SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
ผู้จัดทำ
นาย แองค์ เฮ็น ซี เลขที่ 5 ม.5/1 นาย ประภากร เอื้อสถิตวงศ์ เลขที่ 22 ม.5/1
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
( computer technology )
ความหมายของเทคโนโลยีเป็นการประยุกต์ นาเอา
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ และก่อให้เกิดประโยชน์
ในทางปฏิบัติแก่มวลมนุษย์ กล่าวคือ เทคโนโลยีเป็น
การนาเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ ในการ
ประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ความหมาย
• เทคโนโลยีที่ถูกนามาใช้อย่างแพร่หลายในชีวิตประจาวันเพื่ออานวยความสะดวกต่างๆทั้งด้านการเรียน การเกษตร
อุตสาหกรรม การทหารหากถามว่าเทคโนโลยีที่ล้าหน้าที่สุดและคนทั้งโลกให้ความสาคัญมากที่สุดคงปฏิเสทไม่ได้ว่าคือ
เทคโนโลยีสารสนเทศหรือที่เรารู้จักกันดีคือคอมพิวเตอร์เพราะปัจจุบันนี้เรามองไปทางไหนก็น่าจะมีอะไรที่เกี่ยวกับ
เทคโนโลยีสารสนเทศไปหมด ไม่ว่าจะเป็น โทรศัพท์ มือถือ อินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์เตอร์ PDA GPS ดาวเทียม ก็
ล้วนแต่เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ช่วยอานวยความสะดวกในชีวิต
• ๑.๑ ระบบบอกตาแหน่ง
• ปัจจุบันมีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้บอกตาแหน่งบนพื้นโลกได้ คือ จีพีเอส (Global Positioning System: GPS)
ทางานร่วมกับดาวเทียม ในระดับความสูง 20,200 กิโลเมตร สามารถบอกตาแหน่งได้ทุกแห่งบนโลก โดยความ
แม่นยาขึ้นอยู่กับจานวนดาวเทียมที่จีพีเอสทางานร่วมและสภาพอากาศ
• จีพีเอสนิยมใช้ในรถยนต์เพื่อเป็นระบบนาทาง โดยทางานร่วมกับโปรแกรมแผนที่ที่บรรจุอยู่ในตัวเครื่อง ปัจจุบันมีการ
นาระบบจีพีเอสไปติดตั้งในเครื่องพีดีเอ กล้องดิจิทัล และโทรศัพท์เคลื่อนที่ การใช้งานจีพีเอสเพื่อระบุตาแหน่งบนพื้น
โลกจาเป็นต้องติดต่อกับดาวเทียมอย่างน้อย ๓ ดวง ในกรณีที่ต้องการทราบความสูงของตาแหน่งจากพื้นโลกด้วย
ต้องติดต่อกับดาวเทียมอย่างน้อย ๔ ดวง
• ๑.๒ อาร์เอฟไอดี
• อาร์เอฟไอดี (Radio Frequency Identification: RFID) เป็นเทคโนโลยีที่ใช้คลื่นวิทยุในการอ่านข้อมูล ใช้ในระบบ
ป้ องกันการขโมยสินค้า ระบบอ่านบัตรประจาตัวพนักงาน ระบบเก็บค่าผ่านทาง โครงสร้างของระบบประกอบด้วย ๒
ส่วนย่อย คือ ทรานสปอนเดอร์ (Transponder) และเครื่องอ่าน (Reader)
• ประโยชน์ของอาร์เอฟไอดี
๑) สามารถอ่านทรานสปอนเดอร์พร้อมกันได้หลายชิ้นและใช้เวลารวดเร็ว
๒) ทนทานต่อความเปียนชื้น
๓) มีความปลอดภัยสูง ยากต่อการปลอมแปลงและเลียนแบบ
๔) ป้ องกันการอ่านข้อมูลซ้าของวัตถุชิ้นเดียวกัน
๕) สามารถอ่านข้อมูลได้โดยไม่จาเป็นต้องมองเห็นตัวทรานสปอนเดอร์
• ๑.๓ เทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สาย
• ปัจจุบันระบบไร้สายได้รับความนิยมอย่างมาก เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบจีเอสเอ็ม (Global System for Mobile Communication:
GSM) เทคโนโลยีที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีตั้งแต่ยุคที่ ๒ (2G) และยุคที่ ๓ (3G)
• 2G มีการบีบอัดสัญญาณเสียงในรูปแบบดิจิทัล การรับ-ส่งข้อมูลยังไม่มีประสิทธิภาพมากนัก
• 2.5G นาระบบจีพีอาร์เอส (General Packet Radio Service: GPRS) มาใช้ร่วมกับระบบจีเอสเอ็ม ทาให้สามารถรับ ส่งข้อมูและเชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ตได้
• เทคโนโลยีจีพีอาร์เอสนี้สามารถสื่อสารข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูงสุด 171.2 กิโลบิตต่อวินาที ต่อมาได้มีการปรับปรุงระบบจีพีอาร์เอสให้มี
ความเร็วในการสื่อสารสูงขึ้นถึง 384 กิโลบิตต่อวินาที เทคโนโลยีนี้ชื่อว่า เอจ (Enhanced Data Rates for Global Evolution: EDGE)
ซึ่งจัดอยู่ในยุค 2.75G
• 3G ทางานในระบบซีดีเอ็มเอ (Code Division Multiple Access: CDMA) อัตราเร็วในการรับส่งข้อมูล (transmission rate) ไม่ต่ากว่า
2 เมกะบิตต่อวินาที สามารถใช้งานมัลติมีเดียความเร็วสูงได้อย่างต่อเนื่อง เช่น การรับชมวีดิทัศน์จากอินเทอร์เน็ต การสนทนาแบบเห็น
ภาพคู่สนทนา จึงมีการพัฒนาบริการต่าง ๆ ขึ้นอีกมากมาย เช่น การให้บริการแบบมัลติมีเดียที่สามารถรับส่งข้อมูลขนาดใหญ่ การ
ประชุมทางไกลผ่านหน้าจอของโทรศัพท์เคลื่อนที่
• 4G ทาให้การส่งข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ตด้วยความเร็วสูงกว่า 3G มีการให้บริการที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัยมากยิ่งขึ้น อัตราในการส่ง
ข้อมูลไม่ต่ากว่า 100 เมกะบิตต่อวินาที
• ๑.๔ การประมวลผลภาพ
• การประมวลผลภาพ (image processing) เป็นการนาภาพมาเปลี่ยนเป็นข้อมูลดิจิทัล เช่น
• ระบบตรวจกระดาษคาตอบ
• ระบบตรวจจับใบหน้าในกล้องดิจิทัล
• ระบบอ่านบาร์โค้ด
• ระบบตรวจจับการเคลื่อนไหวเพื่อการรักษาความปลอดภัย
• ๑.๕ การแสดงภาพ ๓ มิติ
• เทคนิคการแสดงภาพ ๓ มิติ เป็นการนาภาพ ๒ มิติมาแสดงผล โดยมีเทคนิคการแสดงภาพที่ทาให้ตาข้างซ้ายและตา
ข้างขวามองเห็นภาพของวัตถุเดียวกันในมุมมองที่แตกต่างกัน ส่งผลให้สมองตีความเป็นภาพที่มีความลึก ตัวอย่าง
เทคนิคการแสดงภาพ ๓ มิติ มีดังนี้
• การแสดงภาพแบบแอนะกลิฟ (anaglyph) เป็นการฉายภาพสาหรับตาซ้ายและตาขวาที่มีโทนสีที่แตกต่างกันลงบน
ฉากรับภาพเดียวกัน โทนสีที่ใช้มักจะเป็นสีแดงและน้าเงิน การมองด้วยตาเปล่าจะทาให้เห็นเป็นภาพซ้อนและเหลื่อม
กันเล็กน้อย การมองภาพ ๓มิติ ต้องใช้แว่นที่มีแผ่นกรองแสงด้านหน้าที่มีข้างหนึ่งเป็นสีแดงและอีกข้างหนึ่งเป็นสีน้า
เงิน
การแสดงภาพแบบโพลาไรซ์ ๓ มิติ (polarized 3-D) มีการทางานคล้ายกับแอนะกลิฟ โดยฉายภาพลงที่
ฉากรับภาพเดียวกัน มุมมองของภาพที่แตกต่างกันแต่เปลี่ยนจากการใช้สี ไปใช้วิธีการวางตัวของช่องมอง
ภาพแต่ละภาพที่ซ้อนกันแทน เช่น แว่นตาข้างซ้ายจะมองภาพผ่านช่องในแนวตั้ง ส่วนแว่นตาข้างขวาจะ
มองภาพผ่านช่องในแนวนอน ทาให้ตาแต่ละข้างมองเห็นภาพไม่เหมือนกัน เมื่อสมองรวมภาพจากตาข้าง
ซ้ายและขวา จะมองเห็นภาพเป็น ๓มิติ
การแสดงภาพแบบแอ็กทิฟชัตเตอร์ (active shutter) อาศัยการฉายภาพที่มีความถี่ในการแสดงภาพ
อย่างน้อย 120 เฮิร์ต เนื่องจากต้องแสดงภาพสาหรับตาซ้ายและตาขวาสลับกันไปจนครบ 120 ภาพ ใน
1 วินาที ตาข้างซ้ายและขวาจึงเห็นข้างละ 60 ภาพใน 1 วินาที ซึ่งเป็นความถี่ขั้นต่าที่ทาให้ไม่รู้สึกว่าภาพ
สั่น การฉายภาพลักษณะนี้ต้องใช้แว่นตาแอ็กทิฟชัตเตอร์ช่วยในการมองเห็นภาพ โดยแว่นตาจะสื่อสารกับ
เครื่องฉายว่าจะบังตาข้างไหนในขณะฉายภาพ เช่นภาพสาหรับตาซ้าย เครื่องฉายจะส่งสัญญาณให้แว่นบัง
ตาขวา ดังนั้นแว่นนี้ต้องใช้สัญญาณไฟฟ้ าในการทางาน ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีนี้ เช่น โทรทัศน์
3 มิติ
การแสดงภาพแบบพาราแลกซ์บาร์เรีย (paralax barrier) จะไม่ใช่แว่นตา วิธีนี้จะแบ่งภาพที่มีมุมมอง
ต่างกันออกเป็นแท่งแล้วนาไปวางสลับกัน โดยมีชั้นกรองพิเศษ ทีเรียกว่า พาราแลกซ์บาร์เรีย ในการแบ่ง
ภาพให้ตาแต่ละข้างที่มองผ่านชั้นกรองนี้เห็นภาพที่แตกต่างกัน แล้วสมองจะรวมภาพจากตาซ้ายและตา
ขวาที่มีมุมมองต่างกันนี้ให้เป็นภาพเดียวกัน ทาให้เรามองเห็นเป็นภาพ ๓ มิติ เช่น กล้องดิจิทัล ๓ มิติ ที่
เราสามารถมองเห็นภาพถ่ายบนจอแอลซีดีเป็นภาพ ๓ มิติ
• ๑.๖ มัลติทัช
• รับข้อมูลโดยใช้นิ้วสัมผัสที่จอภาพโดยตรง เรียกว่า จอสัมผัส (touch screen) ทาให้การใช้งานมี
ปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้โดยตรง เช่น จอสัมผัสตู้เอทีเอ็ม จอสัมผัสแสดงข้อมูลร้านค้าในห้างสรรพสินค้า จอ
สัมผัสเครื่องจีพีเอส จอสัมผัสเครื่องพีดีเอ จอสัมผัสสมาร์ทโฟน จอสัมผัสเหล่านี้สั่งการโดยใช้สไตลัส
(Stylus) หรือนิ้วสัมผัสบนจอ การสั่งการที่สัมผัสจอภาพทีละจุด เรียกว่าซิงเกิลทัช (Single touch)
• ปัจจุบันสามารถรองรับคาสั่งผ่านหน้าจอสัมผัสได้หลายจุดพร้อมกัน เรียกว่า มัลติทัช (multi touch)
ทาให้มีการปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ และสมาร์โฟนแตกต่างออกไป การรับรู้
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เกิดจากรูปแบบการเคลื่อนไหวของนิ้วมือหลายนิ้วของผู้ใช้สัมผัสไปบน
จอภาพโดยตรง ผู้ใช้สามารถสัมผัสแผงแป้ นสัมผัสหรือเรียกว่า ทัชแพด (touchpad) เพื่อเลือก เลื่อน
หรือขยายวัตถุที่แสดงผลอยู่
ประโยชน์ของเทคโนโลยีสมัยใหม่
1.กำรสร้ำงเสริมคุณภำพชีวิตที่ดีขึ้น สภำพควำมเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีกำรพัฒนำใช้ระบบสื่อสำร
โทรคมนำคม เพื่อติดต่อสื่อสำรให้สะดวกขึ้น มีกำรประยุกต์มำใช้กับเครื่องอำนวยควำมสะดวก
2. เสริมสร้ำงควำมเท่ำเทียมในสังคมและกำรกระจำยโอกำส เทคโนโลยีสำรสนเทศทำให้เกิดกำรกระจำยไปทั่ว
ทุกหนแห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดำร ทำให้มีกำรกระจำยโอกำสกำรเรียนรู้ มีกำรใช้ระบบกำรเรียนกำรสอนทำงไกล
เสริมสร้ำงกำรเรียนรู้
3. สำรสนเทศกับกำรเรียนกำรสอนในโรงเรียน กำรเรียนกำรสอนในโรงเรียนมีกำรนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือ
ประกอบช่วยในกำร เรียนรู้ เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉำยภำพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือ กำรสร้ำงเว็บไซต์กำร
เรียนรู้
ประโยชน์ของเทคโนโลยีสมัยใหม่
4. เทคโนโลยีสำรสนเทศกับสิ่งแวดล้อม กำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติหลำยอย่ำงจำเป็นต้องใช้สำรสนเทศ
เช่น กำรดูแลรักษำป่ ำ จำเป็นต้องใช้ข้อมูล มีกำรใช้ภำพถ่ำยดำวเทียม กำรติดตำมข้อมูลสภำพอำกำศ กำร
พยำกรณ์อำกำศ กำรจำลองรูปแบบสภำวะสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับปรุงแก้ไข
เทคโนโลยีสำรสนเทศกับกำรป้องกันประเทศ กิจกำรทำงด้ำนกำรทหำรมีกำรใช้เทคโนโลยี อำวุธ
ยุทโธปกรณ์สมัยใหม่ล้วนแต่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และระบบควบคุม มีกำรใช้ระบบป้องกันภัย ระบบเฝ้ำ
ระวังที่มีคอมพิวเตอร์ควบคุมกำรทำงำน
5. กำรผลิตในอุตสำหกรรม และกำรพำณิชยกรรม กำรแข่งขันทำงด้ำนกำรผลิตสินค้ำอุตสำหกรรมจำเป็นต้อง
หำวิธีกำรในกำรผลิตให้ ได้มำก รำคำถูกลงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ำมำมีบทบำทมำก มีกำรใช้ข้อมูลข่ำวสำร
เพื่อกำรบริหำรและกำรจัดกำร กำรดำเนินกำรและยังรวมไปถึงกำรให้บริกำรกับลูกค้ำ เพื่อให้ซื้อสินค้ำได้สะดวก
ขึ้น
แหล่งอ้ำงอิง
https://porsn1977.wordpress.com/e-learning/%E0%B8%A1-
%E0%B9%93/%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0
%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B
8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B8%AF-
%E0%B8%8723102/%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%8
2%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%
E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%
B8%A2%E0%B9%83/
http://guru.sanook.com/2934/
https://sites.google.com/site/nithiphrtapheiynthxng/prayochn-
khxng-thekhnoloyi-smay
VDO(LINK YOUTUBE)
https://www.youtube.com/watch?v=wcmFdwws3rM
Thank for watching

More Related Content

Viewers also liked

Odet Pictures LinkedIn
Odet Pictures LinkedInOdet Pictures LinkedIn
Odet Pictures LinkedIn
Natalia Horna
 
Saqartvelos demografiaaaa
Saqartvelos demografiaaaaSaqartvelos demografiaaaa
Saqartvelos demografiaaaa
darchinorchii
 
Presentación de saia
Presentación de saiaPresentación de saia
Presentación de saia
Anacl2410
 

Viewers also liked (19)

409 evaluacion final
409 evaluacion final409 evaluacion final
409 evaluacion final
 
I'raab 101 - worked examples of Arabic grammatical breakdown
I'raab 101 - worked examples of Arabic grammatical breakdownI'raab 101 - worked examples of Arabic grammatical breakdown
I'raab 101 - worked examples of Arabic grammatical breakdown
 
resume
resumeresume
resume
 
Báo cáo thực tập tổng hợp tại công ty cổ phần dệt may gia định phong phú - ...
Báo cáo thực tập tổng hợp tại công ty cổ phần dệt may gia định   phong phú - ...Báo cáo thực tập tổng hợp tại công ty cổ phần dệt may gia định   phong phú - ...
Báo cáo thực tập tổng hợp tại công ty cổ phần dệt may gia định phong phú - ...
 
Fujitsu FC9608PW11-104
Fujitsu FC9608PW11-104Fujitsu FC9608PW11-104
Fujitsu FC9608PW11-104
 
Odet Pictures LinkedIn
Odet Pictures LinkedInOdet Pictures LinkedIn
Odet Pictures LinkedIn
 
A Tale of Two classes
A Tale of Two classesA Tale of Two classes
A Tale of Two classes
 
Saqartvelos demografiaaaa
Saqartvelos demografiaaaaSaqartvelos demografiaaaa
Saqartvelos demografiaaaa
 
Presentación de saia
Presentación de saiaPresentación de saia
Presentación de saia
 
Diverlirica
DiverliricaDiverlirica
Diverlirica
 
CMDBWaarBeginJe
CMDBWaarBeginJeCMDBWaarBeginJe
CMDBWaarBeginJe
 
Metropolian avoin amk, opintopolkujen aloitusinfo 22.8.2016: Terveyspalveluje...
Metropolian avoin amk, opintopolkujen aloitusinfo 22.8.2016: Terveyspalveluje...Metropolian avoin amk, opintopolkujen aloitusinfo 22.8.2016: Terveyspalveluje...
Metropolian avoin amk, opintopolkujen aloitusinfo 22.8.2016: Terveyspalveluje...
 
Nº 1 Jornal de Campanha da Candidatura Sempre Pela Maia
Nº 1 Jornal de Campanha da Candidatura Sempre Pela MaiaNº 1 Jornal de Campanha da Candidatura Sempre Pela Maia
Nº 1 Jornal de Campanha da Candidatura Sempre Pela Maia
 
Confecciones dolce
Confecciones dolceConfecciones dolce
Confecciones dolce
 
Case study marki panorama firm z albumu superbrands polska 2010
Case study marki panorama firm z albumu superbrands polska 2010Case study marki panorama firm z albumu superbrands polska 2010
Case study marki panorama firm z albumu superbrands polska 2010
 
44
4444
44
 
Nutricion
NutricionNutricion
Nutricion
 
A Tribute Bass
A Tribute BassA Tribute Bass
A Tribute Bass
 
Drell
DrellDrell
Drell
 

Similar to เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่

งานคอมอ อ
งานคอมอ อ งานคอมอ อ
งานคอมอ อ
Supisara Jaibaan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
Chaiwit Khempanya
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
Rattana Wongphu-nga
 
(ใบงานที่2)
(ใบงานที่2)(ใบงานที่2)
(ใบงานที่2)
NIng Bussara
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
amphaiboon
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
amphaiboon
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
Aungkana Na Na
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
Aungkana Na Na
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
Aungkana Na Na
 
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
Theerapat Nilchot
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Kriangx Ch
 

Similar to เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ (20)

งานคอมอ อ
งานคอมอ อ งานคอมอ อ
งานคอมอ อ
 
2
22
2
 
A0141 20
A0141 20A0141 20
A0141 20
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
แบบร่าง
แบบร่างแบบร่าง
แบบร่าง
 
แบบร่าง
แบบร่างแบบร่าง
แบบร่าง
 
แบบร่าง
แบบร่างแบบร่าง
แบบร่าง
 
แบบร่าง
แบบร่างแบบร่าง
แบบร่าง
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
(ใบงานที่2)
(ใบงานที่2)(ใบงานที่2)
(ใบงานที่2)
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
เทอม 1 คาบ 3
เทอม 1 คาบ 3เทอม 1 คาบ 3
เทอม 1 คาบ 3
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

More from Prapakorn Ueasathitwong (7)

ข่าวพรบ.คอม
ข่าวพรบ.คอมข่าวพรบ.คอม
ข่าวพรบ.คอม
 
แป้นพิมพ์เลเซอร์
แป้นพิมพ์เลเซอร์แป้นพิมพ์เลเซอร์
แป้นพิมพ์เลเซอร์
 
แป้นพิมพ์เลเซอร์
แป้นพิมพ์เลเซอร์แป้นพิมพ์เลเซอร์
แป้นพิมพ์เลเซอร์
 
อุปกรณ์เครื่องข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครื่องข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครื่องข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครื่องข่ายคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศ
 
Com
ComCom
Com
 

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่

  • 1. ผู้จัดทำ นาย แองค์ เฮ็น ซี เลขที่ 5 ม.5/1 นาย ประภากร เอื้อสถิตวงศ์ เลขที่ 22 ม.5/1
  • 3. ความหมายของเทคโนโลยีเป็นการประยุกต์ นาเอา ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ และก่อให้เกิดประโยชน์ ในทางปฏิบัติแก่มวลมนุษย์ กล่าวคือ เทคโนโลยีเป็น การนาเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ ในการ ประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ความหมาย
  • 4. • เทคโนโลยีที่ถูกนามาใช้อย่างแพร่หลายในชีวิตประจาวันเพื่ออานวยความสะดวกต่างๆทั้งด้านการเรียน การเกษตร อุตสาหกรรม การทหารหากถามว่าเทคโนโลยีที่ล้าหน้าที่สุดและคนทั้งโลกให้ความสาคัญมากที่สุดคงปฏิเสทไม่ได้ว่าคือ เทคโนโลยีสารสนเทศหรือที่เรารู้จักกันดีคือคอมพิวเตอร์เพราะปัจจุบันนี้เรามองไปทางไหนก็น่าจะมีอะไรที่เกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศไปหมด ไม่ว่าจะเป็น โทรศัพท์ มือถือ อินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์เตอร์ PDA GPS ดาวเทียม ก็ ล้วนแต่เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ช่วยอานวยความสะดวกในชีวิต
  • 5. • ๑.๑ ระบบบอกตาแหน่ง • ปัจจุบันมีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้บอกตาแหน่งบนพื้นโลกได้ คือ จีพีเอส (Global Positioning System: GPS) ทางานร่วมกับดาวเทียม ในระดับความสูง 20,200 กิโลเมตร สามารถบอกตาแหน่งได้ทุกแห่งบนโลก โดยความ แม่นยาขึ้นอยู่กับจานวนดาวเทียมที่จีพีเอสทางานร่วมและสภาพอากาศ • จีพีเอสนิยมใช้ในรถยนต์เพื่อเป็นระบบนาทาง โดยทางานร่วมกับโปรแกรมแผนที่ที่บรรจุอยู่ในตัวเครื่อง ปัจจุบันมีการ นาระบบจีพีเอสไปติดตั้งในเครื่องพีดีเอ กล้องดิจิทัล และโทรศัพท์เคลื่อนที่ การใช้งานจีพีเอสเพื่อระบุตาแหน่งบนพื้น โลกจาเป็นต้องติดต่อกับดาวเทียมอย่างน้อย ๓ ดวง ในกรณีที่ต้องการทราบความสูงของตาแหน่งจากพื้นโลกด้วย ต้องติดต่อกับดาวเทียมอย่างน้อย ๔ ดวง
  • 6.
  • 7. • ๑.๒ อาร์เอฟไอดี • อาร์เอฟไอดี (Radio Frequency Identification: RFID) เป็นเทคโนโลยีที่ใช้คลื่นวิทยุในการอ่านข้อมูล ใช้ในระบบ ป้ องกันการขโมยสินค้า ระบบอ่านบัตรประจาตัวพนักงาน ระบบเก็บค่าผ่านทาง โครงสร้างของระบบประกอบด้วย ๒ ส่วนย่อย คือ ทรานสปอนเดอร์ (Transponder) และเครื่องอ่าน (Reader) • ประโยชน์ของอาร์เอฟไอดี ๑) สามารถอ่านทรานสปอนเดอร์พร้อมกันได้หลายชิ้นและใช้เวลารวดเร็ว ๒) ทนทานต่อความเปียนชื้น ๓) มีความปลอดภัยสูง ยากต่อการปลอมแปลงและเลียนแบบ ๔) ป้ องกันการอ่านข้อมูลซ้าของวัตถุชิ้นเดียวกัน ๕) สามารถอ่านข้อมูลได้โดยไม่จาเป็นต้องมองเห็นตัวทรานสปอนเดอร์
  • 8.
  • 9. • ๑.๓ เทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สาย • ปัจจุบันระบบไร้สายได้รับความนิยมอย่างมาก เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบจีเอสเอ็ม (Global System for Mobile Communication: GSM) เทคโนโลยีที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีตั้งแต่ยุคที่ ๒ (2G) และยุคที่ ๓ (3G) • 2G มีการบีบอัดสัญญาณเสียงในรูปแบบดิจิทัล การรับ-ส่งข้อมูลยังไม่มีประสิทธิภาพมากนัก • 2.5G นาระบบจีพีอาร์เอส (General Packet Radio Service: GPRS) มาใช้ร่วมกับระบบจีเอสเอ็ม ทาให้สามารถรับ ส่งข้อมูและเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ตได้ • เทคโนโลยีจีพีอาร์เอสนี้สามารถสื่อสารข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูงสุด 171.2 กิโลบิตต่อวินาที ต่อมาได้มีการปรับปรุงระบบจีพีอาร์เอสให้มี ความเร็วในการสื่อสารสูงขึ้นถึง 384 กิโลบิตต่อวินาที เทคโนโลยีนี้ชื่อว่า เอจ (Enhanced Data Rates for Global Evolution: EDGE) ซึ่งจัดอยู่ในยุค 2.75G • 3G ทางานในระบบซีดีเอ็มเอ (Code Division Multiple Access: CDMA) อัตราเร็วในการรับส่งข้อมูล (transmission rate) ไม่ต่ากว่า 2 เมกะบิตต่อวินาที สามารถใช้งานมัลติมีเดียความเร็วสูงได้อย่างต่อเนื่อง เช่น การรับชมวีดิทัศน์จากอินเทอร์เน็ต การสนทนาแบบเห็น ภาพคู่สนทนา จึงมีการพัฒนาบริการต่าง ๆ ขึ้นอีกมากมาย เช่น การให้บริการแบบมัลติมีเดียที่สามารถรับส่งข้อมูลขนาดใหญ่ การ ประชุมทางไกลผ่านหน้าจอของโทรศัพท์เคลื่อนที่ • 4G ทาให้การส่งข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ตด้วยความเร็วสูงกว่า 3G มีการให้บริการที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัยมากยิ่งขึ้น อัตราในการส่ง ข้อมูลไม่ต่ากว่า 100 เมกะบิตต่อวินาที
  • 10.
  • 11. • ๑.๔ การประมวลผลภาพ • การประมวลผลภาพ (image processing) เป็นการนาภาพมาเปลี่ยนเป็นข้อมูลดิจิทัล เช่น • ระบบตรวจกระดาษคาตอบ • ระบบตรวจจับใบหน้าในกล้องดิจิทัล • ระบบอ่านบาร์โค้ด • ระบบตรวจจับการเคลื่อนไหวเพื่อการรักษาความปลอดภัย
  • 12.
  • 13. • ๑.๕ การแสดงภาพ ๓ มิติ • เทคนิคการแสดงภาพ ๓ มิติ เป็นการนาภาพ ๒ มิติมาแสดงผล โดยมีเทคนิคการแสดงภาพที่ทาให้ตาข้างซ้ายและตา ข้างขวามองเห็นภาพของวัตถุเดียวกันในมุมมองที่แตกต่างกัน ส่งผลให้สมองตีความเป็นภาพที่มีความลึก ตัวอย่าง เทคนิคการแสดงภาพ ๓ มิติ มีดังนี้ • การแสดงภาพแบบแอนะกลิฟ (anaglyph) เป็นการฉายภาพสาหรับตาซ้ายและตาขวาที่มีโทนสีที่แตกต่างกันลงบน ฉากรับภาพเดียวกัน โทนสีที่ใช้มักจะเป็นสีแดงและน้าเงิน การมองด้วยตาเปล่าจะทาให้เห็นเป็นภาพซ้อนและเหลื่อม กันเล็กน้อย การมองภาพ ๓มิติ ต้องใช้แว่นที่มีแผ่นกรองแสงด้านหน้าที่มีข้างหนึ่งเป็นสีแดงและอีกข้างหนึ่งเป็นสีน้า เงิน
  • 14.
  • 15. การแสดงภาพแบบโพลาไรซ์ ๓ มิติ (polarized 3-D) มีการทางานคล้ายกับแอนะกลิฟ โดยฉายภาพลงที่ ฉากรับภาพเดียวกัน มุมมองของภาพที่แตกต่างกันแต่เปลี่ยนจากการใช้สี ไปใช้วิธีการวางตัวของช่องมอง ภาพแต่ละภาพที่ซ้อนกันแทน เช่น แว่นตาข้างซ้ายจะมองภาพผ่านช่องในแนวตั้ง ส่วนแว่นตาข้างขวาจะ มองภาพผ่านช่องในแนวนอน ทาให้ตาแต่ละข้างมองเห็นภาพไม่เหมือนกัน เมื่อสมองรวมภาพจากตาข้าง ซ้ายและขวา จะมองเห็นภาพเป็น ๓มิติ
  • 16. การแสดงภาพแบบแอ็กทิฟชัตเตอร์ (active shutter) อาศัยการฉายภาพที่มีความถี่ในการแสดงภาพ อย่างน้อย 120 เฮิร์ต เนื่องจากต้องแสดงภาพสาหรับตาซ้ายและตาขวาสลับกันไปจนครบ 120 ภาพ ใน 1 วินาที ตาข้างซ้ายและขวาจึงเห็นข้างละ 60 ภาพใน 1 วินาที ซึ่งเป็นความถี่ขั้นต่าที่ทาให้ไม่รู้สึกว่าภาพ สั่น การฉายภาพลักษณะนี้ต้องใช้แว่นตาแอ็กทิฟชัตเตอร์ช่วยในการมองเห็นภาพ โดยแว่นตาจะสื่อสารกับ เครื่องฉายว่าจะบังตาข้างไหนในขณะฉายภาพ เช่นภาพสาหรับตาซ้าย เครื่องฉายจะส่งสัญญาณให้แว่นบัง ตาขวา ดังนั้นแว่นนี้ต้องใช้สัญญาณไฟฟ้ าในการทางาน ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีนี้ เช่น โทรทัศน์ 3 มิติ
  • 17. การแสดงภาพแบบพาราแลกซ์บาร์เรีย (paralax barrier) จะไม่ใช่แว่นตา วิธีนี้จะแบ่งภาพที่มีมุมมอง ต่างกันออกเป็นแท่งแล้วนาไปวางสลับกัน โดยมีชั้นกรองพิเศษ ทีเรียกว่า พาราแลกซ์บาร์เรีย ในการแบ่ง ภาพให้ตาแต่ละข้างที่มองผ่านชั้นกรองนี้เห็นภาพที่แตกต่างกัน แล้วสมองจะรวมภาพจากตาซ้ายและตา ขวาที่มีมุมมองต่างกันนี้ให้เป็นภาพเดียวกัน ทาให้เรามองเห็นเป็นภาพ ๓ มิติ เช่น กล้องดิจิทัล ๓ มิติ ที่ เราสามารถมองเห็นภาพถ่ายบนจอแอลซีดีเป็นภาพ ๓ มิติ
  • 18. • ๑.๖ มัลติทัช • รับข้อมูลโดยใช้นิ้วสัมผัสที่จอภาพโดยตรง เรียกว่า จอสัมผัส (touch screen) ทาให้การใช้งานมี ปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้โดยตรง เช่น จอสัมผัสตู้เอทีเอ็ม จอสัมผัสแสดงข้อมูลร้านค้าในห้างสรรพสินค้า จอ สัมผัสเครื่องจีพีเอส จอสัมผัสเครื่องพีดีเอ จอสัมผัสสมาร์ทโฟน จอสัมผัสเหล่านี้สั่งการโดยใช้สไตลัส (Stylus) หรือนิ้วสัมผัสบนจอ การสั่งการที่สัมผัสจอภาพทีละจุด เรียกว่าซิงเกิลทัช (Single touch) • ปัจจุบันสามารถรองรับคาสั่งผ่านหน้าจอสัมผัสได้หลายจุดพร้อมกัน เรียกว่า มัลติทัช (multi touch) ทาให้มีการปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ พีดีเอ และสมาร์โฟนแตกต่างออกไป การรับรู้ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เกิดจากรูปแบบการเคลื่อนไหวของนิ้วมือหลายนิ้วของผู้ใช้สัมผัสไปบน จอภาพโดยตรง ผู้ใช้สามารถสัมผัสแผงแป้ นสัมผัสหรือเรียกว่า ทัชแพด (touchpad) เพื่อเลือก เลื่อน หรือขยายวัตถุที่แสดงผลอยู่
  • 19.
  • 20. ประโยชน์ของเทคโนโลยีสมัยใหม่ 1.กำรสร้ำงเสริมคุณภำพชีวิตที่ดีขึ้น สภำพควำมเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีกำรพัฒนำใช้ระบบสื่อสำร โทรคมนำคม เพื่อติดต่อสื่อสำรให้สะดวกขึ้น มีกำรประยุกต์มำใช้กับเครื่องอำนวยควำมสะดวก 2. เสริมสร้ำงควำมเท่ำเทียมในสังคมและกำรกระจำยโอกำส เทคโนโลยีสำรสนเทศทำให้เกิดกำรกระจำยไปทั่ว ทุกหนแห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดำร ทำให้มีกำรกระจำยโอกำสกำรเรียนรู้ มีกำรใช้ระบบกำรเรียนกำรสอนทำงไกล เสริมสร้ำงกำรเรียนรู้ 3. สำรสนเทศกับกำรเรียนกำรสอนในโรงเรียน กำรเรียนกำรสอนในโรงเรียนมีกำรนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือ ประกอบช่วยในกำร เรียนรู้ เช่น วีดีทัศน์ เครื่องฉำยภำพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือ กำรสร้ำงเว็บไซต์กำร เรียนรู้
  • 21. ประโยชน์ของเทคโนโลยีสมัยใหม่ 4. เทคโนโลยีสำรสนเทศกับสิ่งแวดล้อม กำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติหลำยอย่ำงจำเป็นต้องใช้สำรสนเทศ เช่น กำรดูแลรักษำป่ ำ จำเป็นต้องใช้ข้อมูล มีกำรใช้ภำพถ่ำยดำวเทียม กำรติดตำมข้อมูลสภำพอำกำศ กำร พยำกรณ์อำกำศ กำรจำลองรูปแบบสภำวะสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับปรุงแก้ไข เทคโนโลยีสำรสนเทศกับกำรป้องกันประเทศ กิจกำรทำงด้ำนกำรทหำรมีกำรใช้เทคโนโลยี อำวุธ ยุทโธปกรณ์สมัยใหม่ล้วนแต่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และระบบควบคุม มีกำรใช้ระบบป้องกันภัย ระบบเฝ้ำ ระวังที่มีคอมพิวเตอร์ควบคุมกำรทำงำน 5. กำรผลิตในอุตสำหกรรม และกำรพำณิชยกรรม กำรแข่งขันทำงด้ำนกำรผลิตสินค้ำอุตสำหกรรมจำเป็นต้อง หำวิธีกำรในกำรผลิตให้ ได้มำก รำคำถูกลงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ำมำมีบทบำทมำก มีกำรใช้ข้อมูลข่ำวสำร เพื่อกำรบริหำรและกำรจัดกำร กำรดำเนินกำรและยังรวมไปถึงกำรให้บริกำรกับลูกค้ำ เพื่อให้ซื้อสินค้ำได้สะดวก ขึ้น