SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
แนวขอสอบ
พระราชบัญญัตเิ ทศบาล พ.ศ. 2496
แกไขเพิมเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ.2552
่
2552
ถาม-ตอบ)และสรุ ่ งเทศบาล
(ถาม-ตอบ)และสรุปเรืองเทศบาล ชุดที่ 2
โดย ประพันธ เวารัมย

http://pun.fix.gs
หรือ

http://valrom2012.fix.gs
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496
แก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552
(ถาม – ตอบ) และสรุปเรื่องเทศบาล
โดย ประพันธ์ เวารัมย์
****************
1. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ตราขึ้น เป็นปีที่เท่าใดในรัชกาลปัจจุบัน
ให้ไว้ ณ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496 เป็นเป็นปีที่ 8 ในรัชกาลปัจจุบัน
2. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่เท่าใด
วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา (รก.2496/14/222/17 กุมภาพันธ์ 2496) (มาตรา 2)
วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2496
3. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ให้ยกเลิกกฎหมายใด
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2486 (มาตรา 3)
4. เมื่อพ้นกําหนดหนึ่งปี นับแต่วันที่ได้ประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะท้องถิ่นใดเป็นเทศบาลเมืองหรือ
เทศบาลนครแล้ว ห้ามมิให้ใช้กฎหมายใด
กฎหมายว่าด้วยลักษณะปกครองท้องที่ ในส่วนที่บัญญัติถึงการ กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจําตําบล
และสารวัตรกํานัน และให้บุคคลดังกล่าวพ้นจากตําแหน่งและหน้าที่เฉพาะในเขตท้องที่นั้น (มาตรา 4)
5. ในเขตเทศบาลตําบลใด ถ้าหมดความจําเป็นที่จะต้องมีตําแหน่งกํานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
แพทย์ประจําตําบล หรือสารวัตรกํานัน ให้ใครดําเนินการอย่างไร
รัฐมนตรีประกาศยกเลิกตําแหน่งดังกล่าวในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 4 วรรคสอง)
6. ให้เทศบาลที่จัดตั้งขึ้นแล้ว วันใช้พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 นี้ คงมีฐานะเป็นเทศบาลตําบล
เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร ตามที่เป็นอยู่ แล้วแต่กรณี
มีอํานาจหน้าที่และอยู่ในบังคับแห่งพระราชบัญญัตินี้ (มาตรา 5)
7. บรรดาเทศบัญญัติที่ได้ออกโดยอาศัยอํานาจตามพ.ร.บ.จัดระเบียบเทศบาล พ.ศ. 2476 และพ.ร.บ.
เทศบาล พ.ศ. 2481 และพ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. 2486 ให้คงบังคับได้ ในกรณีที่ผู้กระทําผิดเทศบัญญัติ ให้
ดําเนินการอย่างไร
ให้นําบทบัญญัติมาตรา 60 วรรคท้ายแห่งพ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ. 2496 มาบังคับใช้ (ในเทศบัญญัตินั้น
จะกําหนดโทษปรับผู้ละเมิดเทศบัญญัติไว้ด้วยก็ได้ แต่ห้ามมิให้กําหนดเกินกว่าหนึ่งพันบาท)

รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs

หนา 1
7. หากมีการจัดตั้งเทศบาลตามพระราชบัญญัตินี้ หรือกฎหมายว่าด้วยสภาตําบลและองค์การบริหารส่วน
ตําบล (ยกฐานะเป็นเทศบาล) ให้เลือกสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรี ตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้ง
สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นภายในกี่วัน นับตั้งแต่วันที่ได้จัดตั้งเป็นเทศบาล
45 วัน (มาตรา 8)
8. ในระหว่างที่ไม่มีนายกเทศมนตรี กรณียกฐานะจากองค์การบริหารส่วนตําบล เป็นเทศบาล ให้ใครปฏิบัติ
หน้าที่นายกเทศมนตรีเท่าที่จําเป็นได้เป็นการชั่วคราว จนถึงวันประกาศผลการเลือกตั้งนายกเทศมนตรี
ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลปฏิบัติหน้าที่ปลัดเทศบาล และปฏิบัติหน้าที่นายกเทศมนตรี (มาตรา 8
วรรคสอง)
9. ท้องถิ่นใดที่ยกฐานะเป็นเทศบาลตําบล จะต้องดําเนินการอย่างไร
ประกาศกระทรวงมหาดไทย ยกฐานะเป็นเทศบาลตําบล
กรณีมี 2 กรณี คือ 1. องค์การบริหารส่วนตําบลที่ยกฐานะเป็นเทศบาลตําบล (มาตรา 9)
2. ผลของพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของ สุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. 2542
10. เทศบาลเมือง ได้แก่
1. ท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด หรือ
2. ท้องถิ่นที่มีราษฎรตั้งแต่ 10,00 คนขึ้นไป ทั้งมีรายได้พอควรแก่การที่จะปฎิบัติหน้าที่อันต้องทําตาม
พระราชบัญญัตินี้
3. มีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะเป็นเทศบาลเมือง ประกาศกระทรวงมหาดไทยนั้นให้ระบุชื่อ
และเทศบาลเขตของเทศบาลไว้ด้วย (มาตรา 10)
สรุป คําว่า “หรือ” ไม่จําเป็นต้องเป็นท้องถิ่นที่ถิ่นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ ข้อ 1 หรือ ข้อ 2 อย่างใด
อย่างหนึ่ง (ส่วนข้อ 3 เป็นวิธีปฏิบัติ)
10. เทศบาลนคร ได้แก่ ท้องถิ่นชุมนุมชนมีราษฎรตั้งแต่เท่าใดขึ้นไป
50 ,000 ขึ้นไป ทั้งมีรายได้พอควรแก่การที่จะปฏิบัติหน้าที่อันต้องทําตามพระราชบัญญัตินี้
มีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะเป็นเทศบาลนคร ประกาศกระทรวงมหาดไทยนั้นให้ระบุชื่อ
และเทศบาลเขตของเทศบาลไว้ด้วย (มาตรา 11)
11. ในกรณีที่เป็นการเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลเมืองหรือเทศบาล ไปท้องถิ่นที่ได้เปลี่ยนแปลงเขตเป็น
เทศบาล นคร ให้กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจําตําบล และสารวัตรกํานัน สิ้นสุดอํานาจหน้าที่เฉพาะใน
เขตที่ได้เปลี่ยนแปลงเมื่อพ้นกําหนดกี่ปี
1 ปี นับแต่วันที่ประกาศกระทรวงมหาดไทยเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลใช้บังคับต้นไป
11. ท้องถิ่นซึ่งได้ยกฐานะเป็นเทศบาล แล้วอาจถูกเปลี่ยนแปลงฐานะหรือยุบเลิกได้โดยทําเป็นกฎหมายใด
ประกาศกระทรวงมหาดไทย (มาตรา 13)
รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs

หนา 2
12. สภาเทศบาลตําบลประกอบด้วยสมาชิกสภาเทศบาลซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตาม
กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น เทศบาลตําบล จํานวนกี่คน
สภาเทศบาลตําบล ประกอบด้วยสมาชิกจํานวน 12 คน (มาตรา 15)
13. สภาเทศบาลเมืองประกอบด้วยสมาชิกสภาเทศบาลซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตาม
กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น เทศบาลเมือง จํานวนกี่คน
สภาเทศบาลเมือง ประกอบด้วยสมาชิกจํานวน 18 คน (มาตรา 15)
14. สภาเทศบาลนครประกอบด้วยสมาชิกสภาเทศบาลซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตาม
กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น เทศบาลนคร จํานวนกี่คน
สภาเทศบาลตําบลนคร ประกอบด้วยสมาชิกจํานวน 24 คน (มาตรา 15)
15. ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาล
(1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
(2) มีอายุไม่ต่ํากว่า 25 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
(3) มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่สมัครรับเลือกตั้งเป็นเวลาติดต่อกัน
ไม่น้อยกว่า 1 ปี นับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง หรือ
(4) ได้เสียภาษีตามกฎหมายว่าด้วยภาษีโรงเรือน และที่ดินหรือกฎหมายว่าด้วยภาษีบํารุงท้องที่ให้กับ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นเป็นเวลาติดต่อกัน 3 ปี นับถึงปีที่สมัครรับเลือกตั้ง และ
(5) คุณสมบัติอื่นที่กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกําหนด (มาตรา 44 )
จะต้องไม่เป็นผู้ที่พ้นจากตําแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น รอง
ผู้บริหารท้องถิ่นหรือที่ปรึกษาหรือเลขานุการของผู้บริหารท้องถิ่น เพราะเหตุมีส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรง
หรือทางอ้อมในสัญญาหรือกิจการที่กระทํากับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยังไม่ถึง 5 ปีนับถึงวันรับ
สมัครเลือกตั้ง
16. ผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาล มีคุณสมบัติอย่างไรห้ามใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้ง
(1) ติดยาเสพติดให้โทษ
(2) เป็นบุคคลล้มละลาย
(3) วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
(4) เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช
(5) อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง
(6) ต้องคําพิพากษาให้จําคุกและถูกคุมขังอยู่โดยหมายศาล
(7)ได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุกตั้งแต่ 2 ปี ขึ้นไป และได้พ้นโทษมายังไม่ถึง 5 ปี นับ
ถึงวันเลือกตั้ง เว้นแต่ในความผิดอันได้กระทําโดยประมาท
(8) ต้องคําพิพากษาถึงที่สุดว่ากระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ไม่ว่าจะได้รับโทษหรือไม่ โดยได้
พ้นโทษหรือต้องคําพิพากษามายังไม่ถึง 5 ปีนับถึงวันเลือกตั้งแล้วแต่กรณี
รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs

หนา 3
(9)เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตต่อ
หน้าที่ หรือถือว่ากระทําการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ
(10)เคยต้องคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ํารวยผิดปกติ หรือมี
ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ
(11) เคยถูกถอดถอนออกจากตําแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถิ่น
หรือผู้บริหารท้องถิ่น ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หรือกฎหมายว่าด้วยการ
ลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น แล้วแต่กรณี มายังไม่ถึง 5 ปีนับ
ถึงวันเลือกตั้ง
(12) อยู่ในระหว่างเสียสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น ตามมาตรา
37 หรือตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิก
วุฒิสภา
(13) เคยถู ก คณะกรรมการการเลื อ กตั้ ง สั่ ง เพิ ก ถอนสิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง มายั ง ไม่ ถึ ง 1 ปี นั บ แต่ วั น ที่
คณะกรรมการการเลือกตั้งมีคําสั่งอันเนื่องมาจากการกระทําการโดยไม่สุจริตตามพระราชบัญญัตินี้
หรือกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาเพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่น
ได้รับเลือกตั้ง หรือได้รับเลือกตั้งมาโดยไม่สุจริต
(14) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น
(15) เป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภา หรือเป็นผู้สมัครรับ
เลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเดียวกัน หรือ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
(16) เป็นข้าราชการซึ่งมีตําแหน่งหรือเงินเดือนประจํา
(17) เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือเป็น
เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ
(18) เป็นกรรมการการเลือกตั้ง กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แห่งชาติ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญหรือผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา
(19) ลักษณะอื่นที่กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกําหนด
17. ในกรณีที่ตําแหน่งสมาชิกสภาเทศบาลว่างลงไม่ว่าด้วยเหตุใดและยังมิได้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภา
เทศบาลขึ้นแทนตําแหน่งที่ว่าง ให้ดําเนินการอย่างไร
ให้สภาเทศบาลประกอบด้วยสมาชิกสภาเทศบาลเท่าที่มีอยู่ (มาตรา 15 วรรคท้าย)
18. สมาชิกสภาเทศบาลให้อยู่ในตําแหน่งได้คราวละกี่ปี
4 ปี (มาตรา 16)

รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs

หนา 4
19. สมาชิกสภาเทศบาลครบวาระ ให้เลือกตั้งภายในกี่วัน
45 วั น (มาตรา 7 พระราชบั ญ ญั ติ ก ารเลื อ กตั้ ง สมาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น หรื อ ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น
พ.ศ. 2545 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2554)
20. กรณีสมาชิกสภาเทศบาลตาย หรือพ้นจากตําแหน่งเหตุอื่น นอกเหนือจากครบวาระ ให้เลือกตั้งภายใน
กี่วัน
60 วั น (มาตรา 7 พระราชบั ญ ญั ติ ก ารเลื อ กตั้ ง สมาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น หรื อ ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น
พ.ศ. 2545 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2554)
21. กรณีสมาชิกสภาเทศบาลวาระการดํารงตําแหน่งไม่ถึงจําเท่าใด ไม่ต้องเลือกตั้งใหม่
180 วั น (มาตรา 7 พระราชบั ญ ญั ติ ก ารเลื อ กตั้ ง สมาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น หรื อ ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น
พ.ศ. 2545 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2554)
22. สมาชิกสภาเทศบาลสิ้นสุดสมาชิกภาพเมื่อใด
(1) ถึงคราวออกตามวาระ หรือมีการยุบสภาเทศบาล
(2) ตาย
(3) ลาออก โดยยื่นหนังสือลาออกต่อผู้ว่าราชการจังหวัด
(4) พ้ นจากตํ าแหน่ งสมาชิ กสภาท้ องถิ่ น คณะผู้ บ ริ หารท้ องถิ่ น หรื อผู้ บ ริ ห ารท้ องถิ่น รองผู้ บ ริ ห าร
ท้องถิ่นหรือที่ปรึกษาหรือเลขานุการของผู้บริหารท้องถิ่น เพราะเหตุมีส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรงหรือ
ทางอ้อมในสัญญาหรือกิจการที่กระทํากับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยังไม่ถึงห้าปีนับถึงวันรับสมัคร
เลือกตั้ง
(5) ขาดประชุมสภาเทศบาลสามครั้งติดต่อกันโดยไม่มีเหตุอันสมควร
(6) กระทําการอันต้องห้าม คือ เป็นผู้มีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาที่เทศบาล
นั้นเป็นคู่สัญญาหรือในกิจการที่กระทําให้แก่เทศบาลนั้น หรือที่เทศบาลนั้นจะกระทํา
(7)สภาเทศบาลมีมติให้พ้นจากตําแหน่ง โดยเห็นว่ามีความประพฤติในทางที่จะนํามาซึ่งความเสื่อมเสีย
หรือก่อความไม่สงบเรียบร้อยแก่เทศบาลหรือกระทําการอันเสื่อมเสียประโยชน์ของสภาเทศบาล โดยมี
สมาชิกสภาเทศบาลจํานวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจํานวนสมาชิกสภาเทศบาลทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
เข้าชื่อเสนอให้สภาเทศบาลพิจ ารณา และมติดังกล่าวต้ องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของ
จํานวนสมาชิกสภาเทศบาลทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ทั้งนี้ ให้สมาชิกภาพสิ้นสุดลงนับแต่วันที่สภาเทศบาลมี
มติ
(8) ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเทศบาลมีจํานวนไม่น้อยกว่า3 ใน 4 ของจํานวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่มา
ลงคะแนนเสียง เห็นว่าสมาชิกสภาเทศบาลผู้ใดไม่สมควรดํารงตําแหน่งต่อไปตามกฎหมายว่าด้วยการ
ลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs

หนา 5
ในกรณีที่สมาชิกภาพของสมาชิกสภาเทศบาลสิ้นสุดลงตาม (8) พร้อมกันทั้งหมด ให้ถือว่าเป็นการยุบ
สภาเทศบาล
23. ประธานสภาและรองประธานสภา มีจํานวนกี่คน และใครเป็นคนแต่งตั้ง
ประธานสภาคนหนึ่ง และรองประธานสภาคนหนึ่ง ซึ่ งผู้ว่ าราชการจังหวั ดแต่ งตั้ งจากสมาชิกสภา
เทศบาลตามมติของสภาเทศบาล (มาตรา 20)
24. ประธานสภาและรองประธานสภา ดํารงตําแหน่งจนครบอายุของสภาเทศบาล และพ้นจากตําแหน่ง
อย่างไร
(1) ยืนหนังสือลาออกต่อผู้ว่าราชการจังหวัด
(2) สิ้นสุดสมาชิกภาพของสมาชิกสภาเทศบาล
(3) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยสั่งให้พ้นจากตําแหน่ง ในกรณี ที่ ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด เห็ น ว่ า
ประธานสภาเทศบาล หรือรองประธานสภาเทศบาล ปฏิบัติการฝ่าฝืนต่อความสงบเรียบร้อย หรือ
สวัสดิภาพของประชาชน ละเลยไม่ปฏิบัติตามหรือปฏิบัติการไม่ชอบด้วยอํานาจหน้าที่ หรือมีความ
ประพฤติในทางจะนํามาซึ่งความเสื่อมเสียแก่ศักดิ์ตําแหน่ง หรือแก่เทศบาล หรือแก่ราชการ ให้เสนอ
ความเห็ น ต่ อ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงมหาดไทยพร้ อ มด้ ว ยหลั ก ฐาน รั ฐ มนตรี ว่ า การ
กระทรวงมหาดไทยอาจใช้ดุลพินิจสั่งให้ ประธานสภาเทศบาล หรือรองประธานสภาเทศบาลพ้นจาก
ตําแหน่งก็ได้ คําสั่งของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยให้เป็นที่สุด
(4) สภาเทศบาลมีมติให้พ้นจากตําแหน่ง โดยเห็นว่ามีความประพฤติในทางจะนํามาซึ่งความเสื่อมเสีย
แก่ ศั ก ดิ์ ตํ า แหน่ ง หรื อ สภาเทศบาล ปฏิ บั ติ ก ารฝ่ า ฝื น ต่ อ ความสงบเรี ย บร้ อ ยหรื อ สวั ส ดิ ภ าพของ
ประชาชน หรือละเลยไม่ปฏิบัติการหรือปฏิบัติการไม่ชอบด้วยอํานาจหน้าที่ โดยมีสมาชิกสภาเทศบาล
จํานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจํานวนสมาชิกสภาเทศบาลทั้งหมดเท่าที่มีอยู่เข้าชื่อเสนอให้สภา
เทศบาลพิ จ ารณา และมติ ดังกล่ าวต้ องมี คะแนนเสี ยงไม่ น้ อยกว่ าสามในสี่ของจํ านวนสมาชิ กสภา
เทศบาลทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ทั้งนี้ ให้พ้นจากตําแหน่งนับแต่วันที่สภาเทศบาลมีมติ
ผู้ซึ่งพ้นจากตําแหน่งประธานสภาเทศบาลหรือรองประธานสภาเทศบาลตาม (3) หรือ (4) จะดํารง
ตําแหน่งประธานสภาเทศบาลหรือรองประธานสภาเทศบาลอีกไม่ได้ตลอดอายุของสภาเทศบาลนั้น
ให้ประธานสภาเทศบาล หรือรองประธานสภาเทศบาลที่ได้รับเลือกใหม่อยู่ในตําแหน่งตามวาระของ
ผู้ซึ่งตนแทน
25. ประธานสภาและรองประธานสภา ว่างลงเพราะเหตุใดเหตุหนึ่ง ให้สภาเลือกสมาชิกสภาเทศบาลขึ้น
แทนตําแหน่งที่ว่างภายในกี่วัน
15 วัน นับแต่วันที่ตําแหน่งว่างลง (มาตรา 20 ตรี)

รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs

หนา 6
26. ใครมีหน้าที่ดําเนินกิจการของสภาเทศบาลให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับการประชุมสภาเทศบาล
ประธานสภา และรองประธานสภา มี ห น้ า ที่ ก ระทํ า กิ จ การแทนประธานสภาเทศบาลในเมื่ อ
ประธานสภาเทศบาลไม่อยู่ หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ (มาตรา 21)
27. กรณีประธานและรองประธานสภาเทศบาลไม่อยู่ในที่ประชุม ให้ดําเนินการอย่างไร
ให้สมาชิกสภาเทศบาลเลือกตั้งกันเองเป็นประธานเฉพาะในคราวประชุมนั้น
28. หน่วยงานใด เป็นผู้วางระเบียบข้อบังคับการประชุมสภาเทศบาล
กระทรวงมหาดไทย (มาตรา 23)
29. ในปีหนึ่งให้มีสมัยประชุมสามัญกี่สมัย
4 สมั ย สมั ยประชุ มสามัญครั้ งแรกและวั น เริ่ มประชุ มสมั ย สามั ญประจํ าปี ให้ ส ภาเทศบาลกํ าหนด
(มาตรา 24)
30. ใครต้องกําหนดให้สมาชิกสภาเทศบาลได้มาประชุมสภาเทศบาลครั้งแรก
ผู้ว่าราชการจังหวัด (มาตรา 24 วรรคสอง)
31. การประชุมสภาเทศบาลครั้งแรก ภายในกี่วันนับแต่วันประกาศผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลครบ
ตามจํานวนแล้ว และให้ที่ประชุมเลือกประธานสภาเทศบาลและรองประธานสภาเทศบาล
15 วัน (มาตรา 24 วรรคสอง)
32. กรณีที่สภาเทศบาลไม่อาจจัดให้มีการประชุมครั้งแรกได้ตามกําหนดเวลา หรือมีการประชุมสภา
เทศบาลแต่ไม่อาจเลือกประธานสภาเทศบาลได้ ใครอาจเสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยให้มีคําสั่ง
ยุบสภาเทศบาล
ผู้ว่าราชการจังหวัด (มาตรา 24 วรรคสาม)
33.สมัยประชุมสามัญสมัยหนึ่งๆ ให้มีกําหนดไม่เกินกี่วัน แต่ถ้าจะขยายเวลาออกไปอีกจะต้องได้รับอนุญาต
จากใคร
ไม่เกิน 30 วัน / ผู้ว่าราชการจังหวัด (มาตรา 24 วรรคท้าย) ***ระวังข้อสอบออกบ่อยมาก** อย่า
สับสนสมัยสามัญกับสมัยวิสามัญต่างกันน่ะครับ
34. โดยปกติให้ประธานสภาเทศบาลเป็นผู้เรียกประชุมสภาเทศบาลตามสมัยประชุม และเป็นผู้เปิดหรือปิดประชุม
ในกรณีที่ยังไม่มีประธานสภาเทศบาล หรือประธานสภาเทศบาลไม่เรียกประชุมตามกฎหมาย ให้ใครเป็นผู้เรียก
ประชุมและเป็นผู้เปิดหรือปิดประชุม
ผู้ว่าราชการจังหวัด (มาตรา 24 วรรคสอง)
35. นอกจากสมัยประชุมสามัญแล้ว เมื่อเห็นว่าเป็นการจําเป็นเพื่อประโยชน์แห่งเทศบาล ใครอาจทําคํา
ร้องยื่นต่อผู้ว่าราชการจังหวัดขอให้เปิดประชุมวิสามัญ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณา ถ้าเห็นสมควรก็ให้
ผู้ว่าราชการจังหวัดเรียกประชุมวิสามัญได้
ประธานสภาเทศบาล หรือนายกเทศมนตรี หรือสมาชิกสภาเทศบาลมีจํานวนไม่ต่ํากว่ากึ่งหนึ่งของ
จํานวนสมาชิกที่อยู่ในตําแหน่ง (มาตรา 26)
รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs

หนา 7
36. สมัยประชุมวิสามัญให้มีกําหนดไม่เกินกี่วัน แต่ถ้าจะขยายเวลาออกไปอีก จะต้องได้รับอนุญาตจากใคร
ไม่เกิน 15 วัน / ผู้ว่าราชการจังหวัด (มาตรา 26 วรรคสอง) ***ระวังข้อสอบออกบ่อยมาก** อย่า
สับสนสมัยวิสามัญกับสมัยสามัญต่างกันน่ะครับ
37. การประชุมสภาเทศบาล ต้องมีสมาชิกสภาเทศบาลมาประชุมไม่น้อยกว่าเท่าใด
ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกเท่าที่อยู่ จึงจะเป็นองค์ประชุม
38. การลงมติวินิจฉัยข้อปรึกษานั้น ให้ดําเนินการอย่างไร
ถือเอาเสียงข้างมากเป็นประมาณ เว้นแต่จะมีบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นในพระราชบัญญัตินี้
39.สมาชิกสภาเทศบาลคนหนึ่งย่อมมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้ามีจํานวนลงเสียงลงคะแนนเท่ากัน ให้
ใครออกเสียงเพิ่มได้อีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
ประธานสภาเทศบาล (มาตรา 28 วรรคสอง)
40. ห้ามมิให้สภาเทศบาลประชุมปรึกษาหารือในเรื่องใด
นอกเหนืออํานาจหน้าที่ หรือเรื่องที่ฝ่าฝืนกฎหมาย หรือเรื่องการเมืองแห่งรัฐ (มาตรา 29)
41. การประชุมของสภาเทศบาลย่อมเป็นการเปิดเผยตามลักษณะที่จะได้กําหนดไว้ในกฎหมายใด
ระเบียบข้อบังคับการประชุมสภาเทศบาล (มาตรา 30)
42. เมื่อนายกเทศมนตรี หรือสมาชิกสภาเทศบาลรวมกันไม่น้อยกว่าเท่าใดของจํานวนสมาชิกที่มาประชุม
ร้องขอให้ทําการประชุมลับ ก็ให้ประธานสภาเทศบาลดําเนินการประชุมลับได้ โดยไม่ต้องขอมติที่ประชุม
ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 (มาตรา 30 วรรคสอง)
43. ในที่ ป ระชุ ม สภาเทศบาล สมาชิ ก สภาเทศบาลมี สิ ท ธิ ตั้ ง กระทู้ ถ ามนายกเทศมนตรี ห รื อ รอง
นายกเทศมนตรีในข้อความใดๆ อันเกี่ยวกับการงานในหน้าที่ได้ แต่นายกเทศมนตรีหรือรองนายกเทศมนตรี
มีสิทธิ
ที่จะไม่ตอบ เมื่อเห็นว่าข้อความนั้นๆ ยังไม่ควรเปิดเผยเพราะเกี่ยวกับความปลอดภัยหรือประโยชน์
สําคัญของเทศบาล (มาตรา 31) ***ข้อสอบออกบ่อยมาก ระวังอาจตั้งคําถามเป็นรองนายกเทศมนตรี
ก็ตอบเหมือนกันครับ***
44. สภาเทศบาลมีอํานาจเลือกสมาชิกสภาเทศบาลเป็นคณะกรรมการอะไร
คณะกรรมการสามัญ เพื่อกระทํากิจการหรือพิจารณาสอบสวนหรือศึกษาเรื่องใดๆ อันอยู่ในอํานาจ
หน้าที่ของสภาเทศบาล แล้วรายงานต่อสภาเทศบาล (มาตรา 32)
45. สภาเทศบาลมีอํานาจเลือกบุคคลผู้เป็นหรือมิได้เป็นสมาชิก เป็นคณะกรรมการอะไร
คณะกรรมการวิสามัญของสภาเทศบาล เพื่อกระทํากิจการหรือพิจารณาสอบสวนหรือศึกษาเรื่องใดๆ
อันอยู่ในอํานาจหน้าที่ของสภาเทศบาล แล้วรายงานต่อสภาเทศบาล
(มาตรา 32) ** ข้อสังเกตของคําถาม คือ ถ้าเป็นสมาชิกเป็นคณะกรรมการสามัญ ถ้ามิเป็นสมาชิก
เป็นคณะการการวิสามัญ น่ะครับ***

รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs

หนา 8
46. นายกเทศมนตรีมีสิทธิ เสนอชื่อบุคคลผู้ เป็ นหรื อมิ ได้ เป็น สมาชิ ก เพื่อให้ สภาเทศบาลแต่งตั้งเป็ น
กรรมการในคณะกรรมการวิสามัญได้ไม่เกินเท่าใดของจํานวนกรรมการทั้งหมด
ไม่เกิน 1 ใน 4 (มาตรา 32 วรรคสอง)
คณะกรรมการสามั ญ คณะกรรมการวิ ส ามั ญ ของสภาเทศบาล จะแต่ งตั้ งคณะอนุ กรรมการเพื่ อ
พิจารณาหรือปฏิบัติการในเรื่องหนึ่งตามที่คณะกรรมการมอบหมายก็ได้ (มาตรา 32 วรรคท้าย
47. ในกรณีกิจการอื่นใดอาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของเทศบาลหรือประชาชนในท้องถิ่น สมาชิกสภา
เทศบาลจํ า นวนไม่ น้ อ ยกว่ า เท่ า ใดของจํ า นวนสมาชิ ก เท่ า ที่ มี อ ยู่ ห รื อ นายกเทศมนตรี อ าจเสนอต่ อ
ประธานสภาเทศบาลเพื่อให้มีการออกเสียงประชามติในท้องถิ่นได้ และประกาศให้ประชาชนทราบ
ไม่น้อยกว่า กึ่งหนึ่ง (มาตรา 32 ทวิ)
48. การออกเสียงประชามติต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์ในการขอปรึกษาความเห็นของประชาชนว่าจะ
เห็นชอบหรือไม่เห็นชอบกิจการสําคัญในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งมิใช่เรื่องที่ขัดหรือแย้งต่อกฎหมาย การออก
เสียงประชามติที่เกี่ยวกับตัวบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือคณะบุคคลใดคณะบุคคลหนึ่ง โดยเฉพาะจะกระทําได้
หรือไม่
มิได้ (มาตรา 32 ทวิ)
ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลย่อมมีสิทธิออกเสียงประชามติ
การออกเสี ย งประชามติ ต ามมาตรานี้ ใ ห้ มี ผ ลเป็ น เพี ย งการให้ คํ า ปรึ ก ษาแก่ ส ภาเทศบาลหรื อ
นายกเทศมนตรีในเรื่องนั้น
หลักเกณฑ์และวิธีการออกเสียงประชามติให้เป็นไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออก
เสียงประชามติ
49. คณะเทศมนตรี ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ถูกยกเลิกโดย
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขถึงฉบับที่ 12 พ.ศ. 2546
50. ให้เทศบาลมีนายกเทศมนตรีคนหนึ่งซึ่งมาจาก
การเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหาร
ท้องถิ่น (มาตรา 48 ทวิ)
51. บุคคลผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นนายกเทศมนตรี
(1) มีอายุไม่ต่ํากว่า 30 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
(2) สํ าเร็ จการศึ กษาไม่ต่ํากว่ าปริ ญญาตรีห รื อเที ยบเท่า หรื อเคยเป็ น สมาชิกสภาท้ องถิ่ นผู้ บ ริห าร
ท้องถิ่น หรือสมาชิกรัฐสภา (ส.อบต. นายกอบต. นายกอบจ. สมาชิกอบจ. ฯลฯ)
(3)ไม่ เป็ น ผู้ที่พ้นจากตํ าแหน่งสมาชิกสภาท้ องถิ่ น คณะผู้บ ริ หารท้องถิ่ น หรื อผู้บ ริ หารท้ องถิ่ น รอง
ผู้ บ ริ ห ารท้ องถิ่ น หรื อที่ ป รึ กษาหรื อเลขานุ การของผู้ บ ริ ห ารท้ องถิ่ น เพราะเหตุ มีส่ ว นได้ เสี ยไม่ ว่ า
ทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาที่กระทํากับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยังไม่ถึงห้าปีนับถึงวันรับสมัคร
เลือกตั้ง
รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs

หนา 9
(4) เคยเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ซึ่งถูกให้พ้นจากตําแหน่งเนื่องจากกระทําการ
ทุจริตหรือประพฤติมิชอบ
(5) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
(6) มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่สมัครรับเลือกตั้งเป็นเวลาติดต่อกันไม่
น้อยกว่า 1 ปี นับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง หรือ
(7) ได้เสียภาษีตามกฎหมายว่าด้วยภาษีโรงเรือน และที่ดินหรือกฎหมายว่าด้วยภาษีบํารุงท้องที่ให้กับ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นเป็นเวลาติดต่อกัน 3 ปี นับถึงปีที่สมัครรับเลือกตั้ง และ
(8) คุณสมบัติอื่นที่กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกําหนด
(9) จะต้องไม่เป็นผู้ที่พ้นจากตําแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
รองผู้บริหารท้องถิ่นหรือที่ปรึกษาหรือเลขานุการของผู้บริหารท้องถิ่น เพราะเหตุมีส่วนได้เสียไม่ว่า
ทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาหรือกิจการที่กระทํากับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยังไม่ถึง 5 ปีนับถึง
วันรับสมัครเลือกตั้ง
52. ผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นนายกเทศมนตรี มีคุณสมบัติอย่างไรห้ามใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้ง
(1) ติดยาเสพติดให้โทษ
(2) เป็นบุคคลล้มละลาย
(3) วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
(4) เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช
(5) อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง
(6) ต้องคําพิพากษาให้จําคุกและถูกคุมขังอยู่โดยหมายศาล
(7)ได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุกตั้งแต่ 2 ปี ขึ้นไป และได้พ้นโทษมายังไม่ถึง 5 ปี นับ
ถึงวันเลือกตั้ง เว้นแต่ในความผิดอันได้กระทําโดยประมาท
(8) ต้องคําพิพากษาถึงที่สุดว่ากระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ไม่ว่าจะได้รับโทษหรือไม่ โดยได้
พ้นโทษหรือต้องคําพิพากษามายังไม่ถึง 5 ปีนับถึงวันเลือกตั้งแล้วแต่กรณี
(9)เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตต่อ
หน้าที่ หรือถือว่ากระทําการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ
(10)เคยต้องคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ํารวยผิดปกติ หรือมี
ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ
(11) เคยถูกถอดถอนออกจากตําแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถิ่น
หรือผู้บริหารท้องถิ่น ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หรือกฎหมายว่าด้วยการ
ลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น แล้วแต่กรณี มายังไม่ถึง 5 ปีนับ
ถึงวันเลือกตั้ง

รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs

หนา 10

More Related Content

What's hot

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติมปล่อยใจ ตามสบาย
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...ประพันธ์ เวารัมย์
 
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน25502 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550สายฝน ต๊ะวันนา
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...ประพันธ์ เวารัมย์
 

What's hot (13)

สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
 
พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549
พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549
พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549
 
แนวข้อสอบ ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2541
แนวข้อสอบ ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  พ.ศ. 2541แนวข้อสอบ ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  พ.ศ. 2541
แนวข้อสอบ ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2541
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบั...
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
 
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549 4...
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549  4...แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549  4...
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549 4...
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
 
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน25502 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
2 พรบ.ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน2550
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
 

Viewers also liked

Disinvestment - A Financial Strategy
Disinvestment - A Financial StrategyDisinvestment - A Financial Strategy
Disinvestment - A Financial StrategyBurhirox
 
решение текстовых задач с помощью уравнений
решение текстовых задач с помощью уравненийрешение текстовых задач с помощью уравнений
решение текстовых задач с помощью уравненийSalmovAlex
 
использование модульно рейтинговой системы обучения математики учащихся профи...
использование модульно рейтинговой системы обучения математики учащихся профи...использование модульно рейтинговой системы обучения математики учащихся профи...
использование модульно рейтинговой системы обучения математики учащихся профи...SalmovAlex
 
упр.25 преобразование выражений при решений уравнений
упр.25 преобразование выражений при решений уравненийупр.25 преобразование выражений при решений уравнений
упр.25 преобразование выражений при решений уравненийSalmovAlex
 
чемоданчик здоровья
чемоданчик здоровьячемоданчик здоровья
чемоданчик здоровьяSalmovAlex
 
6кл. урок
6кл. урок6кл. урок
6кл. урокSalmovAlex
 
параллельные пряме
параллельные прямепараллельные пряме
параллельные прямеSalmovAlex
 
работа с одаренными детьми
работа с одаренными детьмиработа с одаренными детьми
работа с одаренными детьмиSalmovAlex
 
Staying healthy while on the road
Staying healthy while on the roadStaying healthy while on the road
Staying healthy while on the roadnovushealth
 
текстовые задачи с помощью уравнений.
текстовые задачи с помощью уравнений.текстовые задачи с помощью уравнений.
текстовые задачи с помощью уравнений.SalmovAlex
 
My future us a teacher
My future us a teacherMy future us a teacher
My future us a teacherRea Sumalinog
 
Training & Development
Training & DevelopmentTraining & Development
Training & DevelopmentBurhirox
 
Teori Asuhan Kebidanan JEAN BALL
Teori Asuhan Kebidanan JEAN BALL Teori Asuhan Kebidanan JEAN BALL
Teori Asuhan Kebidanan JEAN BALL UNIVERSITAS ANDALAS
 

Viewers also liked (16)

Disinvestment - A Financial Strategy
Disinvestment - A Financial StrategyDisinvestment - A Financial Strategy
Disinvestment - A Financial Strategy
 
решение текстовых задач с помощью уравнений
решение текстовых задач с помощью уравненийрешение текстовых задач с помощью уравнений
решение текстовых задач с помощью уравнений
 
использование модульно рейтинговой системы обучения математики учащихся профи...
использование модульно рейтинговой системы обучения математики учащихся профи...использование модульно рейтинговой системы обучения математики учащихся профи...
использование модульно рейтинговой системы обучения математики учащихся профи...
 
упр.25 преобразование выражений при решений уравнений
упр.25 преобразование выражений при решений уравненийупр.25 преобразование выражений при решений уравнений
упр.25 преобразование выражений при решений уравнений
 
6
66
6
 
чемоданчик здоровья
чемоданчик здоровьячемоданчик здоровья
чемоданчик здоровья
 
6кл. урок
6кл. урок6кл. урок
6кл. урок
 
Diccionario Ingles
Diccionario InglesDiccionario Ingles
Diccionario Ingles
 
параллельные пряме
параллельные прямепараллельные пряме
параллельные пряме
 
работа с одаренными детьми
работа с одаренными детьмиработа с одаренными детьми
работа с одаренными детьми
 
Staying healthy while on the road
Staying healthy while on the roadStaying healthy while on the road
Staying healthy while on the road
 
текстовые задачи с помощью уравнений.
текстовые задачи с помощью уравнений.текстовые задачи с помощью уравнений.
текстовые задачи с помощью уравнений.
 
My future us a teacher
My future us a teacherMy future us a teacher
My future us a teacher
 
Training & Development
Training & DevelopmentTraining & Development
Training & Development
 
Teori Asuhan Kebidanan JEAN BALL
Teori Asuhan Kebidanan JEAN BALL Teori Asuhan Kebidanan JEAN BALL
Teori Asuhan Kebidanan JEAN BALL
 
TRAI
TRAITRAI
TRAI
 

Similar to чемоданчик здоровья не цвет

แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 พ....
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 พ....แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 พ....
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 พ....ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติมแนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติมsasithorn pachareon
 

Similar to чемоданчик здоровья не цвет (9)

สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
 
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ถามตอบ 115 ข้อ
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550  ถามตอบ 115  ข้อแนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550  ถามตอบ 115  ข้อ
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ถามตอบ 115 ข้อ
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 พ....
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 พ....แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 พ....
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 พ....
 
สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
 
สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
 
T 0164
T 0164T 0164
T 0164
 
3 เทศบาล
3 เทศบาล3 เทศบาล
3 เทศบาล
 
แนวข้อสอบเทศบาล (ถาม ตอบ)
แนวข้อสอบเทศบาล (ถาม ตอบ)แนวข้อสอบเทศบาล (ถาม ตอบ)
แนวข้อสอบเทศบาล (ถาม ตอบ)
 
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติมแนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
 

чемоданчик здоровья не цвет

  • 1. แนวขอสอบ พระราชบัญญัตเิ ทศบาล พ.ศ. 2496 แกไขเพิมเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ.2552 ่ 2552 ถาม-ตอบ)และสรุ ่ งเทศบาล (ถาม-ตอบ)และสรุปเรืองเทศบาล ชุดที่ 2 โดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs หรือ http://valrom2012.fix.gs
  • 2. แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552 (ถาม – ตอบ) และสรุปเรื่องเทศบาล โดย ประพันธ์ เวารัมย์ **************** 1. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ตราขึ้น เป็นปีที่เท่าใดในรัชกาลปัจจุบัน ให้ไว้ ณ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496 เป็นเป็นปีที่ 8 ในรัชกาลปัจจุบัน 2. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่เท่าใด วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา (รก.2496/14/222/17 กุมภาพันธ์ 2496) (มาตรา 2) วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2496 3. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ให้ยกเลิกกฎหมายใด พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2486 (มาตรา 3) 4. เมื่อพ้นกําหนดหนึ่งปี นับแต่วันที่ได้ประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะท้องถิ่นใดเป็นเทศบาลเมืองหรือ เทศบาลนครแล้ว ห้ามมิให้ใช้กฎหมายใด กฎหมายว่าด้วยลักษณะปกครองท้องที่ ในส่วนที่บัญญัติถึงการ กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจําตําบล และสารวัตรกํานัน และให้บุคคลดังกล่าวพ้นจากตําแหน่งและหน้าที่เฉพาะในเขตท้องที่นั้น (มาตรา 4) 5. ในเขตเทศบาลตําบลใด ถ้าหมดความจําเป็นที่จะต้องมีตําแหน่งกํานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจําตําบล หรือสารวัตรกํานัน ให้ใครดําเนินการอย่างไร รัฐมนตรีประกาศยกเลิกตําแหน่งดังกล่าวในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 4 วรรคสอง) 6. ให้เทศบาลที่จัดตั้งขึ้นแล้ว วันใช้พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 นี้ คงมีฐานะเป็นเทศบาลตําบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร ตามที่เป็นอยู่ แล้วแต่กรณี มีอํานาจหน้าที่และอยู่ในบังคับแห่งพระราชบัญญัตินี้ (มาตรา 5) 7. บรรดาเทศบัญญัติที่ได้ออกโดยอาศัยอํานาจตามพ.ร.บ.จัดระเบียบเทศบาล พ.ศ. 2476 และพ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ. 2481 และพ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. 2486 ให้คงบังคับได้ ในกรณีที่ผู้กระทําผิดเทศบัญญัติ ให้ ดําเนินการอย่างไร ให้นําบทบัญญัติมาตรา 60 วรรคท้ายแห่งพ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ. 2496 มาบังคับใช้ (ในเทศบัญญัตินั้น จะกําหนดโทษปรับผู้ละเมิดเทศบัญญัติไว้ด้วยก็ได้ แต่ห้ามมิให้กําหนดเกินกว่าหนึ่งพันบาท) รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 1
  • 3. 7. หากมีการจัดตั้งเทศบาลตามพระราชบัญญัตินี้ หรือกฎหมายว่าด้วยสภาตําบลและองค์การบริหารส่วน ตําบล (ยกฐานะเป็นเทศบาล) ให้เลือกสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรี ตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้ง สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นภายในกี่วัน นับตั้งแต่วันที่ได้จัดตั้งเป็นเทศบาล 45 วัน (มาตรา 8) 8. ในระหว่างที่ไม่มีนายกเทศมนตรี กรณียกฐานะจากองค์การบริหารส่วนตําบล เป็นเทศบาล ให้ใครปฏิบัติ หน้าที่นายกเทศมนตรีเท่าที่จําเป็นได้เป็นการชั่วคราว จนถึงวันประกาศผลการเลือกตั้งนายกเทศมนตรี ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลปฏิบัติหน้าที่ปลัดเทศบาล และปฏิบัติหน้าที่นายกเทศมนตรี (มาตรา 8 วรรคสอง) 9. ท้องถิ่นใดที่ยกฐานะเป็นเทศบาลตําบล จะต้องดําเนินการอย่างไร ประกาศกระทรวงมหาดไทย ยกฐานะเป็นเทศบาลตําบล กรณีมี 2 กรณี คือ 1. องค์การบริหารส่วนตําบลที่ยกฐานะเป็นเทศบาลตําบล (มาตรา 9) 2. ผลของพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของ สุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. 2542 10. เทศบาลเมือง ได้แก่ 1. ท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด หรือ 2. ท้องถิ่นที่มีราษฎรตั้งแต่ 10,00 คนขึ้นไป ทั้งมีรายได้พอควรแก่การที่จะปฎิบัติหน้าที่อันต้องทําตาม พระราชบัญญัตินี้ 3. มีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะเป็นเทศบาลเมือง ประกาศกระทรวงมหาดไทยนั้นให้ระบุชื่อ และเทศบาลเขตของเทศบาลไว้ด้วย (มาตรา 10) สรุป คําว่า “หรือ” ไม่จําเป็นต้องเป็นท้องถิ่นที่ถิ่นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ ข้อ 1 หรือ ข้อ 2 อย่างใด อย่างหนึ่ง (ส่วนข้อ 3 เป็นวิธีปฏิบัติ) 10. เทศบาลนคร ได้แก่ ท้องถิ่นชุมนุมชนมีราษฎรตั้งแต่เท่าใดขึ้นไป 50 ,000 ขึ้นไป ทั้งมีรายได้พอควรแก่การที่จะปฏิบัติหน้าที่อันต้องทําตามพระราชบัญญัตินี้ มีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะเป็นเทศบาลนคร ประกาศกระทรวงมหาดไทยนั้นให้ระบุชื่อ และเทศบาลเขตของเทศบาลไว้ด้วย (มาตรา 11) 11. ในกรณีที่เป็นการเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลเมืองหรือเทศบาล ไปท้องถิ่นที่ได้เปลี่ยนแปลงเขตเป็น เทศบาล นคร ให้กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจําตําบล และสารวัตรกํานัน สิ้นสุดอํานาจหน้าที่เฉพาะใน เขตที่ได้เปลี่ยนแปลงเมื่อพ้นกําหนดกี่ปี 1 ปี นับแต่วันที่ประกาศกระทรวงมหาดไทยเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลใช้บังคับต้นไป 11. ท้องถิ่นซึ่งได้ยกฐานะเป็นเทศบาล แล้วอาจถูกเปลี่ยนแปลงฐานะหรือยุบเลิกได้โดยทําเป็นกฎหมายใด ประกาศกระทรวงมหาดไทย (มาตรา 13) รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 2
  • 4. 12. สภาเทศบาลตําบลประกอบด้วยสมาชิกสภาเทศบาลซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตาม กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น เทศบาลตําบล จํานวนกี่คน สภาเทศบาลตําบล ประกอบด้วยสมาชิกจํานวน 12 คน (มาตรา 15) 13. สภาเทศบาลเมืองประกอบด้วยสมาชิกสภาเทศบาลซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตาม กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น เทศบาลเมือง จํานวนกี่คน สภาเทศบาลเมือง ประกอบด้วยสมาชิกจํานวน 18 คน (มาตรา 15) 14. สภาเทศบาลนครประกอบด้วยสมาชิกสภาเทศบาลซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตาม กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น เทศบาลนคร จํานวนกี่คน สภาเทศบาลตําบลนคร ประกอบด้วยสมาชิกจํานวน 24 คน (มาตรา 15) 15. ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาล (1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด (2) มีอายุไม่ต่ํากว่า 25 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง (3) มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่สมัครรับเลือกตั้งเป็นเวลาติดต่อกัน ไม่น้อยกว่า 1 ปี นับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง หรือ (4) ได้เสียภาษีตามกฎหมายว่าด้วยภาษีโรงเรือน และที่ดินหรือกฎหมายว่าด้วยภาษีบํารุงท้องที่ให้กับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นเป็นเวลาติดต่อกัน 3 ปี นับถึงปีที่สมัครรับเลือกตั้ง และ (5) คุณสมบัติอื่นที่กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกําหนด (มาตรา 44 ) จะต้องไม่เป็นผู้ที่พ้นจากตําแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น รอง ผู้บริหารท้องถิ่นหรือที่ปรึกษาหรือเลขานุการของผู้บริหารท้องถิ่น เพราะเหตุมีส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรง หรือทางอ้อมในสัญญาหรือกิจการที่กระทํากับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยังไม่ถึง 5 ปีนับถึงวันรับ สมัครเลือกตั้ง 16. ผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาล มีคุณสมบัติอย่างไรห้ามใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้ง (1) ติดยาเสพติดให้โทษ (2) เป็นบุคคลล้มละลาย (3) วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ (4) เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช (5) อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง (6) ต้องคําพิพากษาให้จําคุกและถูกคุมขังอยู่โดยหมายศาล (7)ได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุกตั้งแต่ 2 ปี ขึ้นไป และได้พ้นโทษมายังไม่ถึง 5 ปี นับ ถึงวันเลือกตั้ง เว้นแต่ในความผิดอันได้กระทําโดยประมาท (8) ต้องคําพิพากษาถึงที่สุดว่ากระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ไม่ว่าจะได้รับโทษหรือไม่ โดยได้ พ้นโทษหรือต้องคําพิพากษามายังไม่ถึง 5 ปีนับถึงวันเลือกตั้งแล้วแต่กรณี รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 3
  • 5. (9)เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตต่อ หน้าที่ หรือถือว่ากระทําการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ (10)เคยต้องคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ํารวยผิดปกติ หรือมี ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ (11) เคยถูกถอดถอนออกจากตําแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หรือกฎหมายว่าด้วยการ ลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น แล้วแต่กรณี มายังไม่ถึง 5 ปีนับ ถึงวันเลือกตั้ง (12) อยู่ในระหว่างเสียสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น ตามมาตรา 37 หรือตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิก วุฒิสภา (13) เคยถู ก คณะกรรมการการเลื อ กตั้ ง สั่ ง เพิ ก ถอนสิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง มายั ง ไม่ ถึ ง 1 ปี นั บ แต่ วั น ที่ คณะกรรมการการเลือกตั้งมีคําสั่งอันเนื่องมาจากการกระทําการโดยไม่สุจริตตามพระราชบัญญัตินี้ หรือกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาเพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่น ได้รับเลือกตั้ง หรือได้รับเลือกตั้งมาโดยไม่สุจริต (14) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น (15) เป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภา หรือเป็นผู้สมัครรับ เลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเดียวกัน หรือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น (16) เป็นข้าราชการซึ่งมีตําแหน่งหรือเงินเดือนประจํา (17) เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือเป็น เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ (18) เป็นกรรมการการเลือกตั้ง กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญหรือผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา (19) ลักษณะอื่นที่กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกําหนด 17. ในกรณีที่ตําแหน่งสมาชิกสภาเทศบาลว่างลงไม่ว่าด้วยเหตุใดและยังมิได้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภา เทศบาลขึ้นแทนตําแหน่งที่ว่าง ให้ดําเนินการอย่างไร ให้สภาเทศบาลประกอบด้วยสมาชิกสภาเทศบาลเท่าที่มีอยู่ (มาตรา 15 วรรคท้าย) 18. สมาชิกสภาเทศบาลให้อยู่ในตําแหน่งได้คราวละกี่ปี 4 ปี (มาตรา 16) รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 4
  • 6. 19. สมาชิกสภาเทศบาลครบวาระ ให้เลือกตั้งภายในกี่วัน 45 วั น (มาตรา 7 พระราชบั ญ ญั ติ ก ารเลื อ กตั้ ง สมาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น หรื อ ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น พ.ศ. 2545 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2554) 20. กรณีสมาชิกสภาเทศบาลตาย หรือพ้นจากตําแหน่งเหตุอื่น นอกเหนือจากครบวาระ ให้เลือกตั้งภายใน กี่วัน 60 วั น (มาตรา 7 พระราชบั ญ ญั ติ ก ารเลื อ กตั้ ง สมาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น หรื อ ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น พ.ศ. 2545 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2554) 21. กรณีสมาชิกสภาเทศบาลวาระการดํารงตําแหน่งไม่ถึงจําเท่าใด ไม่ต้องเลือกตั้งใหม่ 180 วั น (มาตรา 7 พระราชบั ญ ญั ติ ก ารเลื อ กตั้ ง สมาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น หรื อ ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น พ.ศ. 2545 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2554) 22. สมาชิกสภาเทศบาลสิ้นสุดสมาชิกภาพเมื่อใด (1) ถึงคราวออกตามวาระ หรือมีการยุบสภาเทศบาล (2) ตาย (3) ลาออก โดยยื่นหนังสือลาออกต่อผู้ว่าราชการจังหวัด (4) พ้ นจากตํ าแหน่ งสมาชิ กสภาท้ องถิ่ น คณะผู้ บ ริ หารท้ องถิ่ น หรื อผู้ บ ริ ห ารท้ องถิ่น รองผู้ บ ริ ห าร ท้องถิ่นหรือที่ปรึกษาหรือเลขานุการของผู้บริหารท้องถิ่น เพราะเหตุมีส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรงหรือ ทางอ้อมในสัญญาหรือกิจการที่กระทํากับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยังไม่ถึงห้าปีนับถึงวันรับสมัคร เลือกตั้ง (5) ขาดประชุมสภาเทศบาลสามครั้งติดต่อกันโดยไม่มีเหตุอันสมควร (6) กระทําการอันต้องห้าม คือ เป็นผู้มีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาที่เทศบาล นั้นเป็นคู่สัญญาหรือในกิจการที่กระทําให้แก่เทศบาลนั้น หรือที่เทศบาลนั้นจะกระทํา (7)สภาเทศบาลมีมติให้พ้นจากตําแหน่ง โดยเห็นว่ามีความประพฤติในทางที่จะนํามาซึ่งความเสื่อมเสีย หรือก่อความไม่สงบเรียบร้อยแก่เทศบาลหรือกระทําการอันเสื่อมเสียประโยชน์ของสภาเทศบาล โดยมี สมาชิกสภาเทศบาลจํานวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจํานวนสมาชิกสภาเทศบาลทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ เข้าชื่อเสนอให้สภาเทศบาลพิจ ารณา และมติดังกล่าวต้ องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของ จํานวนสมาชิกสภาเทศบาลทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ทั้งนี้ ให้สมาชิกภาพสิ้นสุดลงนับแต่วันที่สภาเทศบาลมี มติ (8) ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเทศบาลมีจํานวนไม่น้อยกว่า3 ใน 4 ของจํานวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่มา ลงคะแนนเสียง เห็นว่าสมาชิกสภาเทศบาลผู้ใดไม่สมควรดํารงตําแหน่งต่อไปตามกฎหมายว่าด้วยการ ลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 5
  • 7. ในกรณีที่สมาชิกภาพของสมาชิกสภาเทศบาลสิ้นสุดลงตาม (8) พร้อมกันทั้งหมด ให้ถือว่าเป็นการยุบ สภาเทศบาล 23. ประธานสภาและรองประธานสภา มีจํานวนกี่คน และใครเป็นคนแต่งตั้ง ประธานสภาคนหนึ่ง และรองประธานสภาคนหนึ่ง ซึ่ งผู้ว่ าราชการจังหวั ดแต่ งตั้ งจากสมาชิกสภา เทศบาลตามมติของสภาเทศบาล (มาตรา 20) 24. ประธานสภาและรองประธานสภา ดํารงตําแหน่งจนครบอายุของสภาเทศบาล และพ้นจากตําแหน่ง อย่างไร (1) ยืนหนังสือลาออกต่อผู้ว่าราชการจังหวัด (2) สิ้นสุดสมาชิกภาพของสมาชิกสภาเทศบาล (3) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยสั่งให้พ้นจากตําแหน่ง ในกรณี ที่ ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด เห็ น ว่ า ประธานสภาเทศบาล หรือรองประธานสภาเทศบาล ปฏิบัติการฝ่าฝืนต่อความสงบเรียบร้อย หรือ สวัสดิภาพของประชาชน ละเลยไม่ปฏิบัติตามหรือปฏิบัติการไม่ชอบด้วยอํานาจหน้าที่ หรือมีความ ประพฤติในทางจะนํามาซึ่งความเสื่อมเสียแก่ศักดิ์ตําแหน่ง หรือแก่เทศบาล หรือแก่ราชการ ให้เสนอ ความเห็ น ต่ อ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงมหาดไทยพร้ อ มด้ ว ยหลั ก ฐาน รั ฐ มนตรี ว่ า การ กระทรวงมหาดไทยอาจใช้ดุลพินิจสั่งให้ ประธานสภาเทศบาล หรือรองประธานสภาเทศบาลพ้นจาก ตําแหน่งก็ได้ คําสั่งของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยให้เป็นที่สุด (4) สภาเทศบาลมีมติให้พ้นจากตําแหน่ง โดยเห็นว่ามีความประพฤติในทางจะนํามาซึ่งความเสื่อมเสีย แก่ ศั ก ดิ์ ตํ า แหน่ ง หรื อ สภาเทศบาล ปฏิ บั ติ ก ารฝ่ า ฝื น ต่ อ ความสงบเรี ย บร้ อ ยหรื อ สวั ส ดิ ภ าพของ ประชาชน หรือละเลยไม่ปฏิบัติการหรือปฏิบัติการไม่ชอบด้วยอํานาจหน้าที่ โดยมีสมาชิกสภาเทศบาล จํานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจํานวนสมาชิกสภาเทศบาลทั้งหมดเท่าที่มีอยู่เข้าชื่อเสนอให้สภา เทศบาลพิ จ ารณา และมติ ดังกล่ าวต้ องมี คะแนนเสี ยงไม่ น้ อยกว่ าสามในสี่ของจํ านวนสมาชิ กสภา เทศบาลทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ทั้งนี้ ให้พ้นจากตําแหน่งนับแต่วันที่สภาเทศบาลมีมติ ผู้ซึ่งพ้นจากตําแหน่งประธานสภาเทศบาลหรือรองประธานสภาเทศบาลตาม (3) หรือ (4) จะดํารง ตําแหน่งประธานสภาเทศบาลหรือรองประธานสภาเทศบาลอีกไม่ได้ตลอดอายุของสภาเทศบาลนั้น ให้ประธานสภาเทศบาล หรือรองประธานสภาเทศบาลที่ได้รับเลือกใหม่อยู่ในตําแหน่งตามวาระของ ผู้ซึ่งตนแทน 25. ประธานสภาและรองประธานสภา ว่างลงเพราะเหตุใดเหตุหนึ่ง ให้สภาเลือกสมาชิกสภาเทศบาลขึ้น แทนตําแหน่งที่ว่างภายในกี่วัน 15 วัน นับแต่วันที่ตําแหน่งว่างลง (มาตรา 20 ตรี) รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 6
  • 8. 26. ใครมีหน้าที่ดําเนินกิจการของสภาเทศบาลให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับการประชุมสภาเทศบาล ประธานสภา และรองประธานสภา มี ห น้ า ที่ ก ระทํ า กิ จ การแทนประธานสภาเทศบาลในเมื่ อ ประธานสภาเทศบาลไม่อยู่ หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ (มาตรา 21) 27. กรณีประธานและรองประธานสภาเทศบาลไม่อยู่ในที่ประชุม ให้ดําเนินการอย่างไร ให้สมาชิกสภาเทศบาลเลือกตั้งกันเองเป็นประธานเฉพาะในคราวประชุมนั้น 28. หน่วยงานใด เป็นผู้วางระเบียบข้อบังคับการประชุมสภาเทศบาล กระทรวงมหาดไทย (มาตรา 23) 29. ในปีหนึ่งให้มีสมัยประชุมสามัญกี่สมัย 4 สมั ย สมั ยประชุ มสามัญครั้ งแรกและวั น เริ่ มประชุ มสมั ย สามั ญประจํ าปี ให้ ส ภาเทศบาลกํ าหนด (มาตรา 24) 30. ใครต้องกําหนดให้สมาชิกสภาเทศบาลได้มาประชุมสภาเทศบาลครั้งแรก ผู้ว่าราชการจังหวัด (มาตรา 24 วรรคสอง) 31. การประชุมสภาเทศบาลครั้งแรก ภายในกี่วันนับแต่วันประกาศผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลครบ ตามจํานวนแล้ว และให้ที่ประชุมเลือกประธานสภาเทศบาลและรองประธานสภาเทศบาล 15 วัน (มาตรา 24 วรรคสอง) 32. กรณีที่สภาเทศบาลไม่อาจจัดให้มีการประชุมครั้งแรกได้ตามกําหนดเวลา หรือมีการประชุมสภา เทศบาลแต่ไม่อาจเลือกประธานสภาเทศบาลได้ ใครอาจเสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยให้มีคําสั่ง ยุบสภาเทศบาล ผู้ว่าราชการจังหวัด (มาตรา 24 วรรคสาม) 33.สมัยประชุมสามัญสมัยหนึ่งๆ ให้มีกําหนดไม่เกินกี่วัน แต่ถ้าจะขยายเวลาออกไปอีกจะต้องได้รับอนุญาต จากใคร ไม่เกิน 30 วัน / ผู้ว่าราชการจังหวัด (มาตรา 24 วรรคท้าย) ***ระวังข้อสอบออกบ่อยมาก** อย่า สับสนสมัยสามัญกับสมัยวิสามัญต่างกันน่ะครับ 34. โดยปกติให้ประธานสภาเทศบาลเป็นผู้เรียกประชุมสภาเทศบาลตามสมัยประชุม และเป็นผู้เปิดหรือปิดประชุม ในกรณีที่ยังไม่มีประธานสภาเทศบาล หรือประธานสภาเทศบาลไม่เรียกประชุมตามกฎหมาย ให้ใครเป็นผู้เรียก ประชุมและเป็นผู้เปิดหรือปิดประชุม ผู้ว่าราชการจังหวัด (มาตรา 24 วรรคสอง) 35. นอกจากสมัยประชุมสามัญแล้ว เมื่อเห็นว่าเป็นการจําเป็นเพื่อประโยชน์แห่งเทศบาล ใครอาจทําคํา ร้องยื่นต่อผู้ว่าราชการจังหวัดขอให้เปิดประชุมวิสามัญ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณา ถ้าเห็นสมควรก็ให้ ผู้ว่าราชการจังหวัดเรียกประชุมวิสามัญได้ ประธานสภาเทศบาล หรือนายกเทศมนตรี หรือสมาชิกสภาเทศบาลมีจํานวนไม่ต่ํากว่ากึ่งหนึ่งของ จํานวนสมาชิกที่อยู่ในตําแหน่ง (มาตรา 26) รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 7
  • 9. 36. สมัยประชุมวิสามัญให้มีกําหนดไม่เกินกี่วัน แต่ถ้าจะขยายเวลาออกไปอีก จะต้องได้รับอนุญาตจากใคร ไม่เกิน 15 วัน / ผู้ว่าราชการจังหวัด (มาตรา 26 วรรคสอง) ***ระวังข้อสอบออกบ่อยมาก** อย่า สับสนสมัยวิสามัญกับสมัยสามัญต่างกันน่ะครับ 37. การประชุมสภาเทศบาล ต้องมีสมาชิกสภาเทศบาลมาประชุมไม่น้อยกว่าเท่าใด ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกเท่าที่อยู่ จึงจะเป็นองค์ประชุม 38. การลงมติวินิจฉัยข้อปรึกษานั้น ให้ดําเนินการอย่างไร ถือเอาเสียงข้างมากเป็นประมาณ เว้นแต่จะมีบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นในพระราชบัญญัตินี้ 39.สมาชิกสภาเทศบาลคนหนึ่งย่อมมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้ามีจํานวนลงเสียงลงคะแนนเท่ากัน ให้ ใครออกเสียงเพิ่มได้อีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด ประธานสภาเทศบาล (มาตรา 28 วรรคสอง) 40. ห้ามมิให้สภาเทศบาลประชุมปรึกษาหารือในเรื่องใด นอกเหนืออํานาจหน้าที่ หรือเรื่องที่ฝ่าฝืนกฎหมาย หรือเรื่องการเมืองแห่งรัฐ (มาตรา 29) 41. การประชุมของสภาเทศบาลย่อมเป็นการเปิดเผยตามลักษณะที่จะได้กําหนดไว้ในกฎหมายใด ระเบียบข้อบังคับการประชุมสภาเทศบาล (มาตรา 30) 42. เมื่อนายกเทศมนตรี หรือสมาชิกสภาเทศบาลรวมกันไม่น้อยกว่าเท่าใดของจํานวนสมาชิกที่มาประชุม ร้องขอให้ทําการประชุมลับ ก็ให้ประธานสภาเทศบาลดําเนินการประชุมลับได้ โดยไม่ต้องขอมติที่ประชุม ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 (มาตรา 30 วรรคสอง) 43. ในที่ ป ระชุ ม สภาเทศบาล สมาชิ ก สภาเทศบาลมี สิ ท ธิ ตั้ ง กระทู้ ถ ามนายกเทศมนตรี ห รื อ รอง นายกเทศมนตรีในข้อความใดๆ อันเกี่ยวกับการงานในหน้าที่ได้ แต่นายกเทศมนตรีหรือรองนายกเทศมนตรี มีสิทธิ ที่จะไม่ตอบ เมื่อเห็นว่าข้อความนั้นๆ ยังไม่ควรเปิดเผยเพราะเกี่ยวกับความปลอดภัยหรือประโยชน์ สําคัญของเทศบาล (มาตรา 31) ***ข้อสอบออกบ่อยมาก ระวังอาจตั้งคําถามเป็นรองนายกเทศมนตรี ก็ตอบเหมือนกันครับ*** 44. สภาเทศบาลมีอํานาจเลือกสมาชิกสภาเทศบาลเป็นคณะกรรมการอะไร คณะกรรมการสามัญ เพื่อกระทํากิจการหรือพิจารณาสอบสวนหรือศึกษาเรื่องใดๆ อันอยู่ในอํานาจ หน้าที่ของสภาเทศบาล แล้วรายงานต่อสภาเทศบาล (มาตรา 32) 45. สภาเทศบาลมีอํานาจเลือกบุคคลผู้เป็นหรือมิได้เป็นสมาชิก เป็นคณะกรรมการอะไร คณะกรรมการวิสามัญของสภาเทศบาล เพื่อกระทํากิจการหรือพิจารณาสอบสวนหรือศึกษาเรื่องใดๆ อันอยู่ในอํานาจหน้าที่ของสภาเทศบาล แล้วรายงานต่อสภาเทศบาล (มาตรา 32) ** ข้อสังเกตของคําถาม คือ ถ้าเป็นสมาชิกเป็นคณะกรรมการสามัญ ถ้ามิเป็นสมาชิก เป็นคณะการการวิสามัญ น่ะครับ*** รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 8
  • 10. 46. นายกเทศมนตรีมีสิทธิ เสนอชื่อบุคคลผู้ เป็ นหรื อมิ ได้ เป็น สมาชิ ก เพื่อให้ สภาเทศบาลแต่งตั้งเป็ น กรรมการในคณะกรรมการวิสามัญได้ไม่เกินเท่าใดของจํานวนกรรมการทั้งหมด ไม่เกิน 1 ใน 4 (มาตรา 32 วรรคสอง) คณะกรรมการสามั ญ คณะกรรมการวิ ส ามั ญ ของสภาเทศบาล จะแต่ งตั้ งคณะอนุ กรรมการเพื่ อ พิจารณาหรือปฏิบัติการในเรื่องหนึ่งตามที่คณะกรรมการมอบหมายก็ได้ (มาตรา 32 วรรคท้าย 47. ในกรณีกิจการอื่นใดอาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของเทศบาลหรือประชาชนในท้องถิ่น สมาชิกสภา เทศบาลจํ า นวนไม่ น้ อ ยกว่ า เท่ า ใดของจํ า นวนสมาชิ ก เท่ า ที่ มี อ ยู่ ห รื อ นายกเทศมนตรี อ าจเสนอต่ อ ประธานสภาเทศบาลเพื่อให้มีการออกเสียงประชามติในท้องถิ่นได้ และประกาศให้ประชาชนทราบ ไม่น้อยกว่า กึ่งหนึ่ง (มาตรา 32 ทวิ) 48. การออกเสียงประชามติต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์ในการขอปรึกษาความเห็นของประชาชนว่าจะ เห็นชอบหรือไม่เห็นชอบกิจการสําคัญในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งมิใช่เรื่องที่ขัดหรือแย้งต่อกฎหมาย การออก เสียงประชามติที่เกี่ยวกับตัวบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือคณะบุคคลใดคณะบุคคลหนึ่ง โดยเฉพาะจะกระทําได้ หรือไม่ มิได้ (มาตรา 32 ทวิ) ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลย่อมมีสิทธิออกเสียงประชามติ การออกเสี ย งประชามติ ต ามมาตรานี้ ใ ห้ มี ผ ลเป็ น เพี ย งการให้ คํ า ปรึ ก ษาแก่ ส ภาเทศบาลหรื อ นายกเทศมนตรีในเรื่องนั้น หลักเกณฑ์และวิธีการออกเสียงประชามติให้เป็นไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออก เสียงประชามติ 49. คณะเทศมนตรี ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ถูกยกเลิกโดย พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขถึงฉบับที่ 12 พ.ศ. 2546 50. ให้เทศบาลมีนายกเทศมนตรีคนหนึ่งซึ่งมาจาก การเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหาร ท้องถิ่น (มาตรา 48 ทวิ) 51. บุคคลผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นนายกเทศมนตรี (1) มีอายุไม่ต่ํากว่า 30 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง (2) สํ าเร็ จการศึ กษาไม่ต่ํากว่ าปริ ญญาตรีห รื อเที ยบเท่า หรื อเคยเป็ น สมาชิกสภาท้ องถิ่ นผู้ บ ริห าร ท้องถิ่น หรือสมาชิกรัฐสภา (ส.อบต. นายกอบต. นายกอบจ. สมาชิกอบจ. ฯลฯ) (3)ไม่ เป็ น ผู้ที่พ้นจากตํ าแหน่งสมาชิกสภาท้ องถิ่ น คณะผู้บ ริ หารท้องถิ่ น หรื อผู้บ ริ หารท้ องถิ่ น รอง ผู้ บ ริ ห ารท้ องถิ่ น หรื อที่ ป รึ กษาหรื อเลขานุ การของผู้ บ ริ ห ารท้ องถิ่ น เพราะเหตุ มีส่ ว นได้ เสี ยไม่ ว่ า ทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาที่กระทํากับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยังไม่ถึงห้าปีนับถึงวันรับสมัคร เลือกตั้ง รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 9
  • 11. (4) เคยเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ซึ่งถูกให้พ้นจากตําแหน่งเนื่องจากกระทําการ ทุจริตหรือประพฤติมิชอบ (5) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด (6) มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่สมัครรับเลือกตั้งเป็นเวลาติดต่อกันไม่ น้อยกว่า 1 ปี นับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง หรือ (7) ได้เสียภาษีตามกฎหมายว่าด้วยภาษีโรงเรือน และที่ดินหรือกฎหมายว่าด้วยภาษีบํารุงท้องที่ให้กับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นเป็นเวลาติดต่อกัน 3 ปี นับถึงปีที่สมัครรับเลือกตั้ง และ (8) คุณสมบัติอื่นที่กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกําหนด (9) จะต้องไม่เป็นผู้ที่พ้นจากตําแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่นหรือที่ปรึกษาหรือเลขานุการของผู้บริหารท้องถิ่น เพราะเหตุมีส่วนได้เสียไม่ว่า ทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาหรือกิจการที่กระทํากับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยังไม่ถึง 5 ปีนับถึง วันรับสมัครเลือกตั้ง 52. ผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นนายกเทศมนตรี มีคุณสมบัติอย่างไรห้ามใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้ง (1) ติดยาเสพติดให้โทษ (2) เป็นบุคคลล้มละลาย (3) วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ (4) เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช (5) อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง (6) ต้องคําพิพากษาให้จําคุกและถูกคุมขังอยู่โดยหมายศาล (7)ได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุกตั้งแต่ 2 ปี ขึ้นไป และได้พ้นโทษมายังไม่ถึง 5 ปี นับ ถึงวันเลือกตั้ง เว้นแต่ในความผิดอันได้กระทําโดยประมาท (8) ต้องคําพิพากษาถึงที่สุดว่ากระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ไม่ว่าจะได้รับโทษหรือไม่ โดยได้ พ้นโทษหรือต้องคําพิพากษามายังไม่ถึง 5 ปีนับถึงวันเลือกตั้งแล้วแต่กรณี (9)เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตต่อ หน้าที่ หรือถือว่ากระทําการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ (10)เคยต้องคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ํารวยผิดปกติ หรือมี ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ (11) เคยถูกถอดถอนออกจากตําแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หรือกฎหมายว่าด้วยการ ลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น แล้วแต่กรณี มายังไม่ถึง 5 ปีนับ ถึงวันเลือกตั้ง รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 10
  • 12. (12) อยู่ในระหว่างเสียสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น ตามมาตรา 37 หรือตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิก วุฒิสภา (13) เคยถู ก คณะกรรมการการเลื อ กตั้ ง สั่ ง เพิ ก ถอนสิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง มายั ง ไม่ ถึ ง 1 ปี นั บ แต่ วั น ที่ คณะกรรมการการเลือกตั้งมีคําสั่งอันเนื่องมาจากการกระทําการโดยไม่สุจริตตามพระราชบัญญัตินี้ หรือกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาเพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่น ได้รับเลือกตั้ง หรือได้รับเลือกตั้งมาโดยไม่สุจริต (14) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น (15) เป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภา หรือเป็นผู้สมัครรับ เลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเดียวกัน หรือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น (16) เป็นข้าราชการซึ่งมีตําแหน่งหรือเงินเดือนประจํา (17) เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือเป็น เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ (18) เป็นกรรมการการเลือกตั้ง กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญหรือผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา (19) ลักษณะอื่นที่กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกําหนด 53. นายกเทศมนตรี ดํารงตําแหน่งอย่างไร นั บ ตั้ ง แต่ วั น เลื อ กตั้ ง และมี ร ะยะการดํ า รงตํ า แหน่ ง คราวละ 4 ปี นั บ แต่ วั น เลื อ กตั้ ง (ซึ่งพ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552 ยกเลิก การดํารงตําแหน่งติดต่อกันเกิน สองวาระไม่ได้) 54. นายกเทศมนตรีอาจแต่งตั้งรองนายกเทศมนตรีซึ่งมิใช่สมาชิกสภาเทศบาลเป็นผู้ช่วยเหลือในการบริหาร ราชการของเทศบาลตามที่นายกเทศมนตรีมอบหมายได้ตามเกณฑ์ อย่างไร เทศบาลตําบล ให้แต่งตั้งรองนายกเทศมนตรีได้ไม่เกิน 2 คน เทศบาลเมือง ให้แต่งตั้งรองนายกเทศมนตรีได้ไม่เกิน 3 คน เทศบาลนคร ให้แต่งตั้งรองนายกเทศมนตรีได้ไม่เกิน 4 คน 55.นายกเทศมนตรีอาจแต่งตั้งที่ปรึกษานายกเทศมนตรีและเลขานุการนายกเทศมนตรี ซึ่งมิใช่สมาชิกสภา เทศบาลได้ เทศบาลตําบลให้แต่งตั้งได้จํานวนรวมกันไม่เกินกี่คน ไม่เกิน 2 คน (มาตรา 48 อัฎฐ) 56. นายกเทศมนตรีอาจแต่งตั้งที่ปรึกษานายกเทศมนตรีและเลขานุการนายกเทศมนตรี ซึ่งมิใช่สมาชิกสภา เทศบาลได้ เทศบาลเมืองให้แต่งตั้งได้จํานวนรวมกันไม่เกินกี่คน ไม่เกิน 3 คน (มาตรา 48 อัฎฐ) รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 11
  • 13. 57. นายกเทศมนตรีอาจแต่งตั้งที่ปรึกษานายกเทศมนตรีและเลขานุการนายกเทศมนตรี ซึ่งมิใช่สมาชิกสภา เทศบาลได้ เทศบาลนครให้แต่งตั้งได้จํานวนรวมกันไม่เกินกี่คน ไม่เกิน 5 คน (มาตรา 48 อัฎฐ) 58. ก่ อ นนายกเทศมนตรี เ ข้ า รั บ หน้ า ที่ ให้ ป ระธานสภาเทศบาลเรี ย กประชุ ม สภาเทศบาลเพื่ อ ให้ นายกเทศมนตรีแถลงนโยบายต่อสภาเทศบาล โดยไม่มีการลงมติ ทั้งนี้ ภายในกี่วันนับแต่วันประกาศผล การเลือกตั้งนายกเทศมนตรี 30 วัน (มาตรา 48 ทศ) 59. กรณีที่ไม่มีผู้ดํารงตําแหน่งประธานสภาเทศบาลและรองประธานสภาเทศบาล หรือสภาเทศบาลถูกยุบ หากมีกรณีที่สําคัญและจําเป็นเร่งด่วนซึ่งปล่อยให้เนิ่นช้าไปจะกระทบต่อประโยชน์สําคัญของราชการหรือ ราษฎร ใครจะดําเนินการไปพลางก่อนเท่าที่จําเป็นก็ได้ นายกเทศมนตรี (มาตรา 48 ทศ วรรคสอง) 60. เมื่อได้มีการเลือกประธานสภาเทศบาลแล้วให้ประธานสภาเทศบาลเรียกประชุมสภาเทศบาลเพื่อให้ นายกเทศมนตรีแถลงนโยบายโดยไม่มีการลงมติภายในกี่วันนับแต่วันที่มีการเลือกประธานสภาเทศบาล 15 วัน (มาตรา 48 ทศ วรรคสอง) 61.การประชุมเพื่อแถลงนโยบายของนายกเทศมนตรีให้กระทําโดยเปิดเผย โดยนายกเทศมนตรีต้องจัดทํา นโยบายเป็นลายลักษณ์อักษรแจกให้สมาชิกสภาเทศบาลทุกคนที่มาประชุมด้วย หากนายกเทศมนตรีไม่สามารถแถลงนโยบายต่อสภาเทศบาลได้ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแจ้งให้ นายกเทศมนตรีจัดทํานโยบายแจ้งเป็นหนังสือส่งให้สมาชิกสภาเทศบาลทุกคนภายในกี่วัน โดยให้นําวิธีการ แจ้ งคํา สั่ งทางปกครองเป็ นหนั งสื อตามกฎหมายว่ า ด้ วยวิ ธีปฏิ บัติร าชการทางปกครองมาใช้ บังคับโดย อนุโลม ในกรณีเช่นนี้ให้ถือว่านายกเทศมนตรีได้แถลงนโยบายต่อสภาเทศบาลแล้ว ให้นายกเทศมนตรีจัดทํารายงานแสดงผลการปฏิบัติงานตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อสภาเทศบาล เป็นประจําทุกปี คํา แถลงนโยบายของนายกเทศมนตรี แ ละรายงานแสดงผลการปฏิบัติ งานให้ ประกาศไว้ โ ดย เปิดเผยที่สํานักงานเทศบาลด้วย 7 วัน (มาตรา 48 ทศ วรรคสาม และวรรคสี่) 62.นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี หรือผู้ซึ่งนายกเทศมนตรีมอบหมาย มีสิทธิเข้าประชุมสภาเทศบาล และมีสิทธิแถลงข้อเท็จจริง ตลอดจนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานในหน้าที่ของตนต่อที่ประชุม แต่ไม่มี สิทธิดําเนินการอย่างไร ออกเสียงลงคะแนน (มาตรา 48 เอกาทศ) ***ข้อสอบเคยออกแล้ว** 63.สมาชิกจํานวนไม่น้อยกว่าเท่าใด ของจํานวนสมาชิกเท่าที่มีอยู่มีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปราย ทั่วไปในที่ประชุมสภาเทศบาลเพื่อให้นายกเทศมนตรีแถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความเห็นในปัญหาอัน เกี่ยวกับการบริหารราชการเทศบาลโดยไม่มีการลงมติ รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 12
  • 14. 1 ใน 3 (มาตรา 48 เอกาทศ) 64. ตามข้อ 63ให้ยื่นต่อประธานสภาเทศบาล และให้ประธานสภาเทศบาลกําหนดวันสําหรับการอภิปราย ทั่วไป ซึ่งต้องไม่เร็วกว่ากี่วันและไม่ช้ากว่ากี่วันนับแต่วันที่ได้รับญัตติแล้วแจ้งให้นายกเทศมนตรีทราบ ไม่เร็วกว่า 5 วันและไม่ช้ากว่า15 วัน (มาตรา 48 วรรคสอง) 65.นายกเทศมนตรีมีอํานาจหน้าที่ อย่างไรบ้าง (1) กําหนดนโยบายโดยไม่ขัดต่อกฎหมาย และรับผิดชอบในการบริหารราชการของเทศบาลให้เป็นไป ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติ และนโยบาย (2) สั่ง อนุญาต และอนุมัติเกี่ยวกับราชการของเทศบาล (3) แต่งตั้งและถอดถอนรองนายกเทศมนตรี ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี และเลขานุการนายกเทศมนตรี (4) วางระเบียบเพื่อให้งานของเทศบาลเป็นไปด้วยความเรียบร้อย (5) รักษาการให้เป็นไปตามเทศบัญญัติ (6) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้และกฎหมายอื่น *** (มาตรา 48 ปัญจทศ) ข้อสอบเคยออก ว่าใครเป็นผู้รักษาการเทศบัญญัติ ที่ออกโดยเทศบาล**** 66.นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี และเลขานุการนายกเทศมนตรีต้องไม่ กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (1) ดํารงตําแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่อื่นใดในส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เว้นแต่ ตําแหน่งที่ดํารงตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย (2) รั บ เงิ น หรื อ ประโยชน์ ใ ดๆ เป็ น พิ เ ศษจากส่ ว นราชการ หน่ ว ยงานของรั ฐ หรื อ รั ฐ วิ ส าหกิ จ นอกเหนือไปจากที่ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ ปฏิบัติกับบุคคลในธุรกิจการงาน ตามปกติ (3) เป็นผู้มีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาที่เทศบาลนั้นเป็นคู่สัญญา หรือในกิจการ ที่กระทําให้แก่เทศบาลนั้น หรือที่เทศบาลนั้นจะกระทํา แต่มิให้ใช้บังคับกับกรณีที่บุคคลดังกล่าว ที่ได้รับเบี้ยหวัดบําเหน็จบํานาญหรือเงินปีพระบรมวงศานุวงศ์ หรือเงินอื่นใดในลักษณะเดียวกัน และมิให้ใช้บังคับกับกรณีที่บุคคลดังกล่าวตามวรรคหนึ่งรับเงินตอบ แทนค่าเบี้ยประชุมหรือเงินอื่นใดเนื่องจากการดํารงตําแหน่งกรรมาธิการของรัฐสภาหรือวุฒิสภาหรือ สภาผู้แทนราษฎรหรือสภาเทศบาลหรือสภาท้องถิ่นอื่น หรือกรรมการที่มีกฎหมายบัญญัติให้เป็นโดย ตําแหน่ง 67.นายกเทศมนตรีพ้นจากตําแหน่ง เมื่อ (1) ถึงคราวออกตามวาระ (2) ตาย (3) ลาออก โดยยื่นหนังสือลาออกต่อผู้ว่าราชการจังหวัด (4) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 48 เบญจ รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 13
  • 15. (5)กระทําการฝ่าฝืนมาตรา 48 จตุทศ (6)รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยสั่งให้พ้นจากตําแหน่งตามมาตรา 62 ตรี วรรคห้า หรือมาตรา 73 (7) ถูกจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก (8)ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเทศบาลมีจํานวนไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจํานวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่มา ลงคะแนนเสี ย ง เห็ น ว่ า นายกเทศมนตรี ไ ม่ ส มควรดํ า รงตํ า แหน่ ง ต่ อ ไปตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยการ ลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น 68.ในระหว่ า งที่ ไ ม่ มีน ายกเทศมนตรี ให้ ใ ครปฏิ บัติ ห น้ า ที่ ของนายกเทศมนตรี เ ท่ า ที่ จํ า เป็ น ได้ เ ป็ น การ ชั่วคราวจนถึงวันประกาศผลการเลือกตั้งนายกเทศมนตรี ปลัดเทศบาล (มาตรา48 ปัญจทศ) *** ข้อสอบเคยออกแล้ว*** 69.เมื่อมีข้อสงสัยเกี่ยวกับความเป็นนายกเทศมนตรีสิ้นสุดลงตามให้ใครสอบสวนและวินิจฉัยโดยเร็ว คําวินิจฉัย ของใครให้เป็นที่สุด ผู้ว่าราชการจังหวัด (มาตรา48 ปัญจทศ) ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดวินิจฉัยกรณีตามมาตรามาตรา 48 เบญจ คือดังนี้ (1) มีอายุไม่ต่ํากว่าสามสิบปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง (2) สําเร็จการศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า หรือเคยเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นผู้บริหาร ท้องถิ่น หรือสมาชิกรัฐสภา (4)ไม่เป็นผู้ที่พ้นจากตําแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น รอง ผู้บริหารท้องถิ่น หรือที่ปรึกษาหรือเลขานุการของผู้บริหารท้องถิ่น เพราะเหตุมีส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรงหรือ ทางอ้อมในสัญญาที่กระทํากับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยังไม่ถึงห้าปีนับถึงวันรับสมัครเลือกตั้ง (4)เคยเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ซึ่งถูกให้พ้นจากตําแหน่งเนื่องจากกระทําการ ทุจริตหรือประพฤติมิชอบ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดวินิจฉัยกรณีตามมาตรามาตรา 48 จตุทศ คือดังนี้ (1) ดํารงตําแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่อื่นใดในส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เว้นแต่ ตําแหน่งที่ดํารงตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย (2) รั บ เงิ น หรื อ ประโยชน์ ใ ดๆ เป็ น พิ เ ศษจากส่ ว นราชการ หน่ ว ยงานของรั ฐ หรื อ รั ฐ วิ ส าหกิ จ นอกเหนือไปจากที่ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ ปฏิบัติกับบุคคลในธุรกิจการงาน ตามปกติ (3) เป็นผู้มีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาที่เทศบาลนั้นเป็นคู่สัญญา หรือในกิจการ ที่กระทําให้แก่เทศบาลนั้น หรือที่เทศบาลนั้นจะกระทํา รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 14
  • 16. 70.รองนายกเทศมนตรีพ้นจากตําแหน่ง เมื่อ (1) นายกเทศมนตรีพ้นจากตําแหน่ง (2)นายกเทศมนตรีมีคําสั่งให้พ้นจากตําแหน่ง (3)ตาย (4)ลาออก โดยยื่นหนังสือลาออกต่อนายกเทศมนตรี (5) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 48 นว (6) กระทําการฝ่าฝืนตามมาตรา 48 จตุทศ (7) ถูกจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก (8) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยพิจารณาสอบสวนและสั่งให้ออกจากตําแหน่งตามมาตรา 73 ให้นําความใน (1) (2) (3) (4) (5) และ (7) มาใช้บังคับกับการพ้นจากตําแหน่งของที่ปรึกษา นายกเทศมนตรีและเลขานุการนายกเทศมนตรีด้วยโดยอนุโลม ให้ นําความในวรรคสามของมาตรา 48 ปัญจทศ มาใช้บั งคั บ กับ กรณีของรองนายกเทศมนตรี ที่ ปรึกษานายกเทศมนตรีและเลขานุการนายกเทศมนตรีด้วยโดยอนุโลม 71.ใครเป็นผู้ ควบคุ มและรับผิดชอบในการบริหารกิจ การของเทศบาลและเป็นผู้ บังคับบัญชาพนั กงาน เทศบาลและลูกจ้างเทศบาล นายกเทศมนตรี (มาตรา 48 สัตตรส) ** โจทย์เคยโดยมีรองนายกเทศมนตรีด้วย **แต่กฎหมายไม่ ระบุรองนายกเทศมนตรี** ต้องตอบตามกฎหมายน่ะครับ* 72.ใครเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานเทศบาลและลูกจ้างเทศบาลรอง จากผู้บริหารสูงสุดของเทศบาล ปลัดเทศบาล (มาตรา 48 เอกูนวีสติ) ** โจทย์อาจไม่ถามว่า นายกเทศมนตรี อาจตั้งเป็นผู้บริหาร สูงสุดของเทศบาล* 73. ในกรณีที่นายกเทศมนตรีไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองนายกเทศมนตรีตามลําดับที่นายกเทศมนตรี จัดไว้เป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีรองนายกเทศมนตรีหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ใครเป็น ผู้รักษาราชการแทน ปลัดเทศบาล (มาตรา 48 วีสติวรรคสอง) 73. นายกเทศมนตรีอาจมอบอํานาจให้ใครปฏิบัติราชการแทนได้ โดยให้ทําเป็นหนังสือคําสั่งและประกาศ ให้ประชาชนทราบ ปลัดเทศบาลรองปลัดเทศบาล (มาตรา 48 วีสติวรรคสาม) ***ข้อสอบเคยออกมาแล้ว** ถ้ามอบให้ รองนายกเทศมนตรีกฎหมายไม่ได้ระบุให้ประกาศให้ประชาชนทราบ**** 74. ในการปฏิบัติหน้าที่ให้ใคร เป็นพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา ของพระราชบัญญัติเทศบาล นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี และพนักงานเทศบาล (มาตรา 48 เอกวีสติ) ***ข้อสอบเคย ออกมาแล้ ว ** ใครไม่ เ ป็ น พนั ก งานตามประมวลกฎหมายอาญา ตามพ.ร.บ.เทศบาล ตั ว เลื อ กมี เลขานุการนายกเทศมนตรี และที่ปรึกษานายกเทศมนตรี **ต้องจําน่ะครับ 2 ตําแหน่งนี้ ในพ.ร.บ.นี้ รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 15
  • 17. ไม่ได้ระบุถึง หรือลูกจ้างเทศบาลของเทศบาลก็ไม่ระบุ****ส่วนพนักงานเทศบาล หมายความตั้งแต่ ปลัดเทศบาล และพนักงานเทศบาลที่เป็นข้าราชการทุกระดับ*** 75. ถ้าในเขตเทศบาลใด เห็นเป็นการสมควรให้นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี ปลัดเทศบาล รอง ปลัดเทศบาล หรือหัวหน้าส่วนราชการในเขตเทศบาลนั้น มีอํานาจเปรียบเทียบคดีละเมิดเทศบัญญัติได้ ให้ ใครประกาศในราชกิจจานุเบกษา รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย (มาตรา 48 ทวาวีสติ) 76. เมื่อพ้นกําหนดเวลาหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทย ยกฐานะท้องถิ่นใด เป็นเทศบาล แล้ว ให้นายกเทศมนตรีมีอํานาจหน้าที่อยู่เดียวกับอํานาจหน้าที่ของกํานันผู้ใหญ่บ้าน บรรดาที่บัญญัติไว้ใน กฎหมายว่าด้วยลักษณะท้องที่หรือกฎหมายอื่นทั้งนี้ ให้กําหนดในกฎหมายใด กฎกระทรวง (มาตรา 48 เตวีสติ) 77. เงิ น เดื อ นและประโยชน์ ต อบแทนอย่ า งอื่ น ของนายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี ที่ ป รึ ก ษา นายกเทศมนตรี และเลขานุการนายกเทศมนตรี ใช้กฎหมายฉบับใด (ตามมาตรา 48 จตุ วี ส ติ ให้ เป็ นไปตามระเบี ย บที่กระทรวงมหาดไทยกํ าหนด ) คื อ ระเบีย บ กระทรวงมหาดไทยว่า ด้ว ยเงิน เดือ น เงิน ค่า ตอบแทน และประโยชน์ต อบแทนอย่า งอื ่น ของ นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี ประธานสภาเทศบาล รองประธานสภาเทศบาล สมาชิก สภา เทศบาล เลขานุการนายกเทศมนตรี ที่ป รึกษานายกเทศมนตรี และการจ่ายค่าเบี้ย ประชุมกรรมการสภา เทศบาล พ.ศ.2554 78. หากเทศบาลแห่งหนึ่งมีรายได้ 1 ล้านบาท ไม่รวมเงินกู้ เงินสะสม และเงินอุดหนุนทุกประเภท นายกมี สิทธิได้รับเงินเดือน เงินค่าตอบแทนประจําตําแหน่ง และเงินค่าตอบแทนพิเศษ รวมต่อเดือนเท่าใด เงินเดือนจํานวน 10,080 บาท เงินค่าตอบแทนจํานวน 2,100 บาท เงินค่าตอบแทนพิเศษ จํานวน 2,100 บาท รวม 14,280 บาทต่อเดือน **ข้อสอบเคยออก การสอบเปลี่ยนสายงาน*** ตามบัญ ชีอ ัต ราเงิน เดือ นและค่า ตอบแทนระเบีย บกระทรวงมหาดไทยว่า ด้ว ยเงิน เดือ น เงิน ค่า ตอบแทน และประโยชน์ต อบแทนอย่า งอื ่น ของนายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี ประธ านส ภ าเ ทศบ าล รอง ประธ านส ภ าเ ทศบ าล สมา ชิก สภ าเท ศบา ล เ ลขา นุก า ร นายกเทศมนตรี ที่ป รึก ษานายกเทศมนตรี และการจ่า ยค่า เบี้ย ประชุม กรรมการสภาเทศบาล พ.ศ.2554 **การตั้ง งบประมาณของเงิน เดือน ค่า ตอบแทนของข้า ราชการเมือง (นายกฯรองนายกฯ ที่ ปรึก ษาฯ เลขานุก ารฯ สมาชิก สภาฯ) นั ้น ใช้ฐ านรายได้จ ริง ของปีที่แ ล้ว มา เช่น จะตั ้ง งบประมาณรายจ่า ยประจํา ปี พ.ศ. 2557 ก็ต้อ งฐานรายได้รับ จริง ของปีง บประมาณ พ.ศ. 2555 มาเป็นตัวตั้งงบประมาณ รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 16
  • 18. ไม่ไ ด้ใ ช้ฐ านรายได้จ ริง ของปีง บประมาณ พ.ศ. 2556 เนื ่อ งจากตอนตั้ง งบประมาณรายจ่า ย ประจําปี ผู้บริหารต้องเสนอจัดร่างงบประมาณประจําปี ภายในวันที่ 15 สิงหาคม ของทุกปี ดัง นั ้น จะใช้ฐ านรายได้จ ริง ของปีง บประมาณ พ.ศ. 2556 มาเป็น ฐานคํ า นวณค่า ตอบแทน ผู้บ ริห ารหรือ สมาชิกสภา ไม่ได้ เนื่อ งจากงบประมาณรายจ่า ยปีพ.ศ. 2556 สิ้น ปีงบ ในวัน ที่ 30 กันยายน ครับ *ตัว นี้เคยเป็น คําถาม เช่น จะตั้งงบประมาณรายจ่ายปี 2555 ใช้ฐ านรายได้ของปีงบประมาณใด มาตั้งงบประมาณ ต้องตอบ รายได้จริงของปีงบประมาณ พ.ศ. 2553* บัญชี อัตราเงินเดื อน และค่ าตอบแทน นายกเทศมนตรี รายได้ เงิ น ค่ า รองนายกเทศมนตรี เงิ น ค่ า เงิ น ค่ า เงิ น ค่ า ของเทศบาล เงิ น เดื อ น ตอบแทน ตอบแทน รวม เงิ น เดื อ น ตอบแทน ตอบแทน รวม (ล้ า นบาท) (บาท/เดื อ น) ประจํา ตํา แหน่ ง พิ เ ศษ (บาท/เดื อ น) (บาท/เดื อ น) ประจํา ตํา แหน่ ง พิ เ ศษ (บาท/เดื อ น) (บาท/เดื อ น) (บาท/เดื อ น) (บาท/เดื อ น) (บาท/เดื อ น) เกิ น 300 55,530 10,000 10,000 75,530 30,540 7,500 7,500 45,540 เกิ น 100-300 45,000 9,000 9,000 63,000 24,720 6,750 6,750 38,220 เกิ น 50-100 30,000 8,000 8,000 46,000 16,500 6,000 6,000 28,500 เกิ น 25-50 28,800 6,000 6,000 40,800 15,840 4,500 4,500 24,840 เกิ น 10-25 27,600 4,000 4,000 35,600 15,180 3,000 3,000 21,180 เกิ น 9-10 19,800 3,000 3,000 25,800 10,880 2,300 2,300 15,480 เกิ น 7-9 17,400 2,800 2,800 23,000 9,600 2,100 2,100 13,800 เกิ น 5-7 15,600 2,650 2,650 20,900 8,580 1,990 1,990 12,560 เกิ น 3-5 13,800 2,500 2,500 18,800 7,560 1,875 1,875 11,310 เกิ น 1-3 11,520 2,300 2,300 16,120 6,360 1,725 1,725 9,810 ไม่ เ กิ น 1 10,080 2,100 2,100 14,280 5,520 1,575 1,575 8,670 เงิ น ค่ า ตอบแทนรายเดื อ น รายได้ ของเทศบาล (ล้ า นบาท) (บาท/เดื อ น) ประธานสภา เทศบาล รองประธาน สมาชิ ก สภาเทศบาล สภาเทศบาล เลขานุ ก าร นายกเทศมนตรี ที่ ป รึ ก ษา นายกเทศมนตรี เกิ น 300 30,540 24,990 19,440 19,440 13,880 เกิ น 100-300 24,720 20,250 15,750 15,750 11,250 เกิ น 50-100 16,500 13,500 10,500 10,500 7,500 เกิ น 25-50 15,840 12,960 10,080 10,080 7,200 เกิ น 10-25 15,180 12,420 9,660 9,660 6,900 เกิ น 9-10 10,880 8,900 7,080 7,080 4,950 เกิ น 7-9 9,600 7,860 6,080 6,080 4,340 รวบรวมเผยแพรโดย ประพันธ เวารัมย http://pun.fix.gs และ http://valrom2012.fix.gs หนา 17