SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
Download to read offline
nextMENU
back NEXT
HOME NEXT
HOME NEXTback
"ข้าว" เป็นธัญญาหารหลักของคนไทยและของโลก จัดเป็นพืชสายพันธุ์เดียวกับหญ้าซึ่งนับได้ว่า เป็นหญ้าที่มีขนาด
ใหญ่ที่สุดในโลกและมีความหลากหลายทางชีวภาพซึ่งประเทศผู้ส่งออกที่สาคัญหลายประเทศแต่หนึ่งในนั้นคือ ประเทศ
ไทยด้วยความที่ไทยนั้นมีการบริโภคข้าวเป็นหลักและอาชีพส่วนใหญ่เป็นการเกษตรจึงส่งผลให้ประเทศไทยสามารถ
ส่งออกข้าวมากเป็นอันดับหนึ่งของโลกได้เป็นเวลานานถึง 20 ปีติดต่อกัน
แต่ในปัจจุบันการดาเนินชีวิตของคนไทยเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงไปซึ่งส่งผลกระทบต่อธรรมชาติมากมาย
อาทิ การตัดไม้ทาลายป่า การทาอุตสาหกรรมที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม การทิ้งสิ่งปฏิกูลลงในแม่น้า
ลาธาร และการเผาป่า ซึ่งการกระทาเหล่านี้ล้วนแล้วแต่มีผลกระทบทั้งทางตรงทางอ้อมทั้งสิ้นในปีการศึกษา 2554
ประเทศไทยได้ประสบปัญหาน้าท่วมครั้งใหญ่และมีแนวโน้มมากขึ้นทุกทีทาให้พืชผลทางการเกษตรเสียหายเป็นจานวน
มากหนึ่งในนั้นคือ ข้าว ทางคณะผู้จัดทาโครงงานจึงมีแนวคิดที่จะสร้างแผงทดลองปลูกข้าวที่สามารถลอยในน้าเพื่อ
แก้ไขเกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตรที่เกี่ยวกับข้าวโดยบูรณาการวิชาฟิสิกส์เรื่องแรงลอยตัวและหลักของอาร์คิมิดิสเข้า
ในการออกแบบแผงทดลองปลูกข้าวที่ที่สามารถลอยน้าได้ในเวลาน้าท่วมทั้งนี้เพื่อลดความเสียหายของผลผลิตที่จะ
เกิดขึ้นในอนาคต
unit1
HOME NEXTback
- เพื่อศึกษาการปลูกข้าวในบริเวณน้าท่วมซ้าซาก และ พื้นที่ที่มีที่ดินในการทา
การเกษตรเกี่ยวกับข้าวได้น้อย
- เพื่อลดผลกระทบผลผลิตทางการเกษตร(ข้าว)แก่ชาวนาที่ปลูกข้าวในฤดูฝน(ช่วง
น้าท่วม)
- เพื่อเพิ่มแนวทางให้แก่เกษตรกรและเพิ่มพื้นที่ในการทาการเกษตร(ปลูกข้าว)
unit1
HOME NEXTback
- ข้าวสามารถปลูกในน้าและสามารถให้ผลผลิตไม่ต่างจากการปลูกในดิน
- วัตถุใด ๆ ที่จมอยู่ในของไหลทั้งก้อน หรือจมอยู่เพียงบ้างส่วนจะถูกแรงลอยตัว
กระทา และ ขนาดของแรงลอยตัวนั้นจะมีค่าเท่ากับขนาดของน้าหนักของของไหล
ที่วัตถุนั้นแทนที่
- ข้าวสามารถลอยในน้าได้โดยใช้หลักการคานวณตามหลักของอาร์คิมิดิส
- แรงขึ้น เท่ากับ แรงลง หรือ 𝐹 = 0
- แรงลอยตัวของ𝐹𝐵 = 𝑚𝑔 ; 𝐹𝐵 เท่ากับ ρ𝑣𝑔 และ 𝑚 เท่ากับρ𝑣
unit1
HOME NEXTback
- น้าท่วมทาให้ข้าวผลผลิตทางการเกษตร(ข้าว)เสียหาย
1. ตัวแปรต้น → จานวนเมล็ดข้าวที่ใช้ในการปลูก , ปุ๋ ย (ปุ๋ ยเคมี, ปุ๋ ยอินทรีย์)
2. ตัวแปรตาม → ผลผลิตของต้นข้าว
3. ตัวแปรควบคุม → ชนิดของพันธุ์ข้าว , ปริมาณปุ๋ ย , ปริมาณของดินที่ใช้ในการปลูก......
ขนาดของแผงทดลองปลูกข้าว
unit1
HOME NEXTback
- ศึกษาเรื่อง การปลูกข้าว และชนิดของข้าว
- ศึกษาเรื่อง แรงลอยตัว
- ศึกษาผลกระทบของน้าท่วมที่ส่งผลต่อผลผลิต(ข้าว)
- ศึกษาการปลูกข้าวจากหัวหน้าเกษตรชุมชนทรายมูล ต.ทรายมูล อ.
แม่ริม จ.เชียงใหม่
unit1
HOME NEXTback
- สามารถช่วยแก้ไขปัญหาในการปลูกข้าวในพื้นที่น้าท่วมซ้าซ้อน
- สามารถเพิ่มแนวทางให้เกษตรกรในการปลูกข้าว
- สามารถปลูกข้าวในที่น้าท่วมได้ หรือ ในพื้นที่ที่ไม่มีที่ดินในการปลูกข้าว
unit1
HOME NEXTback
- ได้กระบวนการคิดและการทางานอย่างเป็นระบบบน
พื้นฐานของการวิเคราะห์เชิงบูรณาการทางวิทยาศาสตร์
- ได้ฝึกการทางานเป็นกลุ่ม
- สามารถเพิ่มแนวทางให้แก่เกษตรกรที่ประสบปัญหาได้
unit1
HOME NEXTback
- โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ตั้งอยู่เลขที่ ๒๓๔ ถนนพระปกเกล้า ตาบล
ศรีภูมิ อาเภอเมือง
จังหวัดเชียงใหม่
- 82 หมู่ 8 ต.ริมใต้ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 50180
- 15 มีนาคม พุทธศักราช 2558 - 15 กรกฎาคม พุทธศักราช 2558
unit1
HOME NEXTback
HOME NEXTbackUnit 2
การทานาดา
เป็นวิธีการทานาที่มีการนาเมล็ดข้าวไปเพาะในแปลงที่เตรียมไว้ (แปลงกล้า) ให้งอก
เป็นต้นกล้า แล้วถอนต้นกล้าไปปักดาในกระทงนาที่เตรียมไว้ และมีการดูแลรักษาจนให้ผล
ผลิต การทานาดานิยมในพื้นที่ที่มีแรงงานเพียงพอ
การทานาดา มีขั้นตอนดังต่อไปนี้
การเตรียมดิน
การเตรียมดินสาหรับการทานา ต้องคานึงถึงสภาพแวดล้อม เช่น น้า ภูมิอากาศ
ลักษณะพื้นที่ ตลอดจนแบบวิธีการทานา และเครื่องมือการเตรียมดินที่แตกต่างกัน
HOME NEXTbackUnit 2
การเตรียมดินแยกได้เป็น 2 ขั้นตอนคือ
1. การไถดะ และไถแปร
การไถดะ คือ การไถพลิกหน้าดินครั้งแรกเพื่อกาจัดวัชพืช และตากดินให้แห้ง
การไถแปร คือการไถครั้งที่สองโดยไถขวางแนวไถดะเพื่อย่อยดินและคลุกเคล้าฟาง
วัชพืชฯลฯ ลงไปในดิน
การไถ ไถด้วยแรงงานสัตว์ เช่น วัว ควาย รถไถเดินตาม รถแทรกเตอร์
2. การคราดหรือใช้ลูกทุบ คือการกาจัดวัชพืช ตลอดจนการทาให้ดินแตกตัว และเป็น
เทือกพร้อมที่จะปักดาได้ ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ทาต่อจากขั้นตอนที่ 1 และขังน้าไว้ระยะ
หนึ่ง เพื่อให้มีสภาพดินที่เหมาะสมในการคราด การใช้ลูกทุบหรือเครื่องไถพรวนจอบหมุน
(Rotary)
HOME NEXTbackUnit 2
1. ควรปล่อยให้ดินนามีโอกาสแห้งสนิท เป็นระยะเวลานานพอสมควร และถ้า
สามารถไถพลิกดินล่างขึ้นมาตากให้แห้งได้ก็จะดียิ่งขึ้น ถ้าดินเปียกน้าติดต่อกันโดยไม่
มีโอกาสแห้ง จะเกิดการสะสมของสารพิษ เช่นแก๊สไข่เน่า (ไฮโดรเจนซัลไฟด์) และกรด
อินทรีย์ เป็นต้น ซึ่งถ้าสารเหล่านี้มีปริมาณมากก็จะเป็นอันตรายต่อรากข้าวได้
2. ควรมีการหมักฟาง หญ้ารวมทั้งอินทรียวัตถุเพื่อให้สลายตัวสมบูรณ์ ประมาณ 2
สัปดาห์ หลังการไถเตรียมดิน เพื่อให้ ดินปรับตัวอยู่ในสภาพที่เหมาะสมต่อการ
เจริญเติบโตของข้าว และสามารถปลดปล่อยธาตุอาหารที่จาเป็นออกมาให้แก่ต้นข้าว
HOME NEXTbackUnit 2
3. ดินกรดจัดหรือดินเปรี้ยวจัด มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างต่า (pH ต่ากว่า4.0)
ควรขังน้าไว้อย่างน้อย 1 เดือน ก่อนปักดาข้าว เพื่อให้ปฏิกิริยาต่างๆ ตลอดจน
ความเป็นกรดของดินลดลงสู่สภาวะปกติ และค่อนข้างเป็นกลางเสียก่อน ดิน
กลุ่มนี้ถ้ามีการขังน้าตลอดปี หรือมีการทานาปีละ 2 ครั้ง ก็จะเป็นการลดสภาวะ
ความเป็นกรดของดิน และการเกิดสารพิษลงได้ ซึ่งจะทาให้ผลผลิตของข้าวสูงขึ้น
HOME NEXTbackUnit 2
การเตรียมต้นกล้าให้ได้ต้นที่แข็งแรง เมื่อนาไปปักดาก็จะได้ข้าวที่เจริญเติบโตได้
รวดเร็ว และมีโอกาสให้ผลผลิตสูง ต้นกล้าที่แข็งแรงดีต้องมีการเจริญเติบโตและ
ความสูงสม่าเสมอทั้งแปลง มีกาบใบสั้น มีรากมากและรากขนาดใหญ่ ไม่มีโรค
และแมลงทาลาย
- การเตรียมเมล็ดพันธุ์ ต้องเป็นเมล็ดพันธุ์ที่บริสุทธ์ ปราศจากสิ่งเจือปน มี
เปอร์เซ็นต์ความงอกสูง (ไม่ต่ากว่า 80 เปอร์เซ็นต์) ปราศจากการทาลายของโรค
และแมลง
HOME NEXTbackUnit 2
- การแช่และหุ้มเมล็ดพันธุ์ นาเมล็ดข้าวที่ได้เตรียมไว้บรรจุในภาชนะเช่นตะกร้าไม้
ไผ่สาน กระสอบป่านหรือ ถุงผ้า ไปแช่ในน้าสะอาด นานประมาณ 12-24 ชั่วโมง
จากนั้นนาเมล็ดพันธุ์ขึ้นมาวางบนพื้นที่น้าไม่ขัง และมีการถ่ายเทอากาศดี นา
กระสอบป่านชุบน้าจนชุ่มมาหุ้มเมล็ดพันธุ์โดยรอบ รดน้าทุกเช้าและเย็น เพื่อรักษา
ความชุ่มชื้น หุ้มเมล็ดพันธุ์ไว้นานประมาณ 30-48 ชั่วโมง เมล็ดข้าวจะงอกขนาด
“ตุ่มตา” (มียอดและรากเล็กน้อยโดยรากจะยาวกว่ายอด) พร้อมที่จะนาไปหว่านได้
ในการหุ้มเมล็ดพันธุ์นั้น ควรวางเมล็ดพันธุ์ไว้ในที่ร่ม ไม่ถูกแสงแดดโดยตรง และ
ขนาดของกองเมล็ดพันธุ์ต้องไม่โตมากเกินไป หรือบรรจุถุงขนาดใหญ่เกินไป เพื่อ
ไม่ให้เกิดความร้อนสูงในกองหรือถุงข้าว เพราะถ้าอุณหภูมิสูงเกินไปเมล็ดพันธุ์ข้าว
จะตาย ถ้าอุณหภูมิพอเหมาะข้าวจะงอกเร็ว และสม่าเสมอกันตลอดทั้งกอง
HOME NEXTbackUnit 2
- การตกกล้า การตกกล้ามีหลายวิธีการ ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและวัตถุประสงค์
เช่น การตกกล้าบนดินเปียก (ทาเทือก) การตกกล้าบนดินแห้ง และการตกกล้าใช้กับ
เครื่องปักดาข้าว
การตกกล้าในสภาพเปียก หรือการตกกล้าเทือก เป็นวิธีที่ชาวนาคุ้นเคยกันดี การ
ตกกล้าแบบนี้จะต้องมีน้าหล่อเลี้ยงอยู่เสมอ การดูแลรักษาไม่ยุ่งยากและความ
สูญเสียจากการทาลายของศัตรูข้าวมีน้อย มีขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้
- การเตรียมดิน ปฏิบัติเช่นเดียวกับแปลงปักดา แต่เพิ่มความพิถีพิถันมากขั้น ใน
การเก็บกาจัดวัชพืช และปรับระดับเทือกให้ราบเรียบสม่าเสมอ
HOME NEXTbackUnit 2
- การเพาะเมล็ดพันธุ์ ปฏิบัติตามขั้นตอนของการเตรียมเมล็ดพันธุ์ การแช่และหุ้ม
เมล็ดพันธุ์ โดยใช้อัตราเมล็ดพันธุ์ 50-60 กรัมต่อตารางเมตร หรือประมาณ 80-90
กิโลกรัมต่อไร่ จะได้กล้าสาหรับปักดาได้ประมาณ 15-20 ไร่
- การหว่านเมล็ดพันธุ์ ปล่อยน้าแปลงกล้าให้แห้ง ทาเทือกให้ราบเรียบสม่าเสมอ
นาเมล็ดพันธุ์ที่เพาะงอกดีแล้วมาหว่านให้กระจายสม่าเสมอตลอดแปลง ควรหว่าน
เมล็ดพันธุ์ตอนบ่ายหรือตอนเย็น เพื่อหลีกเลี่ยงแสงแดดตอนเที่ยงซึ่งมีความร้อนแรง
มาก อาจทาให้เมล็ดข้าวตายได้
HOME NEXTbackUnit 2
- การให้น้า ถ้าตกกล้าไม่มากนัก หลังจากหว่านเมล็ดพันธุ์แล้วหนึ่งวัน สาดน้ารดให้
กระจายทั่วแปลง ประมาณ 3-5 วัน กล้าจะสูงพอที่ไขน้าเข้าท่วมแปลงได้ แต่ถ้าตก
กล้ามาก ไม่สามารถที่จะสาดน้ารดได้ ให้ปล่อยน้าหล่อเลี้ยงระหว่างแปลงย่อย
ประมาณ 3-5 วัน เมื่อต้นกล้าสูงจึงไขน้าเข้าท่วมแปลง และค่อยเพิ่มระดับขึ้นเรื่อยๆ
ตามความสูงของต้นกล้าจนน้าท่วมผิวดินตลอด ให้หล่อเลี้ยงไว้ในระดับลึกประมาณ
5-10 เซนติเมตร จนกว่าจะถอนกล้าไปปักดา
- การใส่ปุ๋ ยเคมี ถ้าดินแปลงกล้ามีความอุดมสมบูรณ์สูง กล้างามดีก็ไม่จาเป็นต้อง
ใส่ปุ๋ ย เพราะจะงามเกินไป ใบจะยาว ต้นอ่อน ทาให้ถอนแล้วต้นขาดง่ายและตั้งตัวได้
ช้าเมื่อนาไปปักดา แต่ถ้าดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่า ให้ใส่ปุ๋ ยเคมีแอมโมเนียมฟอสเฟต
(16-20-0) อัตราประมาณ 25-40 กิโลกรัมต่อไร่ โดยใส่หลังหว่านเมล็ดพันธุ์แล้ว
ประมาณ 7 วัน หรือเมื่อสามารถไขน้าเข้าท่วมแปลงได้แล้ว (ดูรายละเอียดในเรื่องการ
ใส่ปุ๋ ยแปลงกล้า)
HOME NEXTbackUnit 2
- การดูแลรักษา ใช้สารป้ องกันกาจัดโรคแมลงศัตรูข้าวตามความจาเป็น
การตกกล้าในสภาพดินแห้ง การตกกล้าโดยวิธีนี้ควรกระทาเมื่อฝนไม่ตก
ตามปกติ และไม่มีน้าเพียงพอที่จะทาเทือกเพื่อตกกล้าได้ แต่มีน้าพอที่จะใช้รด
แปลงกล้าได้ มีวิธีการปฏิบัติดังนี้
- การเตรียมดิน เลือกแปลงที่ดอนน้าไม่ท่วม มีการระบายน้าดี อยู่ใกล้แหล่ง
น้าที่จะนามารดแปลง ทาการไถดะตากดินให้แห้ง แล้วไถแปร คราดดินให้แตก
ละเอียด เก็บวัชพืชออก ปรับระดับดินให้ราบเรียบ
HOME NEXTbackUnit 2
- การตกกล้า ทาได้ 4 แบบคือ
1) การหว่านข้าวแห้ง หว่านเมล็ดพันธุ์ลงในแปลงโดยตรง โดยไม่ต้องเพาะ
เมล็ดให้งอกก่อน ใช้อัตราเมล็ดพันธุ์เช่นเดียวกับการตกกล้าเทือก คือประมาณ
80-90 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วคราดกลบเมล็ดพันธุ์ให้จมดินพอประมาณ อย่าให้จม
มาก เพราะจะทาให้เมล็ดงอกช้าและโคนกล้าอยู่ลึกทาให้ถอนยาก
HOME NEXTbackUnit 2
2) การหว่านข้าวงอก เพาะเมล็ดให้งอกขนาดตุ่มตา (วิธีการเพาะเช่นเดียวกับการตก
กล้าเทือก) อัตราเมล็ดพันธุ์เช่นเดียวกับการหว่านข้าวแห้ง ควรหว่านตอนบ่ายหรือ
เย็น หว่านแล้วคราดกลบและรดน้าให้ชุ่มทันทีหลังการหว่าน
HOME NEXTbackUnit 2
3) การตกกล้าแบบกระทุ้งหยอดข้าวแห้ง หรือวิธีการซิมกล้า เป็นวิธีการที่เหมาะสมกับ
สภาพนาดอนอาศัยน้าฝน โดยการไถพรวนดินให้ดินร่วน เพื่อกาจัดวัชพืชและสะดวกต่อ
การงอกของเมล็ด จากนั้นใช้ไม้กระทุ้งหยอดเมล็ดลงหลุม แล้วใช้ดินหรือขี้เถ้าแกลบ
กลบเมล็ดเพื่อป้ องกันสัตว์เลี้ยงหรือแมลง มาคุ้ยเขี่ย หลังจากนั้นจึงถอนกล้าจากแปลง
กล้านี้ไปปักดาในแปลงปักดา ซึ่งคิดเป็นอัตราเมล็ดพันธุ์ที่ใช้ในการปักดาต่อพื้นที่ 1 ไร่
ต้องใช้เมล็ดพันธุ์ประมาณ 12-15 กิโลกรัมต่อไร่
HOME NEXTbackUnit 2
4) การตกกล้าสาหรับใช้กับเครื่องปักดา เนื่องจากเครื่องปักดาข้าวมีหลากหลายยี่ห้อ
และมีกรรมวิธีรายละเอียดแตกต่างกัน การตกกล้าเพื่อใช้กับเครื่องเหล่านี้ส่วนใหญ่จะ
มีคาแนะนามาพร้อมเครื่อง
HOME NEXTbackUnit 2
การปักดาควรทาเป็นแถวเป็นแนวซึ่งจะทาให้ง่ายต่อการกาจัดวัชพืช การใส่ปุ๋ ย การพ่น
ยากาจัดโรคแมลง และยังทาให้ข้าวแต่ละกอมีโอกาสได้รับอาหารและแสงแดดอย่าง
สม่าเสมอกัน
สาหรับระยะปักดานั้นขึ้นกับชนิดและพันธุ์ข้าว ดังนี้
- พันธุ์ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสงหรือข้าวนาปรัง เช่นพันธุ์ สุพรรณบุรี1 ชัยนาท1 พิษณุโลก
2 สันป่าตอง 1 ควรใช้ระยะปักดาระหว่างแถวและระหว่างกอ 20x20 เซนติเมตร หรือ
20x25 เซนติเมตร
- พันธุ์ข้าวไวต่อช่วงแสงหรือข้าวนาปี เช่น เหลืองประทิว123 ขาวดอกมะลิ105 กข15
กข6 ปทุมธานี60 ควรใช้ระยะปักดา 25x25 เซนติเมตร
HOME NEXTbackUnit 2
- ปักดาจับละ 3-5 ต้น ปักดาลึกประมาณ 3-5 เซนติเมตร จะทาให้ข้าวแตกกอใหม่ได้
เต็มที่
การปักดาลึกจะทาให้ข้าวตั้งตัวได้ช้าและแตกกอได้น้อย ไม่ควรตัดใบกล้าเพราะการ
ตัดใบกล้าจะทาให้เกิดแผลที่ใบ จะทาให้โรคเข้าทาลายได้ง่าย ควรตัดใบกรณีที่จาเป็น
จริงๆ เช่น ใช้กล้าอายุมาก มีใบยาว ต้นสูง หรือมีลมแรง เมื่อปักดาแล้วจะทาให้ต้นข้าว
ล้ม
อายุกล้า การใช้กล้าอายุที่เหมาะสม จะทาให้ข้าวตั้งตัวเร็ว แตกกอได้มาก และให้ผล
ผลิตสูง อายุกล้าที่เหมาะสมสาหรับปักดา ขึ้นอยู่กับชนิดและพันธุ์ข้าวดังนี้
- พันธุ์ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสงหรือข้าวนาปรัง เช่นพันธุ์ สุพรรณบุรี1 ชัยนาท1 พิษณุโลก
2 ควรใช้กล้าที่มีอายุประมาณ 20-25 วัน
HOME NEXTbackUnit 2
- พันธุ์ข้าวไวต่อช่วงแสงหรือข้าวนาปี เช่น เหลืองประทิว123 ขาวดอกมะลิ105 กข15
กข6 ปทุมธานี60 ควรใช้กล้าที่มีอายุประมาณ 25-30 วัน
ระดับน้าในการปักดา ควรมีระดับน้าในนาน้อยที่สุด เพียงแค่คลุมผิวดิน เพื่อ
ป้ องกันวัชพืชและประคองต้นข้าวไว้ไม่ให้ล้ม การควบคุมระดับน้าหลังปักดาก็เป็น
สิ่งจาเป็นอย่างยิ่ง เพราะระดับน้าลึกจะทาให้ต้นข้าวแตกกอน้อย ซึ่งจะทาให้ผลผลิต
ต่า ควรควบคุมให้อยู่ในระดับลึกประมาณ 1 ฝ่ามือ (10 เซนติเมตร)
HOME NEXTback
HOME NEXTbackUnit 3
ในการจัดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง “แผงทดลองปลูกข้าวลอยน้า” ได้ศึกษา
ความรู้ในการจัดทาโครงงานผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบ “โครงงาน
วิทยาศาสตร์” โดยมีหลักว่า การศึกษาเพื่อพบองค์ความรู้ใหม่ สิ่งประดิษฐ์ใหม่
ๆ ทางวิทยาศาสตร์ด้วยตัวของผู้เรียนเองโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการ
แก้ปัญหานอกจากนี้ยังบูรณาการเข้ากับวิชาคอมพิวเตอร์ในการนาเสนอ
HOME NEXTbackUnit 3
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นกาหนดปัญหาที่จะศึกษา
ปัญหาที่พบ
- ผลผลิตทางการเกษตร(ข้าว)เสียหายเป็นจานวนมาก
- มีพื้นที่ในการปลูกข้าวน้อย หรือ ไม่มีที่ในการเพาะปลูกข้าว
สาเหตุของปัญหา
- เป็นพื้นที่ที่น้าท่วมซ้าซาก
- ไม่มีพื้นดินในการทาการเกษตร(ปลูกข้าว)
HOME NEXTbackUnit 3
ขั้นตอนที่ 2 ขั้นวางแผน
- ผู้จัดทาโครงงานจึงได้รวมตัวกันเพื่อที่จะแก้ปัญหาในจุดนี้จึงเกิด
เป็นโครงงาน “แผงปลูกข้าวลอยน้า” ขึ้นเพื่อเพิ่มแนวทางให้แก่เกษตรกรและ
เพิ่มพื้นที่ในการปลูกข้าวและแก้ไขปัญหาพื้นที่ที่น้าท่วมซ้าซาก
HOME NEXTbackUnit 3
- FILA model
- PDCA
F-Fact ข้อมูล ข้อเท็จจริง เช่น ข้อมูล
เกี่ยวกับผลผลิตของข้าวที่เสียหายจาก
วิกฤตการณ์น้าท่วม , วิธีการปลูกข้าว
I - idea แนวคิด การพัฒนาในสิ่งที่เป็น
ข้อมูลเชิงบวก และการหาแนว
ทางแก้ไขในสิ่งที่เป็นเชิงลบ เช่น การ
คิดวิธีที่จะปลูกข้าวในน้า
HOME NEXTbackUnit 3
L- Learning Issue กระบวนการ
เรียนรู้การกาหนดกระบวนการเรียนรู้
เรียนรู้ในสิ่งที่ต้องการทา และกาหนด
หน้าที่ในการค้นหาข้อมูลที่ถูกต้อง
และลึกซึ้งถึงแกนความรู้
A – Action การกระทา กาหนด
กิจกรรมขั้นตอนการดาเนินกิจกรรม
การมีส่วนร่วมและวางแผนการทางาน
ด้วยกระบวนการ PDCA
ขั้นวางแผนการทางานที่มุ่งสู่ความสาเร็จด้วยกระบวนการ PDCA
ในการวางแผนการดาเนินงานทางผู้จัดทาโครงงานจะต้องมีแผนในการดาเนินงาน
ซึ่งทางคณะผู้จัดทาจะต้องฝึกคิด ฝึกทา ฝึกวางแผน ฝึกเขียนโครงการและแผนการ
ดาเนินงาน หลังจากที่มีแผนการทางานและโครงการแล้ว ซึ่งมีวิธีดังนี้
HOME NEXTbackUnit 3
แผนการดาเนินการ
ศึกษาเรื่องข้าว เช่น วิธีการปลูกข้าว ,ปัจจัยที่เกี่ยวกับการปลูก(ดินฟ้ า อากาศ น้า) และ
ผลผลิต
- ศึกษาเรื่องแรงลอยตัวและกฎของอาร์คิมิดิส
- ศึกษาและออกแบบอุปกรณ์ในการทาแผงทดลองปลูกข้าว
- การนาต้นข้าวมาปลูกนั้นจะต้องน้าข้าวไปแช่น้า 1 – 2 วันก่อนและนาไป
ปลูกในกระบะเพาะจนต้นข้าวสูงประมาณ 30 - 45 เซนติเมตร(ต้นกล้า) จากนั้นนาไป
ปลูกในแผงลอยน้าที่เตรียมไว้ โดยมีการสังเกตการเปลี่ยนแปลงทุกๆ 2 สัปดาห์
HOME NEXTbackUnit 3
ลาดับที่ รายการ จานวน หน่วย
1. พลาสติกแข็ง 1 แผ่น
1. วงเวียน 1 อัน
1. ไม้บรรทัด 1 อัน
1. กรรไกร 1 ด้าม
1. ขวดน้าขนาด 600 มิลิลิตร 4 ขวด
1. ดินเหนียว 1 กิโลกรัม
1. ต้นข้าว(ต้นกล้า) 4 ต้น
1. ขวดน้าขนาด 1 ลิตร 4 ขวด
HOME NEXTbackUnit 3
ขั้นตอน รูปภาพประกอบ วิธีการประดิษฐ์
1. - นาพลาสติกแข็งมาวัดขนาด กว้าง
30 เซฯติเมตร ยาว 30 เซนติเมตร
- เจาะรูที่แผ่นพลาสติกขนาดเท่ากับ
เส้นผ่านศูนย์กลางของขวดน้า
ขนาด 600 มิลิลิตร
HOME NEXTbackUnit 3
ขั้นตอน รูปภาพประกอบ วิธีการประดิษฐ์
2. - ตัดขวดน้าขนาด 600 มิลลิลิตรเอา
เฉพาะส่วนหัวที่ติดกับฝาขวดโดยให้
ความสูงจากฝา 9 เซนติเมตร
HOME NEXTbackUnit 3
ขั้นตอน รูปภาพประกอบ วิธีการประดิษฐ์
3. - นาขวดน้าขนาด 1 ลิตรจานวน 4
ขวด ไปติดไว้ตรงฐานด้านล่างเพื่อ
เป็นทุ่นเพื่อให้แผงทดลองลอยน้าได้
- นาขวดน้าที่ตัดเสร็จแล้วไปใส่ในรูที่
เจาะไว้
ขั้นตอน รูปภาพประกอบ วิธีการประดิษฐ์
4. - นาดินเหนียวที่เตรียมสาหรับ
การปลูกใส่ลงไปในรูที่เตรียมไว้
HOME NEXTbackUnit 3
ขั้นตอน รูปภาพประกอบ วิธีการประดิษฐ์
1. - จากนั้นนาไปลอยน้าเพื่อทดสอบ
HOME NEXTbackUnit 3
HOME NEXTback
ผลการดาเนินงาน
จากการทดลอง “แผงทดลองปลูกข้าวลอยน้า”โดยนาต้นกล้าที่เพาะเป็นเวลา 1
เดือน มาปลูกและให้ปุ๋ ย 1 เดือนต่อ 1ครั้งโดยทดลองจากการปริมาณการให้
ปุ๋ ยเคมี และปุ๋ ยอินทรีย์ซึ่งผลการทดลองเป็นไปตามตารางที่ 3 ผลการทดลองจาก
การปลูกข้าวในแผงทดลองปลูกข้าวลอยน้า
HOME NEXTbackUnit 4
สัปดาห์ ลักษณะของต้นข้าว
ความสูงเฉลี่ย (ซม.) จานวนเฉลี่ย(ต้น) การเปลี่ยนแปลง
1 30.00 2 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ต้นข้าวสูง 30.00 เซนติเมตร ให้ปุ๋ ยเป็นครั้งแรก
3 45.66 2 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 15.66 เซนติเมตร
5 65.55 3 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 19.89 เซนติเมตร และมีการแตกหน่อเพิ่มจาก 2 ต้นเป็น 3 ต้น
ให้ปุ๋ ยเป็นครั้งที่ 2
7 89.33 3 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 23.78 เซนติเมตร
9 115.50 5 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 26.17 เซนติเมตร และมีการแตกหน่อเพิ่มจาก 3 ต้นเป็น 5 ต้น
ข้าวเริ่มมีรวงสีเขียว
11 125.60 5 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 10.10 เซนติเมตร และลาต้นเปลี่ยนลักษณะจากแบนเป็นต้น
กลม ข้าวมีรวงสีเขียว ให้ปุ๋ ยเป็นครั้งที่ 3
13 135.60 5 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 10.00 และลาต้นเปลี่ยนลักษณะจากแบนเป็นต้นกลม ข้าวมีรวง
สีเขียวอ่อน
15 135.60 5 ต้นข้าวมีความสูงเท่าเดิม และลาต้นเป็นต้นกลม ข้าวมีรวงสีเขียวอ่อนออกเหลือง
17 135.60 5 ต้นข้าวมีความสูงเท่าเดิม และลาต้นเป็นต้นกลม ข้าวมีรวงสีเขียวอ่อนออกเหลือง
19 135.60 5 ต้นข้าวมีความสูงเท่าเดิม และลาต้นเป็นต้นกลม ข้าวมีรวงสีเหลือง
21 135.60 5 ต้นข้าวมีความสูงเท่าเดิม และลาต้นเป็นต้นกลม ข้าวมีรวงสีเหลืองออกทอง
23 135.60 5 ต้นข้าวมีความสูงเท่าเดิม และลาต้นเป็นต้นกลม ข้าวมีรวงสีเหลืองทอง
ผลการทดลองจากการปลูกข้าวในแผงทดลองปลูกข้าวลอยน้า ในหลุมที่ 1และ 2 ปุ๋ ยอินทรีย์
HOME NEXTbackUnit 4
สัปดาห์ ลักษณะของต้นข้าว
ความสูง (ซม.) จานวนต้น(ต้น) การเปลี่ยนแปลง
1 30.00 2 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ต้นข้าวสูง 30.00 เซนติเมตร ให้ปุ๋ ยเป็นครั้งแรก
3 45.00 2 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 15.00 เซนติเมตร
5 70.55 3 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 25.55 เซนติเมตร และมีการแตกหน่อเพิ่มจาก 2 ต้นเป็น 3 ต้น ให้ปุ๋ ยเป็น
ครั้งที่ 2
7 90.73 3 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 20.18 เซนติเมตร
9 110.76 5 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 20.03 เซนติเมตร และมีการแตกหน่อเพิ่มจาก 3 ต้นเป็น 5 ต้น ข้าวเริ่มมี
รวงสีเขียว
11 135.36 5 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 24.60 เซนติเมตร และลาต้นเปลี่ยนลักษณะจากแบนเป็นต้นกลม ข้าวมี
รวงสีเขียว ให้ปุ๋ ยเป็นครั้งที่ 3
13 140.89 5 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 5.53 และลาต้นเปลี่ยนลักษณะจากแบนเป็นต้นกลม ข้าวมีรวงสีเขียวอ่อน
15 140.89 5 ต้นข้าวมีความสูงเท่าเดิม และลาต้นเป็นต้นกลม ข้าวมีรวงสีเขียวอ่อนออกเหลือง
17 140.89 5 ต้นข้าวมีความสูงเท่าเดิม และลาต้นเป็นต้นกลม ข้าวมีรวงสีเขียวอ่อนออกเหลือง
19 140.89 5 ต้นข้าวมีความสูงเท่าเดิม และลาต้นเป็นต้นกลม ข้าวมีรวงสีเหลือง
21 140.89 5 ต้นข้าวมีความสูงเท่าเดิม และลาต้นเป็นต้นกลม ข้าวมีรวงสีเหลืองออกทอง
23 140.89 5 ต้นข้าวมีความสูงเท่าเดิม และลาต้นเป็นต้นกลม ข้าวมีรวงสีเหลืองทอง
ผลการทดลองจากการปลูกข้าวในแผงทดลองปลูกข้าวลอยน้า ในหลุมที่ 3และ 4 ปุ๋ ยเคมี
HOME NEXTbackUnit 4
ตารางเปรียบเทียบผลการทดลองจากการปลูกข้าวในแผงทดลองปลูกข้าวลอยน้าระหว่างปุ๋ ยอินทรีย์และปุ๋ ยเคมี
สัป
ดา
ห์
ลักษณะของต้นข้าว
ปุ๋ ยอินทรีย์ ปุ๋ ยเคมี
ความสูง
เฉลี่ย
(ซม.)
จานวนต้น
เฉลี่ย
(ต้น)
การเปลี่ยนแปลง ความสูง
เฉลี่ย
(ซม.)
จานวนต้น
เฉลี่ย
(ต้น)
การเปลี่ยนแปลง
1 30.00 2 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ต้นข้าวสูง
30.00 เซนติเมตร ให้ปุ๋ ยเป็นครั้งแรก
30.00 2 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ต้นข้าวสูง 30.00
เซนติเมตร ให้ปุ๋ ยเป็นครั้งแรก
3 45.66 2 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 15.66
เซนติเมตร
45.00 2 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 15.00 เซนติเมตร
5 65.55 3 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 19.89
เซนติเมตร และมีการแตกหน่อเพิ่ม
จาก 2 ต้นเป็น 3 ต้น ให้ปุ๋ ยเป็นครั้งที่
2
70.55 3 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 25.55 เซนติเมตร และมี
การแตกหน่อเพิ่มจาก 2 ต้นเป็น 3 ต้น ให้ปุ๋ ยเป็น
ครั้งที่ 2
7 89.33 3 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 23.78
เซนติเมตร
90.73 3 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 20.18 เซนติเมตร
9 115.50 5 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 26.17
เซนติเมตร และมีการแตกหน่อเพิ่ม
จาก 3 ต้นเป็น 5 ต้น ข้าวเริ่มมีรวงสี
เขียว
110.76 5 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 20.03 เซนติเมตร และมี
การแตกหน่อเพิ่มจาก 3 ต้นเป็น 5 ต้น ข้าวเริ่มมี
รวงสีเขียว
HOME NEXTbackUnit 4
สรุปผลการทดลองได้ว่าข้าวสามารถปลูกในน้าได้และสามารถให้ผลผลิตใกล้เคียง
กับการปลูกบนดินแต่ขึ้นอยู่กับการให้ปุ๋ ยถ้าให้ปุ๋ ยต้นข้าวจะเจริญเติบโตและแตก
หนอได้ดีการให้ปุ๋ ยเคมีให้ผลผลิตมากกว่าการให้ปุ๋ ยอินทรีย์ และความสูงของข้าวที่
ให้ปุ๋ ยเคมีสูงกว่าที่ให้ปุ๋ ยอินทรีย์ร้อยละ 3.90 ซึ่งผลมีความใกล้เคียงมากแต่ดินของ
ต้นข้าวที่ใส่ปุ๋ ยอินทรีย์นั้นมีความสมบูรณ์กว่าดินที่ใช้ปุ๋ ยเคมีและไม่ต้องเสียเวลา
เสียเงินในการบารุงดินแบบการปลูกข้าวที่ให้ปุ๋ ยเคมี
HOME NEXTbackUnit 4
HOME NEXTbackUnit 5
จากการดาเนินงานในการทาโครงงาน “แผงทดลองปลูกข้าวลอยน้า”ผลสรุปเป็นไปตามเป้ าหมายที่ได้ตั้งไว้
1. สามารถช่วยแก้ไขปัญหาในการปลูกข้าวในพื้นที่น้าท่วมซ้าซ้อน
2. สามารถเพิ่มแนวทางให้เกษตรกรในการปลูกข้าว
3. สามารถปลูกข้าวในที่น้าท่วมได้ หรือ ในพื้นที่ที่ไม่มีที่ดินในการปลูกข้าว
ข้าวสามารถปลุกในน้าได้และสามารถให้ผลผลิตใกล้เคียงกับการปลุกบนดินแต่ขึ้นอยู่กับการให้ปุ๋ ยถ้าให้
ปุ๋ ยต้นข้าวจะเจริญเติบโตและแตกหนอได้ดีการให้ปุ๋ ยเคมีให้ผลผลิตมากกว่าการให้ปุ๋ ยอินทรีย์และความสูง
ของต้นข้าวที่ใส่ปุ๋ ยนั้นสูงช้ากว่าที่ให้ปุ๋ ยเคมีร้อยละ 3.90 ซึ่งผลมีความใกล้เคียงมากแต่ดินของต้นข้าวที่ใส่ปุ๋ ย
อินทรีย์นั้นมีความสมบูรณ์กว่าดินที่ใช้ปุ๋ ยเคมีและไม่ต้องเสียเวลา เสียเงินในการบารุงดินแบบการปลูกข้าวที่
ให้ปุ๋ ยเคมี
HOME NEXTbackUnit 5
จากการประดิษฐ์แผงปลูกข้าวลอยน้า เราสามารถใช้งานได้จริง สะดวกและมีความ
ปลอดภัย อีกทั้งยังประหยัดต้นทุนในการปลูกข้าวอีกด้วยและยังเป็นแนวทางแก้ไข
ในพื้นที่ที่น้าท่วมซ้าซากหรือพื้นที่ที่มีที่ดินในการปลูกข้าวน้อย
HOME NEXTbackUnit 5
1. เป็นแนวความคิดที่สามารถให้ผู้อื่นหรือเกษตรกรนาไปต่อยอดได้
2. เป็นสิ่งประดิษฐ์การช่วยลดความเสียหายของผลผลิต(ข้าว)ในพื้นที่ที่น้าท่วม
ซ้าซาก
3. เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ช่วยลดต้นทุนให้แก่เกษตรกรที่ปลูกข้าว
4. เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่สามารถช่วยเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกรได้
HOME NEXTbackUnit 5
1. ควรปลูกข้าวให้มากกว่านี้
2. ควรใช้ข้าวให้มีความหลากหลายพันธุ์
3. ควรทาหลักยึดแผงปลูกข้าวโดยสามารถลอยขึ้นลงได้เมื่อระดับ
น้าเกิดการเปลี่ยนแปลง
HOME NEXTbackUnit 5
ภาพที่ 1
ขั้นวางแผนและออกแบบอุปกรณ์
HOME NEXTbackUnit 5
ภาพที่ 2
นาต้นกล้าไปลอยน้า
HOME NEXTbackUnit 5
ภาพที่ 3
ต้นข้าวออกรวง(ตั้งท้อง)
HOME NEXTbackUnit 5
1.http://www.arda.or.th/kasetinfo/rice/rice-
cultivate&fertiliset/rice-
cultivate_manage_nadam.html
2.https://sites.google.com/site/sciroom2310
1/page4-1
3.http://www.thaiarcheep.com
HOME back

More Related Content

More from Sivagon Soontong

โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sivagon Soontong
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1Sivagon Soontong
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1Sivagon Soontong
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์Sivagon Soontong
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1Sivagon Soontong
 

More from Sivagon Soontong (20)

2558 project01
2558 project01 2558 project01
2558 project01
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Key gatpat-oct-53
Key gatpat-oct-53Key gatpat-oct-53
Key gatpat-oct-53
 
(GAT/PAT-3/2553)85 gat
(GAT/PAT-3/2553)85 gat(GAT/PAT-3/2553)85 gat
(GAT/PAT-3/2553)85 gat
 
(GAT/PAT-3/2553)82 pat7.6
(GAT/PAT-3/2553)82 pat7.6(GAT/PAT-3/2553)82 pat7.6
(GAT/PAT-3/2553)82 pat7.6
 
(GAT/PAT-3/2553)80 pat7.4
(GAT/PAT-3/2553)80 pat7.4(GAT/PAT-3/2553)80 pat7.4
(GAT/PAT-3/2553)80 pat7.4
 
(GAT/PAT-3/2553)76 pat6
(GAT/PAT-3/2553)76 pat6(GAT/PAT-3/2553)76 pat6
(GAT/PAT-3/2553)76 pat6
 
(GAT/PAT-3/2553)75 pat5
(GAT/PAT-3/2553)75 pat5(GAT/PAT-3/2553)75 pat5
(GAT/PAT-3/2553)75 pat5
 
(GAT/PAT-3/2553)74 pat4
(GAT/PAT-3/2553)74 pat4(GAT/PAT-3/2553)74 pat4
(GAT/PAT-3/2553)74 pat4
 
(GAT/PAT-3/2553)73 pat3
(GAT/PAT-3/2553)73 pat3(GAT/PAT-3/2553)73 pat3
(GAT/PAT-3/2553)73 pat3
 
(GAT/PAT-3/2553)72 pat2
(GAT/PAT-3/2553)72 pat2(GAT/PAT-3/2553)72 pat2
(GAT/PAT-3/2553)72 pat2
 
(GAT/PAT-3/2553)71 pat1
(GAT/PAT-3/2553)71 pat1(GAT/PAT-3/2553)71 pat1
(GAT/PAT-3/2553)71 pat1
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
[Key]ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
 

งานคอม (แผงปลูกข้าวลอยน้ำ)

  • 4. HOME NEXTback "ข้าว" เป็นธัญญาหารหลักของคนไทยและของโลก จัดเป็นพืชสายพันธุ์เดียวกับหญ้าซึ่งนับได้ว่า เป็นหญ้าที่มีขนาด ใหญ่ที่สุดในโลกและมีความหลากหลายทางชีวภาพซึ่งประเทศผู้ส่งออกที่สาคัญหลายประเทศแต่หนึ่งในนั้นคือ ประเทศ ไทยด้วยความที่ไทยนั้นมีการบริโภคข้าวเป็นหลักและอาชีพส่วนใหญ่เป็นการเกษตรจึงส่งผลให้ประเทศไทยสามารถ ส่งออกข้าวมากเป็นอันดับหนึ่งของโลกได้เป็นเวลานานถึง 20 ปีติดต่อกัน แต่ในปัจจุบันการดาเนินชีวิตของคนไทยเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงไปซึ่งส่งผลกระทบต่อธรรมชาติมากมาย อาทิ การตัดไม้ทาลายป่า การทาอุตสาหกรรมที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม การทิ้งสิ่งปฏิกูลลงในแม่น้า ลาธาร และการเผาป่า ซึ่งการกระทาเหล่านี้ล้วนแล้วแต่มีผลกระทบทั้งทางตรงทางอ้อมทั้งสิ้นในปีการศึกษา 2554 ประเทศไทยได้ประสบปัญหาน้าท่วมครั้งใหญ่และมีแนวโน้มมากขึ้นทุกทีทาให้พืชผลทางการเกษตรเสียหายเป็นจานวน มากหนึ่งในนั้นคือ ข้าว ทางคณะผู้จัดทาโครงงานจึงมีแนวคิดที่จะสร้างแผงทดลองปลูกข้าวที่สามารถลอยในน้าเพื่อ แก้ไขเกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตรที่เกี่ยวกับข้าวโดยบูรณาการวิชาฟิสิกส์เรื่องแรงลอยตัวและหลักของอาร์คิมิดิสเข้า ในการออกแบบแผงทดลองปลูกข้าวที่ที่สามารถลอยน้าได้ในเวลาน้าท่วมทั้งนี้เพื่อลดความเสียหายของผลผลิตที่จะ เกิดขึ้นในอนาคต unit1
  • 5. HOME NEXTback - เพื่อศึกษาการปลูกข้าวในบริเวณน้าท่วมซ้าซาก และ พื้นที่ที่มีที่ดินในการทา การเกษตรเกี่ยวกับข้าวได้น้อย - เพื่อลดผลกระทบผลผลิตทางการเกษตร(ข้าว)แก่ชาวนาที่ปลูกข้าวในฤดูฝน(ช่วง น้าท่วม) - เพื่อเพิ่มแนวทางให้แก่เกษตรกรและเพิ่มพื้นที่ในการทาการเกษตร(ปลูกข้าว) unit1
  • 6. HOME NEXTback - ข้าวสามารถปลูกในน้าและสามารถให้ผลผลิตไม่ต่างจากการปลูกในดิน - วัตถุใด ๆ ที่จมอยู่ในของไหลทั้งก้อน หรือจมอยู่เพียงบ้างส่วนจะถูกแรงลอยตัว กระทา และ ขนาดของแรงลอยตัวนั้นจะมีค่าเท่ากับขนาดของน้าหนักของของไหล ที่วัตถุนั้นแทนที่ - ข้าวสามารถลอยในน้าได้โดยใช้หลักการคานวณตามหลักของอาร์คิมิดิส - แรงขึ้น เท่ากับ แรงลง หรือ 𝐹 = 0 - แรงลอยตัวของ𝐹𝐵 = 𝑚𝑔 ; 𝐹𝐵 เท่ากับ ρ𝑣𝑔 และ 𝑚 เท่ากับρ𝑣 unit1
  • 7. HOME NEXTback - น้าท่วมทาให้ข้าวผลผลิตทางการเกษตร(ข้าว)เสียหาย 1. ตัวแปรต้น → จานวนเมล็ดข้าวที่ใช้ในการปลูก , ปุ๋ ย (ปุ๋ ยเคมี, ปุ๋ ยอินทรีย์) 2. ตัวแปรตาม → ผลผลิตของต้นข้าว 3. ตัวแปรควบคุม → ชนิดของพันธุ์ข้าว , ปริมาณปุ๋ ย , ปริมาณของดินที่ใช้ในการปลูก...... ขนาดของแผงทดลองปลูกข้าว unit1
  • 8. HOME NEXTback - ศึกษาเรื่อง การปลูกข้าว และชนิดของข้าว - ศึกษาเรื่อง แรงลอยตัว - ศึกษาผลกระทบของน้าท่วมที่ส่งผลต่อผลผลิต(ข้าว) - ศึกษาการปลูกข้าวจากหัวหน้าเกษตรชุมชนทรายมูล ต.ทรายมูล อ. แม่ริม จ.เชียงใหม่ unit1
  • 9. HOME NEXTback - สามารถช่วยแก้ไขปัญหาในการปลูกข้าวในพื้นที่น้าท่วมซ้าซ้อน - สามารถเพิ่มแนวทางให้เกษตรกรในการปลูกข้าว - สามารถปลูกข้าวในที่น้าท่วมได้ หรือ ในพื้นที่ที่ไม่มีที่ดินในการปลูกข้าว unit1
  • 10. HOME NEXTback - ได้กระบวนการคิดและการทางานอย่างเป็นระบบบน พื้นฐานของการวิเคราะห์เชิงบูรณาการทางวิทยาศาสตร์ - ได้ฝึกการทางานเป็นกลุ่ม - สามารถเพิ่มแนวทางให้แก่เกษตรกรที่ประสบปัญหาได้ unit1
  • 11. HOME NEXTback - โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ตั้งอยู่เลขที่ ๒๓๔ ถนนพระปกเกล้า ตาบล ศรีภูมิ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ - 82 หมู่ 8 ต.ริมใต้ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 50180 - 15 มีนาคม พุทธศักราช 2558 - 15 กรกฎาคม พุทธศักราช 2558 unit1
  • 13. HOME NEXTbackUnit 2 การทานาดา เป็นวิธีการทานาที่มีการนาเมล็ดข้าวไปเพาะในแปลงที่เตรียมไว้ (แปลงกล้า) ให้งอก เป็นต้นกล้า แล้วถอนต้นกล้าไปปักดาในกระทงนาที่เตรียมไว้ และมีการดูแลรักษาจนให้ผล ผลิต การทานาดานิยมในพื้นที่ที่มีแรงงานเพียงพอ การทานาดา มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ การเตรียมดิน การเตรียมดินสาหรับการทานา ต้องคานึงถึงสภาพแวดล้อม เช่น น้า ภูมิอากาศ ลักษณะพื้นที่ ตลอดจนแบบวิธีการทานา และเครื่องมือการเตรียมดินที่แตกต่างกัน
  • 14. HOME NEXTbackUnit 2 การเตรียมดินแยกได้เป็น 2 ขั้นตอนคือ 1. การไถดะ และไถแปร การไถดะ คือ การไถพลิกหน้าดินครั้งแรกเพื่อกาจัดวัชพืช และตากดินให้แห้ง การไถแปร คือการไถครั้งที่สองโดยไถขวางแนวไถดะเพื่อย่อยดินและคลุกเคล้าฟาง วัชพืชฯลฯ ลงไปในดิน การไถ ไถด้วยแรงงานสัตว์ เช่น วัว ควาย รถไถเดินตาม รถแทรกเตอร์ 2. การคราดหรือใช้ลูกทุบ คือการกาจัดวัชพืช ตลอดจนการทาให้ดินแตกตัว และเป็น เทือกพร้อมที่จะปักดาได้ ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ทาต่อจากขั้นตอนที่ 1 และขังน้าไว้ระยะ หนึ่ง เพื่อให้มีสภาพดินที่เหมาะสมในการคราด การใช้ลูกทุบหรือเครื่องไถพรวนจอบหมุน (Rotary)
  • 15. HOME NEXTbackUnit 2 1. ควรปล่อยให้ดินนามีโอกาสแห้งสนิท เป็นระยะเวลานานพอสมควร และถ้า สามารถไถพลิกดินล่างขึ้นมาตากให้แห้งได้ก็จะดียิ่งขึ้น ถ้าดินเปียกน้าติดต่อกันโดยไม่ มีโอกาสแห้ง จะเกิดการสะสมของสารพิษ เช่นแก๊สไข่เน่า (ไฮโดรเจนซัลไฟด์) และกรด อินทรีย์ เป็นต้น ซึ่งถ้าสารเหล่านี้มีปริมาณมากก็จะเป็นอันตรายต่อรากข้าวได้ 2. ควรมีการหมักฟาง หญ้ารวมทั้งอินทรียวัตถุเพื่อให้สลายตัวสมบูรณ์ ประมาณ 2 สัปดาห์ หลังการไถเตรียมดิน เพื่อให้ ดินปรับตัวอยู่ในสภาพที่เหมาะสมต่อการ เจริญเติบโตของข้าว และสามารถปลดปล่อยธาตุอาหารที่จาเป็นออกมาให้แก่ต้นข้าว
  • 16. HOME NEXTbackUnit 2 3. ดินกรดจัดหรือดินเปรี้ยวจัด มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างต่า (pH ต่ากว่า4.0) ควรขังน้าไว้อย่างน้อย 1 เดือน ก่อนปักดาข้าว เพื่อให้ปฏิกิริยาต่างๆ ตลอดจน ความเป็นกรดของดินลดลงสู่สภาวะปกติ และค่อนข้างเป็นกลางเสียก่อน ดิน กลุ่มนี้ถ้ามีการขังน้าตลอดปี หรือมีการทานาปีละ 2 ครั้ง ก็จะเป็นการลดสภาวะ ความเป็นกรดของดิน และการเกิดสารพิษลงได้ ซึ่งจะทาให้ผลผลิตของข้าวสูงขึ้น
  • 17. HOME NEXTbackUnit 2 การเตรียมต้นกล้าให้ได้ต้นที่แข็งแรง เมื่อนาไปปักดาก็จะได้ข้าวที่เจริญเติบโตได้ รวดเร็ว และมีโอกาสให้ผลผลิตสูง ต้นกล้าที่แข็งแรงดีต้องมีการเจริญเติบโตและ ความสูงสม่าเสมอทั้งแปลง มีกาบใบสั้น มีรากมากและรากขนาดใหญ่ ไม่มีโรค และแมลงทาลาย - การเตรียมเมล็ดพันธุ์ ต้องเป็นเมล็ดพันธุ์ที่บริสุทธ์ ปราศจากสิ่งเจือปน มี เปอร์เซ็นต์ความงอกสูง (ไม่ต่ากว่า 80 เปอร์เซ็นต์) ปราศจากการทาลายของโรค และแมลง
  • 18. HOME NEXTbackUnit 2 - การแช่และหุ้มเมล็ดพันธุ์ นาเมล็ดข้าวที่ได้เตรียมไว้บรรจุในภาชนะเช่นตะกร้าไม้ ไผ่สาน กระสอบป่านหรือ ถุงผ้า ไปแช่ในน้าสะอาด นานประมาณ 12-24 ชั่วโมง จากนั้นนาเมล็ดพันธุ์ขึ้นมาวางบนพื้นที่น้าไม่ขัง และมีการถ่ายเทอากาศดี นา กระสอบป่านชุบน้าจนชุ่มมาหุ้มเมล็ดพันธุ์โดยรอบ รดน้าทุกเช้าและเย็น เพื่อรักษา ความชุ่มชื้น หุ้มเมล็ดพันธุ์ไว้นานประมาณ 30-48 ชั่วโมง เมล็ดข้าวจะงอกขนาด “ตุ่มตา” (มียอดและรากเล็กน้อยโดยรากจะยาวกว่ายอด) พร้อมที่จะนาไปหว่านได้ ในการหุ้มเมล็ดพันธุ์นั้น ควรวางเมล็ดพันธุ์ไว้ในที่ร่ม ไม่ถูกแสงแดดโดยตรง และ ขนาดของกองเมล็ดพันธุ์ต้องไม่โตมากเกินไป หรือบรรจุถุงขนาดใหญ่เกินไป เพื่อ ไม่ให้เกิดความร้อนสูงในกองหรือถุงข้าว เพราะถ้าอุณหภูมิสูงเกินไปเมล็ดพันธุ์ข้าว จะตาย ถ้าอุณหภูมิพอเหมาะข้าวจะงอกเร็ว และสม่าเสมอกันตลอดทั้งกอง
  • 19. HOME NEXTbackUnit 2 - การตกกล้า การตกกล้ามีหลายวิธีการ ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและวัตถุประสงค์ เช่น การตกกล้าบนดินเปียก (ทาเทือก) การตกกล้าบนดินแห้ง และการตกกล้าใช้กับ เครื่องปักดาข้าว การตกกล้าในสภาพเปียก หรือการตกกล้าเทือก เป็นวิธีที่ชาวนาคุ้นเคยกันดี การ ตกกล้าแบบนี้จะต้องมีน้าหล่อเลี้ยงอยู่เสมอ การดูแลรักษาไม่ยุ่งยากและความ สูญเสียจากการทาลายของศัตรูข้าวมีน้อย มีขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้ - การเตรียมดิน ปฏิบัติเช่นเดียวกับแปลงปักดา แต่เพิ่มความพิถีพิถันมากขั้น ใน การเก็บกาจัดวัชพืช และปรับระดับเทือกให้ราบเรียบสม่าเสมอ
  • 20. HOME NEXTbackUnit 2 - การเพาะเมล็ดพันธุ์ ปฏิบัติตามขั้นตอนของการเตรียมเมล็ดพันธุ์ การแช่และหุ้ม เมล็ดพันธุ์ โดยใช้อัตราเมล็ดพันธุ์ 50-60 กรัมต่อตารางเมตร หรือประมาณ 80-90 กิโลกรัมต่อไร่ จะได้กล้าสาหรับปักดาได้ประมาณ 15-20 ไร่ - การหว่านเมล็ดพันธุ์ ปล่อยน้าแปลงกล้าให้แห้ง ทาเทือกให้ราบเรียบสม่าเสมอ นาเมล็ดพันธุ์ที่เพาะงอกดีแล้วมาหว่านให้กระจายสม่าเสมอตลอดแปลง ควรหว่าน เมล็ดพันธุ์ตอนบ่ายหรือตอนเย็น เพื่อหลีกเลี่ยงแสงแดดตอนเที่ยงซึ่งมีความร้อนแรง มาก อาจทาให้เมล็ดข้าวตายได้
  • 21. HOME NEXTbackUnit 2 - การให้น้า ถ้าตกกล้าไม่มากนัก หลังจากหว่านเมล็ดพันธุ์แล้วหนึ่งวัน สาดน้ารดให้ กระจายทั่วแปลง ประมาณ 3-5 วัน กล้าจะสูงพอที่ไขน้าเข้าท่วมแปลงได้ แต่ถ้าตก กล้ามาก ไม่สามารถที่จะสาดน้ารดได้ ให้ปล่อยน้าหล่อเลี้ยงระหว่างแปลงย่อย ประมาณ 3-5 วัน เมื่อต้นกล้าสูงจึงไขน้าเข้าท่วมแปลง และค่อยเพิ่มระดับขึ้นเรื่อยๆ ตามความสูงของต้นกล้าจนน้าท่วมผิวดินตลอด ให้หล่อเลี้ยงไว้ในระดับลึกประมาณ 5-10 เซนติเมตร จนกว่าจะถอนกล้าไปปักดา - การใส่ปุ๋ ยเคมี ถ้าดินแปลงกล้ามีความอุดมสมบูรณ์สูง กล้างามดีก็ไม่จาเป็นต้อง ใส่ปุ๋ ย เพราะจะงามเกินไป ใบจะยาว ต้นอ่อน ทาให้ถอนแล้วต้นขาดง่ายและตั้งตัวได้ ช้าเมื่อนาไปปักดา แต่ถ้าดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่า ให้ใส่ปุ๋ ยเคมีแอมโมเนียมฟอสเฟต (16-20-0) อัตราประมาณ 25-40 กิโลกรัมต่อไร่ โดยใส่หลังหว่านเมล็ดพันธุ์แล้ว ประมาณ 7 วัน หรือเมื่อสามารถไขน้าเข้าท่วมแปลงได้แล้ว (ดูรายละเอียดในเรื่องการ ใส่ปุ๋ ยแปลงกล้า)
  • 22. HOME NEXTbackUnit 2 - การดูแลรักษา ใช้สารป้ องกันกาจัดโรคแมลงศัตรูข้าวตามความจาเป็น การตกกล้าในสภาพดินแห้ง การตกกล้าโดยวิธีนี้ควรกระทาเมื่อฝนไม่ตก ตามปกติ และไม่มีน้าเพียงพอที่จะทาเทือกเพื่อตกกล้าได้ แต่มีน้าพอที่จะใช้รด แปลงกล้าได้ มีวิธีการปฏิบัติดังนี้ - การเตรียมดิน เลือกแปลงที่ดอนน้าไม่ท่วม มีการระบายน้าดี อยู่ใกล้แหล่ง น้าที่จะนามารดแปลง ทาการไถดะตากดินให้แห้ง แล้วไถแปร คราดดินให้แตก ละเอียด เก็บวัชพืชออก ปรับระดับดินให้ราบเรียบ
  • 23. HOME NEXTbackUnit 2 - การตกกล้า ทาได้ 4 แบบคือ 1) การหว่านข้าวแห้ง หว่านเมล็ดพันธุ์ลงในแปลงโดยตรง โดยไม่ต้องเพาะ เมล็ดให้งอกก่อน ใช้อัตราเมล็ดพันธุ์เช่นเดียวกับการตกกล้าเทือก คือประมาณ 80-90 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วคราดกลบเมล็ดพันธุ์ให้จมดินพอประมาณ อย่าให้จม มาก เพราะจะทาให้เมล็ดงอกช้าและโคนกล้าอยู่ลึกทาให้ถอนยาก
  • 24. HOME NEXTbackUnit 2 2) การหว่านข้าวงอก เพาะเมล็ดให้งอกขนาดตุ่มตา (วิธีการเพาะเช่นเดียวกับการตก กล้าเทือก) อัตราเมล็ดพันธุ์เช่นเดียวกับการหว่านข้าวแห้ง ควรหว่านตอนบ่ายหรือ เย็น หว่านแล้วคราดกลบและรดน้าให้ชุ่มทันทีหลังการหว่าน
  • 25. HOME NEXTbackUnit 2 3) การตกกล้าแบบกระทุ้งหยอดข้าวแห้ง หรือวิธีการซิมกล้า เป็นวิธีการที่เหมาะสมกับ สภาพนาดอนอาศัยน้าฝน โดยการไถพรวนดินให้ดินร่วน เพื่อกาจัดวัชพืชและสะดวกต่อ การงอกของเมล็ด จากนั้นใช้ไม้กระทุ้งหยอดเมล็ดลงหลุม แล้วใช้ดินหรือขี้เถ้าแกลบ กลบเมล็ดเพื่อป้ องกันสัตว์เลี้ยงหรือแมลง มาคุ้ยเขี่ย หลังจากนั้นจึงถอนกล้าจากแปลง กล้านี้ไปปักดาในแปลงปักดา ซึ่งคิดเป็นอัตราเมล็ดพันธุ์ที่ใช้ในการปักดาต่อพื้นที่ 1 ไร่ ต้องใช้เมล็ดพันธุ์ประมาณ 12-15 กิโลกรัมต่อไร่
  • 26. HOME NEXTbackUnit 2 4) การตกกล้าสาหรับใช้กับเครื่องปักดา เนื่องจากเครื่องปักดาข้าวมีหลากหลายยี่ห้อ และมีกรรมวิธีรายละเอียดแตกต่างกัน การตกกล้าเพื่อใช้กับเครื่องเหล่านี้ส่วนใหญ่จะ มีคาแนะนามาพร้อมเครื่อง
  • 27. HOME NEXTbackUnit 2 การปักดาควรทาเป็นแถวเป็นแนวซึ่งจะทาให้ง่ายต่อการกาจัดวัชพืช การใส่ปุ๋ ย การพ่น ยากาจัดโรคแมลง และยังทาให้ข้าวแต่ละกอมีโอกาสได้รับอาหารและแสงแดดอย่าง สม่าเสมอกัน สาหรับระยะปักดานั้นขึ้นกับชนิดและพันธุ์ข้าว ดังนี้ - พันธุ์ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสงหรือข้าวนาปรัง เช่นพันธุ์ สุพรรณบุรี1 ชัยนาท1 พิษณุโลก 2 สันป่าตอง 1 ควรใช้ระยะปักดาระหว่างแถวและระหว่างกอ 20x20 เซนติเมตร หรือ 20x25 เซนติเมตร - พันธุ์ข้าวไวต่อช่วงแสงหรือข้าวนาปี เช่น เหลืองประทิว123 ขาวดอกมะลิ105 กข15 กข6 ปทุมธานี60 ควรใช้ระยะปักดา 25x25 เซนติเมตร
  • 28. HOME NEXTbackUnit 2 - ปักดาจับละ 3-5 ต้น ปักดาลึกประมาณ 3-5 เซนติเมตร จะทาให้ข้าวแตกกอใหม่ได้ เต็มที่ การปักดาลึกจะทาให้ข้าวตั้งตัวได้ช้าและแตกกอได้น้อย ไม่ควรตัดใบกล้าเพราะการ ตัดใบกล้าจะทาให้เกิดแผลที่ใบ จะทาให้โรคเข้าทาลายได้ง่าย ควรตัดใบกรณีที่จาเป็น จริงๆ เช่น ใช้กล้าอายุมาก มีใบยาว ต้นสูง หรือมีลมแรง เมื่อปักดาแล้วจะทาให้ต้นข้าว ล้ม อายุกล้า การใช้กล้าอายุที่เหมาะสม จะทาให้ข้าวตั้งตัวเร็ว แตกกอได้มาก และให้ผล ผลิตสูง อายุกล้าที่เหมาะสมสาหรับปักดา ขึ้นอยู่กับชนิดและพันธุ์ข้าวดังนี้ - พันธุ์ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสงหรือข้าวนาปรัง เช่นพันธุ์ สุพรรณบุรี1 ชัยนาท1 พิษณุโลก 2 ควรใช้กล้าที่มีอายุประมาณ 20-25 วัน
  • 29. HOME NEXTbackUnit 2 - พันธุ์ข้าวไวต่อช่วงแสงหรือข้าวนาปี เช่น เหลืองประทิว123 ขาวดอกมะลิ105 กข15 กข6 ปทุมธานี60 ควรใช้กล้าที่มีอายุประมาณ 25-30 วัน ระดับน้าในการปักดา ควรมีระดับน้าในนาน้อยที่สุด เพียงแค่คลุมผิวดิน เพื่อ ป้ องกันวัชพืชและประคองต้นข้าวไว้ไม่ให้ล้ม การควบคุมระดับน้าหลังปักดาก็เป็น สิ่งจาเป็นอย่างยิ่ง เพราะระดับน้าลึกจะทาให้ต้นข้าวแตกกอน้อย ซึ่งจะทาให้ผลผลิต ต่า ควรควบคุมให้อยู่ในระดับลึกประมาณ 1 ฝ่ามือ (10 เซนติเมตร)
  • 31. HOME NEXTbackUnit 3 ในการจัดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง “แผงทดลองปลูกข้าวลอยน้า” ได้ศึกษา ความรู้ในการจัดทาโครงงานผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบ “โครงงาน วิทยาศาสตร์” โดยมีหลักว่า การศึกษาเพื่อพบองค์ความรู้ใหม่ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ทางวิทยาศาสตร์ด้วยตัวของผู้เรียนเองโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการ แก้ปัญหานอกจากนี้ยังบูรณาการเข้ากับวิชาคอมพิวเตอร์ในการนาเสนอ
  • 32. HOME NEXTbackUnit 3 ขั้นตอนที่ 1 ขั้นกาหนดปัญหาที่จะศึกษา ปัญหาที่พบ - ผลผลิตทางการเกษตร(ข้าว)เสียหายเป็นจานวนมาก - มีพื้นที่ในการปลูกข้าวน้อย หรือ ไม่มีที่ในการเพาะปลูกข้าว สาเหตุของปัญหา - เป็นพื้นที่ที่น้าท่วมซ้าซาก - ไม่มีพื้นดินในการทาการเกษตร(ปลูกข้าว)
  • 33. HOME NEXTbackUnit 3 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นวางแผน - ผู้จัดทาโครงงานจึงได้รวมตัวกันเพื่อที่จะแก้ปัญหาในจุดนี้จึงเกิด เป็นโครงงาน “แผงปลูกข้าวลอยน้า” ขึ้นเพื่อเพิ่มแนวทางให้แก่เกษตรกรและ เพิ่มพื้นที่ในการปลูกข้าวและแก้ไขปัญหาพื้นที่ที่น้าท่วมซ้าซาก
  • 34. HOME NEXTbackUnit 3 - FILA model - PDCA F-Fact ข้อมูล ข้อเท็จจริง เช่น ข้อมูล เกี่ยวกับผลผลิตของข้าวที่เสียหายจาก วิกฤตการณ์น้าท่วม , วิธีการปลูกข้าว I - idea แนวคิด การพัฒนาในสิ่งที่เป็น ข้อมูลเชิงบวก และการหาแนว ทางแก้ไขในสิ่งที่เป็นเชิงลบ เช่น การ คิดวิธีที่จะปลูกข้าวในน้า
  • 35. HOME NEXTbackUnit 3 L- Learning Issue กระบวนการ เรียนรู้การกาหนดกระบวนการเรียนรู้ เรียนรู้ในสิ่งที่ต้องการทา และกาหนด หน้าที่ในการค้นหาข้อมูลที่ถูกต้อง และลึกซึ้งถึงแกนความรู้ A – Action การกระทา กาหนด กิจกรรมขั้นตอนการดาเนินกิจกรรม การมีส่วนร่วมและวางแผนการทางาน ด้วยกระบวนการ PDCA ขั้นวางแผนการทางานที่มุ่งสู่ความสาเร็จด้วยกระบวนการ PDCA ในการวางแผนการดาเนินงานทางผู้จัดทาโครงงานจะต้องมีแผนในการดาเนินงาน ซึ่งทางคณะผู้จัดทาจะต้องฝึกคิด ฝึกทา ฝึกวางแผน ฝึกเขียนโครงการและแผนการ ดาเนินงาน หลังจากที่มีแผนการทางานและโครงการแล้ว ซึ่งมีวิธีดังนี้
  • 36. HOME NEXTbackUnit 3 แผนการดาเนินการ ศึกษาเรื่องข้าว เช่น วิธีการปลูกข้าว ,ปัจจัยที่เกี่ยวกับการปลูก(ดินฟ้ า อากาศ น้า) และ ผลผลิต - ศึกษาเรื่องแรงลอยตัวและกฎของอาร์คิมิดิส - ศึกษาและออกแบบอุปกรณ์ในการทาแผงทดลองปลูกข้าว - การนาต้นข้าวมาปลูกนั้นจะต้องน้าข้าวไปแช่น้า 1 – 2 วันก่อนและนาไป ปลูกในกระบะเพาะจนต้นข้าวสูงประมาณ 30 - 45 เซนติเมตร(ต้นกล้า) จากนั้นนาไป ปลูกในแผงลอยน้าที่เตรียมไว้ โดยมีการสังเกตการเปลี่ยนแปลงทุกๆ 2 สัปดาห์
  • 37. HOME NEXTbackUnit 3 ลาดับที่ รายการ จานวน หน่วย 1. พลาสติกแข็ง 1 แผ่น 1. วงเวียน 1 อัน 1. ไม้บรรทัด 1 อัน 1. กรรไกร 1 ด้าม 1. ขวดน้าขนาด 600 มิลิลิตร 4 ขวด 1. ดินเหนียว 1 กิโลกรัม 1. ต้นข้าว(ต้นกล้า) 4 ต้น 1. ขวดน้าขนาด 1 ลิตร 4 ขวด
  • 38. HOME NEXTbackUnit 3 ขั้นตอน รูปภาพประกอบ วิธีการประดิษฐ์ 1. - นาพลาสติกแข็งมาวัดขนาด กว้าง 30 เซฯติเมตร ยาว 30 เซนติเมตร - เจาะรูที่แผ่นพลาสติกขนาดเท่ากับ เส้นผ่านศูนย์กลางของขวดน้า ขนาด 600 มิลิลิตร
  • 39. HOME NEXTbackUnit 3 ขั้นตอน รูปภาพประกอบ วิธีการประดิษฐ์ 2. - ตัดขวดน้าขนาด 600 มิลลิลิตรเอา เฉพาะส่วนหัวที่ติดกับฝาขวดโดยให้ ความสูงจากฝา 9 เซนติเมตร
  • 40. HOME NEXTbackUnit 3 ขั้นตอน รูปภาพประกอบ วิธีการประดิษฐ์ 3. - นาขวดน้าขนาด 1 ลิตรจานวน 4 ขวด ไปติดไว้ตรงฐานด้านล่างเพื่อ เป็นทุ่นเพื่อให้แผงทดลองลอยน้าได้ - นาขวดน้าที่ตัดเสร็จแล้วไปใส่ในรูที่ เจาะไว้
  • 41. ขั้นตอน รูปภาพประกอบ วิธีการประดิษฐ์ 4. - นาดินเหนียวที่เตรียมสาหรับ การปลูกใส่ลงไปในรูที่เตรียมไว้ HOME NEXTbackUnit 3
  • 42. ขั้นตอน รูปภาพประกอบ วิธีการประดิษฐ์ 1. - จากนั้นนาไปลอยน้าเพื่อทดสอบ HOME NEXTbackUnit 3
  • 44. ผลการดาเนินงาน จากการทดลอง “แผงทดลองปลูกข้าวลอยน้า”โดยนาต้นกล้าที่เพาะเป็นเวลา 1 เดือน มาปลูกและให้ปุ๋ ย 1 เดือนต่อ 1ครั้งโดยทดลองจากการปริมาณการให้ ปุ๋ ยเคมี และปุ๋ ยอินทรีย์ซึ่งผลการทดลองเป็นไปตามตารางที่ 3 ผลการทดลองจาก การปลูกข้าวในแผงทดลองปลูกข้าวลอยน้า HOME NEXTbackUnit 4
  • 45. สัปดาห์ ลักษณะของต้นข้าว ความสูงเฉลี่ย (ซม.) จานวนเฉลี่ย(ต้น) การเปลี่ยนแปลง 1 30.00 2 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ต้นข้าวสูง 30.00 เซนติเมตร ให้ปุ๋ ยเป็นครั้งแรก 3 45.66 2 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 15.66 เซนติเมตร 5 65.55 3 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 19.89 เซนติเมตร และมีการแตกหน่อเพิ่มจาก 2 ต้นเป็น 3 ต้น ให้ปุ๋ ยเป็นครั้งที่ 2 7 89.33 3 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 23.78 เซนติเมตร 9 115.50 5 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 26.17 เซนติเมตร และมีการแตกหน่อเพิ่มจาก 3 ต้นเป็น 5 ต้น ข้าวเริ่มมีรวงสีเขียว 11 125.60 5 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 10.10 เซนติเมตร และลาต้นเปลี่ยนลักษณะจากแบนเป็นต้น กลม ข้าวมีรวงสีเขียว ให้ปุ๋ ยเป็นครั้งที่ 3 13 135.60 5 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 10.00 และลาต้นเปลี่ยนลักษณะจากแบนเป็นต้นกลม ข้าวมีรวง สีเขียวอ่อน 15 135.60 5 ต้นข้าวมีความสูงเท่าเดิม และลาต้นเป็นต้นกลม ข้าวมีรวงสีเขียวอ่อนออกเหลือง 17 135.60 5 ต้นข้าวมีความสูงเท่าเดิม และลาต้นเป็นต้นกลม ข้าวมีรวงสีเขียวอ่อนออกเหลือง 19 135.60 5 ต้นข้าวมีความสูงเท่าเดิม และลาต้นเป็นต้นกลม ข้าวมีรวงสีเหลือง 21 135.60 5 ต้นข้าวมีความสูงเท่าเดิม และลาต้นเป็นต้นกลม ข้าวมีรวงสีเหลืองออกทอง 23 135.60 5 ต้นข้าวมีความสูงเท่าเดิม และลาต้นเป็นต้นกลม ข้าวมีรวงสีเหลืองทอง ผลการทดลองจากการปลูกข้าวในแผงทดลองปลูกข้าวลอยน้า ในหลุมที่ 1และ 2 ปุ๋ ยอินทรีย์ HOME NEXTbackUnit 4
  • 46. สัปดาห์ ลักษณะของต้นข้าว ความสูง (ซม.) จานวนต้น(ต้น) การเปลี่ยนแปลง 1 30.00 2 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ต้นข้าวสูง 30.00 เซนติเมตร ให้ปุ๋ ยเป็นครั้งแรก 3 45.00 2 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 15.00 เซนติเมตร 5 70.55 3 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 25.55 เซนติเมตร และมีการแตกหน่อเพิ่มจาก 2 ต้นเป็น 3 ต้น ให้ปุ๋ ยเป็น ครั้งที่ 2 7 90.73 3 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 20.18 เซนติเมตร 9 110.76 5 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 20.03 เซนติเมตร และมีการแตกหน่อเพิ่มจาก 3 ต้นเป็น 5 ต้น ข้าวเริ่มมี รวงสีเขียว 11 135.36 5 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 24.60 เซนติเมตร และลาต้นเปลี่ยนลักษณะจากแบนเป็นต้นกลม ข้าวมี รวงสีเขียว ให้ปุ๋ ยเป็นครั้งที่ 3 13 140.89 5 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 5.53 และลาต้นเปลี่ยนลักษณะจากแบนเป็นต้นกลม ข้าวมีรวงสีเขียวอ่อน 15 140.89 5 ต้นข้าวมีความสูงเท่าเดิม และลาต้นเป็นต้นกลม ข้าวมีรวงสีเขียวอ่อนออกเหลือง 17 140.89 5 ต้นข้าวมีความสูงเท่าเดิม และลาต้นเป็นต้นกลม ข้าวมีรวงสีเขียวอ่อนออกเหลือง 19 140.89 5 ต้นข้าวมีความสูงเท่าเดิม และลาต้นเป็นต้นกลม ข้าวมีรวงสีเหลือง 21 140.89 5 ต้นข้าวมีความสูงเท่าเดิม และลาต้นเป็นต้นกลม ข้าวมีรวงสีเหลืองออกทอง 23 140.89 5 ต้นข้าวมีความสูงเท่าเดิม และลาต้นเป็นต้นกลม ข้าวมีรวงสีเหลืองทอง ผลการทดลองจากการปลูกข้าวในแผงทดลองปลูกข้าวลอยน้า ในหลุมที่ 3และ 4 ปุ๋ ยเคมี HOME NEXTbackUnit 4
  • 47. ตารางเปรียบเทียบผลการทดลองจากการปลูกข้าวในแผงทดลองปลูกข้าวลอยน้าระหว่างปุ๋ ยอินทรีย์และปุ๋ ยเคมี สัป ดา ห์ ลักษณะของต้นข้าว ปุ๋ ยอินทรีย์ ปุ๋ ยเคมี ความสูง เฉลี่ย (ซม.) จานวนต้น เฉลี่ย (ต้น) การเปลี่ยนแปลง ความสูง เฉลี่ย (ซม.) จานวนต้น เฉลี่ย (ต้น) การเปลี่ยนแปลง 1 30.00 2 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ต้นข้าวสูง 30.00 เซนติเมตร ให้ปุ๋ ยเป็นครั้งแรก 30.00 2 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ต้นข้าวสูง 30.00 เซนติเมตร ให้ปุ๋ ยเป็นครั้งแรก 3 45.66 2 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 15.66 เซนติเมตร 45.00 2 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 15.00 เซนติเมตร 5 65.55 3 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 19.89 เซนติเมตร และมีการแตกหน่อเพิ่ม จาก 2 ต้นเป็น 3 ต้น ให้ปุ๋ ยเป็นครั้งที่ 2 70.55 3 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 25.55 เซนติเมตร และมี การแตกหน่อเพิ่มจาก 2 ต้นเป็น 3 ต้น ให้ปุ๋ ยเป็น ครั้งที่ 2 7 89.33 3 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 23.78 เซนติเมตร 90.73 3 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 20.18 เซนติเมตร 9 115.50 5 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 26.17 เซนติเมตร และมีการแตกหน่อเพิ่ม จาก 3 ต้นเป็น 5 ต้น ข้าวเริ่มมีรวงสี เขียว 110.76 5 ต้นข้าวสูงขึ้นจากเดิม 20.03 เซนติเมตร และมี การแตกหน่อเพิ่มจาก 3 ต้นเป็น 5 ต้น ข้าวเริ่มมี รวงสีเขียว HOME NEXTbackUnit 4
  • 48. สรุปผลการทดลองได้ว่าข้าวสามารถปลูกในน้าได้และสามารถให้ผลผลิตใกล้เคียง กับการปลูกบนดินแต่ขึ้นอยู่กับการให้ปุ๋ ยถ้าให้ปุ๋ ยต้นข้าวจะเจริญเติบโตและแตก หนอได้ดีการให้ปุ๋ ยเคมีให้ผลผลิตมากกว่าการให้ปุ๋ ยอินทรีย์ และความสูงของข้าวที่ ให้ปุ๋ ยเคมีสูงกว่าที่ให้ปุ๋ ยอินทรีย์ร้อยละ 3.90 ซึ่งผลมีความใกล้เคียงมากแต่ดินของ ต้นข้าวที่ใส่ปุ๋ ยอินทรีย์นั้นมีความสมบูรณ์กว่าดินที่ใช้ปุ๋ ยเคมีและไม่ต้องเสียเวลา เสียเงินในการบารุงดินแบบการปลูกข้าวที่ให้ปุ๋ ยเคมี HOME NEXTbackUnit 4
  • 50. จากการดาเนินงานในการทาโครงงาน “แผงทดลองปลูกข้าวลอยน้า”ผลสรุปเป็นไปตามเป้ าหมายที่ได้ตั้งไว้ 1. สามารถช่วยแก้ไขปัญหาในการปลูกข้าวในพื้นที่น้าท่วมซ้าซ้อน 2. สามารถเพิ่มแนวทางให้เกษตรกรในการปลูกข้าว 3. สามารถปลูกข้าวในที่น้าท่วมได้ หรือ ในพื้นที่ที่ไม่มีที่ดินในการปลูกข้าว ข้าวสามารถปลุกในน้าได้และสามารถให้ผลผลิตใกล้เคียงกับการปลุกบนดินแต่ขึ้นอยู่กับการให้ปุ๋ ยถ้าให้ ปุ๋ ยต้นข้าวจะเจริญเติบโตและแตกหนอได้ดีการให้ปุ๋ ยเคมีให้ผลผลิตมากกว่าการให้ปุ๋ ยอินทรีย์และความสูง ของต้นข้าวที่ใส่ปุ๋ ยนั้นสูงช้ากว่าที่ให้ปุ๋ ยเคมีร้อยละ 3.90 ซึ่งผลมีความใกล้เคียงมากแต่ดินของต้นข้าวที่ใส่ปุ๋ ย อินทรีย์นั้นมีความสมบูรณ์กว่าดินที่ใช้ปุ๋ ยเคมีและไม่ต้องเสียเวลา เสียเงินในการบารุงดินแบบการปลูกข้าวที่ ให้ปุ๋ ยเคมี HOME NEXTbackUnit 5
  • 51. จากการประดิษฐ์แผงปลูกข้าวลอยน้า เราสามารถใช้งานได้จริง สะดวกและมีความ ปลอดภัย อีกทั้งยังประหยัดต้นทุนในการปลูกข้าวอีกด้วยและยังเป็นแนวทางแก้ไข ในพื้นที่ที่น้าท่วมซ้าซากหรือพื้นที่ที่มีที่ดินในการปลูกข้าวน้อย HOME NEXTbackUnit 5
  • 52. 1. เป็นแนวความคิดที่สามารถให้ผู้อื่นหรือเกษตรกรนาไปต่อยอดได้ 2. เป็นสิ่งประดิษฐ์การช่วยลดความเสียหายของผลผลิต(ข้าว)ในพื้นที่ที่น้าท่วม ซ้าซาก 3. เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ช่วยลดต้นทุนให้แก่เกษตรกรที่ปลูกข้าว 4. เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่สามารถช่วยเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกรได้ HOME NEXTbackUnit 5
  • 53. 1. ควรปลูกข้าวให้มากกว่านี้ 2. ควรใช้ข้าวให้มีความหลากหลายพันธุ์ 3. ควรทาหลักยึดแผงปลูกข้าวโดยสามารถลอยขึ้นลงได้เมื่อระดับ น้าเกิดการเปลี่ยนแปลง HOME NEXTbackUnit 5