกลิ่นหอม เฉพาะตัว ซึ่งเป็น ลักษณะเด่นประจาพันธุ์ ทาให้เป็นที่ต้องการของผู้บริโภค และโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูป เป็นซอสพริก ลักษณะเด่น 1. มีความทนทานต่อสภาพแวดล้อม สภาพอากาศ และโรค-แมลง 2. ลาต้นใหญ่ แตกแขนงดี และให้ผลผลิตติดต่อกันเป็นเวลานาน 3. ทาเป็นพริกตากแห้งได้ดี โดยผลสด 3 กิโลกรัมจะตากแห้งได้ 1 -1.3 กิโลกรัม 4. มีความเผ็ด และกลิ่นหอมซึ่งเป็นลักษณะประจาพันธุ์ของพริกกะเหรี่ยง 5. โรงงานทาซอสพริกนิยมนาไปปั่นผสมกับพริกหนุ่มเขียวเพื่อเพิ่มความเผ็ด และความหอม เป็นไม้ล้มลุก สูง 0.3-1.5 เมตร กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยม ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปไข่ปลายใบแหลม โคนใบสอบ สีเขียวสด ดอก เป็นสีขาว ออกเดี่ยวๆ หรือ 3-5 ดอก ออกตามซอกใบและปลายกิ่ง ก้านดอกยาวกลีบเลี้ยงเชื่อม ติดกัน ปลายเป็นแฉก 5 แฉก และจะคงรูปอยู่จนกระทั่งกลายเป็นผล กลีบดอกโคนเชื่อมกันเป็นหลอด สั้น ปลายแยกเป็นกลีบดอก 5กลีบ กลีบดอกค่อนข้างบาง ใจกลางดอกมีเกสรตัวผู้สีเหลือง ดอกเมื่อบานเต็มที่ เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 ซม.มีเกสรตัวผู้จานวน 5 อัน ผล ชูตั้งขึ้น ติดผลเป็นช่อ ช่อละ 3-5 ผล หรืออาจมากกว่านั้น ผลเป็นรูปกลมรีและยาวโคนผลใหญ่ ปลายผลเรียวแหลม ผลโตกว่าผลพริกขี้หนูสวนเห็นชัดเจน ขนาดใหญ่เท่ากับพริกกะเหรี่ยงชนิดที่มีผลเป็นสี แดง การเตรียมเมล็ดพันธุ์ และต้นกล้า 1. เลือกต้นพริกที่แข็งแรงสมบูรณ์ ทนทานต่อโรค และแมลง ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี ติด ผลดก ให้ผลผลิตสูง ผลขนาดใหญ่ และอยู่ในช่วงที่เก็บเกี่ยวผลในรุ่นที่ 2 หรือ 3 2. เก็บผลพริกที่เริ่มสุก หรือสุกสีแดงสด ไม่มีโรคแมลงทาลาย แล้วแกะเมล็ด 3. นาเมล็ดพันธุ์แช่น้าทิ้งไว้ 1 คืน หรือนามาห่อในผ้าขาวบางเก็บไว้ประมาณ 2-3 วัน จนมีตุ่มราก สี ขาวเล็กซึ่งพร้อมที่จะใช้เพาะเมล็ด 4. เลือกพื้นที่สาหรับเพาะเมล็ด เตรียมดินให้ละเอียดพร้อมผสมปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก สัดส่วน 2:1 แล้ว คลุกเคล้าให้เข้ากัน 5. โรยเมล็ดพริกที่เตรียมไว้เป็นแถวห่างกันประมาณ 3 นิ้ว กลบด้วยหน้าดินหนาประมาณ 1 ซม. 6. หลังเพาะแล้ว 7-10 วันเมล็ดจะเริ่มงอก รดน้าให้ชุ่มสม่าเสมอ 7. เมื่อต้นกล้ามีใบจริงประมาณ 3-4 คู่หรือมีอายุประมาณ 30 วัน จึงย้ายปลูกในแปลงได้ การปลูก 1. การปลูกในสภาพไร่จะหยอดเมล็ดในไร่ หลุมละ 5-10 เมล็ด ใช้ระยะปลูก 80X80 เซนติเมตร และหากปลูกแซมข้าวไร่จะใช้ระยะปลูกตามความต้องการ และสภาพพื้นที่เป็นหลัก
  • 8. 2. การปลูกด้วยต้นกล้าจะรองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก อัตรา 800-1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ใช้ระยะปลูก 80X80 เซนติเมตร หรือ 2,500-3,000 ต้นต่อไร่ สามารถปลูกเป็นพืชแซมกับพืชชนิดอื่นได้ 3. การปลูกเพื่อจาหน่ายควรเป็นพื้นที่ที่สามารถให้น้าได้ และเป็นที่ดอนน้าไม่ท่วมขัง โดยเริ่มเพาะ กล้าพริกตั้งแต่เดือนกันยายนหรือเดือนตุลาคม แล้วย้ายปลูกโดยใช้ระยะปลูก 80X80 เซนติเมตรหรือ จานวน 2,500-3,000 ต้นต่อไร่ เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิตได้หลังปลูกแล้วประมาณ 90 วันซึ่งเป็นช่วงฤดูแล้ง ทาให้พริกเริ่มมี ราคาแพงเนื่องจากผลผลิตพริกที่ปลูกในสภาพไร่หมด และพริกสดขาดแคลน เกษตรกร สามารถขายพริกสดได้ ราคา 50-80 บาทต่อกิโลกรัม และเก็บเกี่ยวตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป การดูแลรักษา 1. ส่วนใหญ่ไม่มีการให้น้าอาศัยน้าฝนธรรมชาติ 2. ช่วงปลูกที่เหมาะสม คือ เดือนพฤษภาคม และมิถุนายน 3. การกาจัดวัชพืชโดยใช้แรงงานคน และไม่ใช้สารเคมีกาจัดวัชพืช 4. ไม่นิยมใส่ปุ๋ยเคมีเนื่องจากเชื่อว่าจะทาให้ความหอมที่เป็นลักษณะพิเศษเฉพาะตัวลดลง 5. ป้องกันกาจัดศัตรูพืชที่สาคัญ 5.1 โรครากเน่าโคนเน่า และโรคกุ้งแห้ง ป้องกันกาจัดโดยคัดเมล็ดพันธุ์ที่ปราศจากโรคก่อนปลูก และ ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์ม่ารองก้นหลุมก่อนปลูก 5.2 เพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน และเพลี้ยแป้ง ทาให้ใบหงิกงอ ใบม้วนผิดปกติ ระบาดในช่วงแล้ง ป้องกัน กาจัดโดยใช้น้าหมักสมุนไพรพ่นทุก 5-7 วันหรือใช้เชื้อราบิวเบอร์รี่ การเก็บผลผลิต พริกกะเหรี่ยงเริ่มทยอยเก็บผลผลิตได้หลังปลูกประมาณ 60 วัน โดยเลือกเก็บผลที่มีสีแดงสด สาหรับ ใช้แปรรูปเป็นซอสพริก ให้ผลผลิตพริกสด 400-500 กิโลกรัมต่อไร่ การจาหน่าย 1. จาหน่ายเป็นพริกสด ซึ่งราคาขึ้นอยู่กับคุณภาพและปริมาณพริก ราคาจาหน่ายพริกสด 80-150 บาท ทาให้ชาวกะเหรี่ยงมีรายได้ประมาณ 10,000-15,000 บาทต่อไร่ 2. จาหน่ายเป็นพริกแห้ง ซึ่งจะได้ราคาที่สูงกว่าพริกชนิดอื่น โดยพริกสด 400-500 กิโลกรัมตากเป็น พริก แห้ง 80-100 กิโลกรัม หรือสัดส่วน 5 : 1
  • 9. การใช้เป็นยาพื้นบ้านของชาวกะเหรี่ยง 1. แก้ปวดหัวเนื่องมาจากไข้หวัด หรือตัวร้อน ใช้ใบพริกสดตากับดินสอพองปิดขมับ 2. แก้เจ็บคอเสียงแหบ ใช้พริกป่น ๑ หยิบมือเติมน้าเดือด ๑ แก้ว ทิ้งไว้พออุ่น และใช้น้ากลั้วคอ 3. ช่วยขับลม แก้อาหารไม่ย่อย เจริญอาหาร รักษากระเพาะที่ไม่มีกาลังย่อยอาหาร 4. แก้พิษปลาดุก ใช้พริกเขียวหรือแดงก็ได้ ขยี้ตรงที่ปลาดุกแทง จะไม่บวมไม่ฟกช้า 5. แก้บวม ใช้ใบพริก บดผสมน้ามะนาว แล้วพอกบริเวณที่บวม 6. รักษาแผลสด และแผลเปื่อย ใช้ใบตาพอกรักษาแผลสด และแผล ห้ามใช้ปิดแผลมากเกินไป 7. แก้พิษตะขาบและแมลงป่องกัด ใช้พริกแห้งตาผงละลายน้ามะนาว และทาแผล 8. มดคันไฟกัด ใช้ใบหรือดอกขยี้ และถูบริเวณที่ถูกกัด นอกจากนี้ชาวกะเหรียงยังมีความเชื่อว่าพริกกะเหรี่ยงมีสรรพคุณ เช่น มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย มีผล ต่อระดับไขมันในเลือด มีผลต่อการจับตัวของเกล็ดเลือด มีผลต่อระบบไหลเวียนโลหิต มีผลต่อการละลาย ลิ่ม เลือด มีผลต่อการขยายตัวของหลอดเลือด และมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงน้าตาลในเลือด ภาพ ผลผลิตพริกกระเหรี่ยง และการตากให้แห้งหลังเก็บเกี่ยว ภาพ ผลิตภัณฑ์จากการแปรรูปพริกกระเหรี่ยง
  • 10.
  • 11.
  • 12.