SlideShare a Scribd company logo
อภิปราย
ร่างรัฐธรรมนูญ
1
ข้อคิดเบื้องต้น (1/2)
1.ไม่มีใครสามารถเขียน รธน. ให้
ถูกใจทุกคนได้ 100%
2.เราล้วนได้ในบางเรื่อง ไม่ได้ใน
บางอย่าง
3.ดอกไม้ที่สวยที่สุดยังไม่บาน
2
ข้อคิดเบื้องต้น (2/2)
4. นี่เป็ นเพียงร่างแรก ยังมีอีกหลายยก
กว่าจะลงตัว แปลว่ายังอยู่ในกระบวนการ
แก้ไขได้
5. ทุกรอบ 5 ปี ยังสามารถแก้ไข รธน.
ได้อีก
6.รธน. ควรตอบโจทย์คน 65 ล้านคน
ไม่ใช่ตอบโจทย์นักการเมือง 3,000 คน
3
เหตุที่ต้องปฏิรูป
เพราะ
การเมืองเก่า ถึงทางตัน
เดินหน้าไปไม่ได้
4
การเมืองเก่า
เป็ นเสียงข้างมากฉ้อฉล
ที่ทาให้อานาจรัฐล้มเหลว
กลายเป็ นเป็ ดง่อย
เมื่อก่อน 22 พ.ค. 57
5
ปัญหาการเมืองไทย
ไม่ใช่รัฐบาลไม่มีเสถียรภาพ
แต่เพราะมีเสถียรภาพล้นเกิน
จึงนาประเทศไปสู่ความฉ้อฉล
6
การเมืองฉ้อฉล (1/3)
1.นิรโทษกรรมสุดซอย
2.โกงแก้ไข รธน. (ที่มา ส.ว.)
3.โกงจานาข้าว 5 แสน ลบ.
7
การเมืองฉ้อฉล (2/3)
4.ประชานิยมวิบัติ
5.กู้2 ลล. รถไฟความเร็ว
สูง
6.กู้3.5 ลล. โครงการน้า
8
การเมืองฉ้อฉล (3/3)
7.ก่อความรุนแรง(ฝ่ายเดียว)
ถึงเลือดถึงเนื้อ
8.แข็งขืนต่ออานาจศาล
9.อานาจรัฐล้มเหลวจัดการคน
ผิดไม่ได้
9
ประเทศไทย ต้องเปลี่ยน
• ต้องไม่ย่าเท้าในรอยเดิมอีก
ต่อไป
• การเมืองเก่าต้องหลีกทางให้
การเมืองยุคใหม่
• ถ้าไม่เปลี่ยนก็ไม่ต้องปฏิรูป 10
ปรารถนา ของ ฝ่ายการเมือง
•อานาจรัฐเข้มแข็ง
•พรรคการเมืองเข้มแข็ง
•รัฐบาลมีเสถียรภาพ
11
ปรารถนา ของ ประชาชน/ประเทศ
•อานาจประชาชนเข้มแข็ง
•อานาจพลเมืองสาคัญ
•ประชาชนตรวจสอบ/เอาผิด
ฝ่ายการเมืองได้จริงและเป็ น
ผล 12
การเลือกตั้ง (1/2)
• ระบบสัดส่วนผสม
• เปิ ดโอกาสกลุ่มและบุคคลสมัคร
โดยอิสระ
• ระบบการกาบัตรโดย ปชช. เป็ น
ผู้กาหนดตัว ส.ส. (Open
List) 13
การเลือกตั้ง (2/2)
• ทาให้พรรคกลาง/เล็ก/กลุ่ม/
บุคคล เกิดและเติบโตได้
• ลดโอกาสความฉ้อฉลของเสียง
ข้างมาก
• เปิ ดทางให้แก่การรอมชอม/
ปรองดอง แทนที่จะเป็ นอริกัน
14
อานาจรัฐ
จะมีที่มาอย่างไร
ไม่สาคัญเท่า
ประชาชนมีอานาจจริง
มีอานาจไกลไปกว่า 4
วินาที ที่หย่อนบัตรเลือกตั้ง
15
1616
สร้างอานาจประชาชน (1/2)
1.กลไกใหม่ ของภาคพลเมือง
2.เปิ ดพื้นที่ทางการเมือง
3.ยกระดับและขยายสิทธิ
เสรีภาพ
4.การมีส่วนร่วมทางการเมือง 17
สร้างอานาจประชาชน (2/2)
โดยสร้างพลเมืองให้เป็ นใหญ่
เป็ นประชาธิปไตยทางตรง
ที่ทาให้การเมืองไทย
ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป
18
รัฐธรรมนูญ
ภาค 1 หมวด 2
ประชาชน
ส่วนที่ 1
ความเป็ นพลเมืองและหน้าที่
พลเมือง
19
รธน. ม.26 วรรคสอง
เสนอตัด “พลเมืองต้องไม่กระทา
การให้เกิดความเกลียดชังระหว่าง
คนในชาติหรือศาสนา หรือไม่ยั่วยุ
ให้เกิดการเลือกปฏิบัติ การเป็ น
ปฏิปักษ์ หรือการใช้ความรุนแรง
ระหว่างกัน”
20
รธน. ม.52 (สิทธิด้านการศึกษา)
เสนอให้แก้ไข จากระดับ
“มัธยมศึกษาสายสามัญและสาย
อาชีพ”
ขยายเป็ น “ตั้งแต่ปฐมวัยจนถึง
ระดับอุดมศึกษาตามศักยภาพของ
บุคคล”
21
รธน. ม.53 (การชุมนุม)
“การจากัดเสรีภาพในการชุมนุมโดย
สงบและปราศจากอาวุธจะกระทามิได้
เว้นแต่อาศัยอานาจตามบทบัญญัติ
แห่งกฎหมาย”
แต่ พรบ. การชุมนุมสาธารณะ
กาหนดให้ “ต้องขออนุญาต”
= พรบ. ขัดเจตนารมณ์ รธน.
22
ม.56 เสรีภาพการประกอบอาชีพ
วรรคแรก “ซึ่งต้องไม่ก่อให้เกิด
การผูกขาดเกินความจาเป็ น”
คาถาม : ปทท. มีพรบ. ว่าด้วย
การแข่งขันทางการค้าอยู่แล้ว
แต่บังคับใช้ไม่ได้
23
24
25
26
27
28
29
ม.58 สิทธิด้านสาธารณสุข (1/2)
“(2) รับบริการสาธารณสุขที่
เหมาะสมอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ ได้
มาตรฐาน และได้รับสิทธิประโยชน์
ด้าน สธ. ขั้นพื้นฐาน อันจาเป็ นที่เท่า
เทียมกัน”
ปัญหา#1 ความแตกต่าง 3 ระบบ
บัตรทอง/ประกันสุขภาพ/สวัสดิการ ขรก.30
ม.58 สิทธิด้านสาธารณสุข (2/2)
ปัญหา#2 คนที่ยังไม่ได้
สัญชาติไทย 280,000 คน
จะได้รับการคุ้มครองหรือไม่
มนุษยธรรมไม่ควรกีดกั้นด้วย
ปัญหาสัญชาติ
31
ม.61 สิทธิการมีส่วนร่วม (1/2)
“สิทธิมีส่วนร่วมและได้ประโยชน์จาก
ธรรมชาติอย่างเป็ นธรรม”
“โครงการที่อาจก่อผลกระทบอย่างรุนแรงทั้ง
ด้านคุณภาพ สวล. ทรัพยากรธรรมชาติ และ
สุขภาพ”
ทา EIA. “โดยบุคคลซึ่งมิได้มีส่วนได้เสีย
และมีการประเมิน สวล. ในระดับยุทธศาสตร์”
32
ม.61 สิทธิการมีส่วนร่วม (2/2)
เสนอ
1.ตัดคาว่า “อย่างรุนแรง” ออก
2.แยกประเมินผลกระทบ สวล. ออกจาก
ผลกระทบต่อสุขภาพ
3.กระบวนการรับฟังความเห็นของ
ประชาชน ส่วนใหญ่ล้มเหลว ต้องมี
วิธีการที่เป็ นผลจริง
33
ม.69 ส่วนร่วมในการตรวจสอบ
กาหนดให้“เปิ ดเผยข้อมูลหน่วยงานของ
รัฐ และองค์กรที่ดาเนินกิจกรรมโดยใช้เงิน
แผ่นดิน”
เสนอว่า
1.ต้องปรับปรุง พรบ.ข้อมูลข่าวสารที่
ล้มเหลวมาโดยตลอด
2. ขยายตรวจสอบไปสู่ศาสนสถาน(วัด)
ด้วย 34
ม.92 โยงใย หมวด 2
แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
“รัฐต้องบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อประโยชน์
สูงสุดของรัฐ ประชาชน และชุมชน
ทั้งในระดับชาติและท้องถิ่น”
เสนอตัดคาว่า “ของรัฐ” ออกไป
35
ประชาธิปไตย ต้องประโยชน์ของประชาชนเป็ น
ใหญ่
ไม่ใช่ประชาชนเป็ นใหญ่
ประชาชนเป็ นใหญ่นั้นมันไม่แน่
ประชาชนบ้าบอก็ได้ของประชาชน
โดยประชาชน
ถ้าประชาชนเห็นแก่ตัวแล้วฉิบหายหมด
พุทธทาสภิกขุ36
ประชาธิปไตย

More Related Content

Viewers also liked

แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3teerachon
 
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
บอสคุง ฉึกฉึก
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑
Somprasong friend Ka Nuamboonlue
 
ใบงานม.3
ใบงานม.3ใบงานม.3

Viewers also liked (6)

แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
 
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑
ความเป็นไท(ย)ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และการปกครอง ตอนที่ ๑
 
ใบงานม.3
ใบงานม.3ใบงานม.3
ใบงานม.3
 

อภิปราย