SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
504
๑.	มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ต ๑.๑	 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆและแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
ตัวชี้วัด
ป. ๔/๒	 อ่านออกเสียงคำ� สะกดคำ� อ่านกลุ่มคำ� ประโยค ข้อความต่างๆ และบทพูดเข้าจังหวะถูกต้องตาม
หลักการอ่าน
ป. ๔/๓	 เลือก / ระบุภาพ หรือสัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายตรงตามความหมายของประโยคและข้อความ
สั้นๆ ที่ฟังหรืออ่าน
มาตรฐาน ต ๑.๒	 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิด
เห็นอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด
ป. ๔/๑	 พูด / เขียน โต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล
ป. ๔/๓	 พูด / เขียนแสดงความต้องการของตนเอง และขอความช่วยเหลือในสถานการณ์ง่ายๆ
มาตรฐาน ต ๑.๓	 นำ�เสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูดและ
การเขียน
ตัวชี้วัด
ป. ๔/๒	 พูด / วาดภาพแสดงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ใกล้ตัวตามที่ฟังหรืออ่าน
ป. ๔/๓	 พูดแสดงความคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ใกล้ตัว
มาตรฐาน ต ๓.๑	 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐาน
ในการพัฒนา แสวงหาความรู้ เปิดโลกทัศน์ของตน
ตัวชี้วัด
ป. ๔/๑	 ค้นคว้า รวบรวมคำ�ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และนำ�เสนอด้วยการพูด / การเขียน
มาตรฐาน ต ๔.๑	 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม
ตัวชี้วัด
ป. ๔/๑	 ฟังและพูด / อ่านในสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและสถานศึกษา
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ป.๔-๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ Unseen things in Thailand
เรื่อง Place of Interest ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔
505
๒.	สาระการเรียนรู้
Unseen in Thailand : Places of interest
๓.	จุดประสงค์การเรียนรู้
	 ๑.	 นักเรียนอ่านและถาม-ตอบ เกี่ยวกับเรื่องสถานที่ท่องเที่ยวได้
	 ๒.	 นักเรียนบอกข้อมูลของสถานที่ที่อ่านว่าคือสถานที่ใด ตั้งอยู่ที่ไหน วิธีเดินทาง การเตรียมตัว
	 ๓.	 นักเรียนนำ�เสนอการเตรียมตัวของตนเอง
	 ๔.	 นักเรียนจัดทำ�และนำ�เสนอแผ่นพับหรือใบปลิวความประทับใจหรือการเชิญชวนให้ไปเที่ยวในที่ใดๆ
๔.	กระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 1.	 Teacher asks the students where have you ever visited in Thailand?
Pupils still answer of places where they’ve gone or visited. Teacher
asksthem“Whendidyougothere?,Whatdidyoudoatthere?,How
did you go there?, Did you go by bus or train?, Can you go there by
plane?, Why did you go there?” or “Have you ever visited Hua Hin
/ Prachuab Kirikhan?” After the students answer somewhere that
involve our context preparing such like : Sun flowers Plantation in
Saraburi.Teachershouldshowsomepicturesoftheplaceintheles-
son. Teacher should ask the questions to inspire the students the use
their imagination about, what, when, where, why, how at there.
ปฏิบัติกิจกรรมเหมือนโรงเรียนต้นทาง
	 2.	 Studentsarehelpingtoanswerthequestionsandtheywilldrawmap-
ping of the circumstances of that place.
	 3.	 Students workin group of4-5personsto create their own brochures
to recommend the tourist attractions and present their outcome.
	 4.	 Studentscanusethemappingasthesourcestheinstructtheinforma-
tion of the places which they choose.
Mapping I
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
506
วังไกลกังวล
วังไกลกังวล ตั้งอยู่ริมทะเลอำ�เภอหัวหิน จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ ๗ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นด้วย
พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ สำ�หรับใช้เป็นที่ประทับใน
ฤดูร้อนและพระราชทานแด่สมเด็จพระนางเจ้ารำ�ไพพรรณี
พระบรมราชินีโดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้หม่อมเจ้า
อิทธิเทพสรรค์  กฤดากรสำ�เร็จการศึกษาด้านสถาปัตยกรรม
จาก The Ecole Des Beaux Arts ประเทศฝรั่งเศสดำ�รง
ตำ�แหน่งผู้อำ�นวยการศิลปากรสถานในขณะนั้น เป็น
ผู้ออกแบบและอำ�นวยการก่อสร้างวังไกลกังวล การเตรียม
การปลูกสร้างวังไกลกังวลเริ่มขึ้นเมื่อเดือนตุลาคม ๒๔๖๙
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงประกอบพิธี
ก่อพระฤกษ์ รากพระตำ�หนักเปี่ยมสุขด้วยพระองค์เอง
ในวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๔๗๐ พร้อมอาคารต่างๆ เริ่มทำ�
การก่อสร้าง
เมื่อพระตำ�หนักที่ประทับสร้างแล้วเสร็จ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานพระราชพิธีคฤหมงคลขึ้นองค์
พระตำ�หนักเปี่ยมสุข ระหว่างวันที่ ๑๐ - ๑๑ เมษายน ๒๔๗๒ จากนั้นอาคารต่างๆ ภายในวังไกลกังวลถูกสร้างเพิ่มเติม
เรื่อยมา จนถึงปีพุทธศักราช ๒๔๗๖
ด้วยพระราชประสงค์ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัง
ไกลกังวลขึ้นเพื่อทรงใช้เป็นที่ประทับในฤดูร้อน ดังนั้นวังไกลกังวลจึงไม่มี
ท้องพระโรงที่จะทรงใช้ออกว่าราชการ การแบ่งเขตพระราชฐานเป็นการ
แบ่งอย่างเรียบง่าย ใช้เพียงกำ�แพงกั้นแบ่งพระราชฐานที่ประทับ และที่พัก
ของคณะผู้ติดตาม มีทางเข้า - ออกเชื่อมถึงกันเท่านั้น
แต่เดิมวังไกลกังวล ประกอบด้วยพระตำ�หนักสำ�คัญ ๓ หลัง
หันหน้าออกไปทางทะเล คือ พระตำ�หนักเปี่ยมสุข ซึ่งเป็นพระตำ�หนัก
ที่ใหญ่ที่สุด อยู่กึ่งกลางระหว่างพระตำ�หนักปลุกกเสม ตั้งอยู่ทางทิศเหนือ
และตำ�หนักน้อยซึ่งตั้งอยู่ทางทิศใต้ พระตำ�หนักทั้งสามหลังนี้เป็นอาคาร
๒ชั้นส่วนเรือนเอิบ-เปรมและเรือนเอมปรีดิ์เป็นที่พักของคณะผู้ติดตาม
เป็นอาคารชั้นเดียว
ภ า ค ผ น ว ก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔
507
“ศาลาเริง”อาคารอเนกประสงค์ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้เป็นที่ประทับพักผ่อนพระราชอิริยาบถ
และสำ�หรับจัดงานเลี้ยงพระราชทาน
สถาปัตยกรรมของวังไกลกังวลเป็นศิลปะแบบสเปน ได้ถูกออกแบบให้เป็นวังที่เหมาะสมกับภูมิอากาศของ
ประเทศ และให้ความรู้สึกของคำ�ว่า “บ้านพักในฤดูร้อน”
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ขยายพื้นที่วังไกลกังวลและสร้างที่
ประทับพระราชทานแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีรวมทั้งที่พักของคณะผู้ติดตามเพิ่มเติมโดยทรง
ให้ออกแบบตามแบบสถาปัตยกรรมเดิมในสมัยรัชกาลที่ ๗ เพื่อเป็นการอนุรักษ์และสร้างความกลมกลืน
บริเวณด้านหน้าพระตำ�หนักเป็นสนามตบแต่งด้วยไม้ดอก ไม้ใบและต้นไม้ดัด รูปแกะสลักหินจากประเทศ
อินโดนีเซีย อุปกรณ์ที่ใช้ในการเดินเรือ นาฬิกาแดด ตะเกียง และหินประดับ
ปัจจุบันพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พร้อม
ด้วยพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จฯแปรพระราชฐานมาประทับแรมณวังไกลกังวลในคราวที่เสด็จฯเยี่ยมเยียนราษฎรและเพื่อ
ทรงติดตามผลงานของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริที่ทรงริเริ่มไว้ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และจังหวัดใกล้เคียง
Klai Kangwon Palace
KlaiKangwonPalacestandsbytheseaintheHua-HinDistrictofPrachuapKirikhanProvince.KingPrajakh-
ipok (Rama VII) had graciously to build it as a summer palace for Queen Rambai Barni by using money from the Privy
Purse. He ordered Prince Iddhidehsarn Kridakara, an architectural graduate from the Ecole Des Beaux Arts in France
and the director of the Department of Fine Arts, to design and surpervise the palace constructed. Preparation of the site
began on October 1926. On September 21, 1927 a royal mansion and other building were constructed.
A celebration to mark the completion of the royal mansion was held on  10 - 11 April, 1929 and other struc-
tures were added until 1933.
As the Klai Kangwon Palace was built as a summer palace, There is no throne hall in which to hold audi-
ences. The compound was separated simply into the royal area and accommodation for the entourage by using walls
with many entrances.
Originally, this palace consisted of three important mansions faces the sea. Phra Tamnak Piamsuk, which is
the largest is in the middle of the three. Tamnak Plukkasem, stands on the north and Tamnak Noi stands on the south,
are smaller in size. These three mansions are two-storey building, while the houses for the entourage; Ruen Erb Pream
and Ruen Aimpri, are one-storey.
The Sala Roeng, a multi-purpose pavilion, is for the king to relax and hold private parties.
The architecture of this palace is Spanish style, was adapted to suit the tropical climate in Thailand serve the
function of a summer palace. The feeling is more that of a large house than a formal palace.
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
508
His Majesty King Bhumibol (Rama IX) has graciously commanded to expand the area of the palace. He or-
deredtobuildamansionforHRHPrincessMahaChakriSirindhorn,andotherbuildingsinthesamestyleastheoriginal
seventh reign buildings so as to preserve harmony among the buildings of the palace, also the accommodation has been
built for their entourage.
In front of the palace is a formal garden, with topiary work bushes and trees. The garden ornaments include
stone sculptures from Bali, nautical items, sundials, lamps and decorative rocks and boulders.
H.M.KingBhumibolandH.M.QueenSirikitwiththeirentouragemovefromChittraladaVilla,Bangkoktostay
atKlaiKangwonPalaceduringtheirdoingtheroyalactivitiesatPrachuapKirikhanProvinceandthevicinityprovinces.
w w w w w w w w

More Related Content

More from Prachoom Rangkasikorn

More from Prachoom Rangkasikorn (20)

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
 

06 placeof interest+188

  • 1. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 504 ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆและแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตัวชี้วัด ป. ๔/๒ อ่านออกเสียงคำ� สะกดคำ� อ่านกลุ่มคำ� ประโยค ข้อความต่างๆ และบทพูดเข้าจังหวะถูกต้องตาม หลักการอ่าน ป. ๔/๓ เลือก / ระบุภาพ หรือสัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายตรงตามความหมายของประโยคและข้อความ สั้นๆ ที่ฟังหรืออ่าน มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิด เห็นอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ป. ๔/๑ พูด / เขียน โต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล ป. ๔/๓ พูด / เขียนแสดงความต้องการของตนเอง และขอความช่วยเหลือในสถานการณ์ง่ายๆ มาตรฐาน ต ๑.๓ นำ�เสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูดและ การเขียน ตัวชี้วัด ป. ๔/๒ พูด / วาดภาพแสดงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ใกล้ตัวตามที่ฟังหรืออ่าน ป. ๔/๓ พูดแสดงความคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ใกล้ตัว มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐาน ในการพัฒนา แสวงหาความรู้ เปิดโลกทัศน์ของตน ตัวชี้วัด ป. ๔/๑ ค้นคว้า รวบรวมคำ�ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และนำ�เสนอด้วยการพูด / การเขียน มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม ตัวชี้วัด ป. ๔/๑ ฟังและพูด / อ่านในสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและสถานศึกษา แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ป.๔-๖ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ Unseen things in Thailand เรื่อง Place of Interest ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมง
  • 2. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔ 505 ๒. สาระการเรียนรู้ Unseen in Thailand : Places of interest ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนอ่านและถาม-ตอบ เกี่ยวกับเรื่องสถานที่ท่องเที่ยวได้ ๒. นักเรียนบอกข้อมูลของสถานที่ที่อ่านว่าคือสถานที่ใด ตั้งอยู่ที่ไหน วิธีเดินทาง การเตรียมตัว ๓. นักเรียนนำ�เสนอการเตรียมตัวของตนเอง ๔. นักเรียนจัดทำ�และนำ�เสนอแผ่นพับหรือใบปลิวความประทับใจหรือการเชิญชวนให้ไปเที่ยวในที่ใดๆ ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง 1. Teacher asks the students where have you ever visited in Thailand? Pupils still answer of places where they’ve gone or visited. Teacher asksthem“Whendidyougothere?,Whatdidyoudoatthere?,How did you go there?, Did you go by bus or train?, Can you go there by plane?, Why did you go there?” or “Have you ever visited Hua Hin / Prachuab Kirikhan?” After the students answer somewhere that involve our context preparing such like : Sun flowers Plantation in Saraburi.Teachershouldshowsomepicturesoftheplaceintheles- son. Teacher should ask the questions to inspire the students the use their imagination about, what, when, where, why, how at there. ปฏิบัติกิจกรรมเหมือนโรงเรียนต้นทาง 2. Studentsarehelpingtoanswerthequestionsandtheywilldrawmap- ping of the circumstances of that place. 3. Students workin group of4-5personsto create their own brochures to recommend the tourist attractions and present their outcome. 4. Studentscanusethemappingasthesourcestheinstructtheinforma- tion of the places which they choose. Mapping I
  • 3. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 506 วังไกลกังวล วังไกลกังวล ตั้งอยู่ริมทะเลอำ�เภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นด้วย พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ สำ�หรับใช้เป็นที่ประทับใน ฤดูร้อนและพระราชทานแด่สมเด็จพระนางเจ้ารำ�ไพพรรณี พระบรมราชินีโดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้หม่อมเจ้า อิทธิเทพสรรค์ กฤดากรสำ�เร็จการศึกษาด้านสถาปัตยกรรม จาก The Ecole Des Beaux Arts ประเทศฝรั่งเศสดำ�รง ตำ�แหน่งผู้อำ�นวยการศิลปากรสถานในขณะนั้น เป็น ผู้ออกแบบและอำ�นวยการก่อสร้างวังไกลกังวล การเตรียม การปลูกสร้างวังไกลกังวลเริ่มขึ้นเมื่อเดือนตุลาคม ๒๔๖๙ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงประกอบพิธี ก่อพระฤกษ์ รากพระตำ�หนักเปี่ยมสุขด้วยพระองค์เอง ในวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๔๗๐ พร้อมอาคารต่างๆ เริ่มทำ� การก่อสร้าง เมื่อพระตำ�หนักที่ประทับสร้างแล้วเสร็จ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานพระราชพิธีคฤหมงคลขึ้นองค์ พระตำ�หนักเปี่ยมสุข ระหว่างวันที่ ๑๐ - ๑๑ เมษายน ๒๔๗๒ จากนั้นอาคารต่างๆ ภายในวังไกลกังวลถูกสร้างเพิ่มเติม เรื่อยมา จนถึงปีพุทธศักราช ๒๔๗๖ ด้วยพระราชประสงค์ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัง ไกลกังวลขึ้นเพื่อทรงใช้เป็นที่ประทับในฤดูร้อน ดังนั้นวังไกลกังวลจึงไม่มี ท้องพระโรงที่จะทรงใช้ออกว่าราชการ การแบ่งเขตพระราชฐานเป็นการ แบ่งอย่างเรียบง่าย ใช้เพียงกำ�แพงกั้นแบ่งพระราชฐานที่ประทับ และที่พัก ของคณะผู้ติดตาม มีทางเข้า - ออกเชื่อมถึงกันเท่านั้น แต่เดิมวังไกลกังวล ประกอบด้วยพระตำ�หนักสำ�คัญ ๓ หลัง หันหน้าออกไปทางทะเล คือ พระตำ�หนักเปี่ยมสุข ซึ่งเป็นพระตำ�หนัก ที่ใหญ่ที่สุด อยู่กึ่งกลางระหว่างพระตำ�หนักปลุกกเสม ตั้งอยู่ทางทิศเหนือ และตำ�หนักน้อยซึ่งตั้งอยู่ทางทิศใต้ พระตำ�หนักทั้งสามหลังนี้เป็นอาคาร ๒ชั้นส่วนเรือนเอิบ-เปรมและเรือนเอมปรีดิ์เป็นที่พักของคณะผู้ติดตาม เป็นอาคารชั้นเดียว ภ า ค ผ น ว ก
  • 4. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๔ 507 “ศาลาเริง”อาคารอเนกประสงค์ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้เป็นที่ประทับพักผ่อนพระราชอิริยาบถ และสำ�หรับจัดงานเลี้ยงพระราชทาน สถาปัตยกรรมของวังไกลกังวลเป็นศิลปะแบบสเปน ได้ถูกออกแบบให้เป็นวังที่เหมาะสมกับภูมิอากาศของ ประเทศ และให้ความรู้สึกของคำ�ว่า “บ้านพักในฤดูร้อน” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ขยายพื้นที่วังไกลกังวลและสร้างที่ ประทับพระราชทานแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีรวมทั้งที่พักของคณะผู้ติดตามเพิ่มเติมโดยทรง ให้ออกแบบตามแบบสถาปัตยกรรมเดิมในสมัยรัชกาลที่ ๗ เพื่อเป็นการอนุรักษ์และสร้างความกลมกลืน บริเวณด้านหน้าพระตำ�หนักเป็นสนามตบแต่งด้วยไม้ดอก ไม้ใบและต้นไม้ดัด รูปแกะสลักหินจากประเทศ อินโดนีเซีย อุปกรณ์ที่ใช้ในการเดินเรือ นาฬิกาแดด ตะเกียง และหินประดับ ปัจจุบันพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พร้อม ด้วยพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จฯแปรพระราชฐานมาประทับแรมณวังไกลกังวลในคราวที่เสด็จฯเยี่ยมเยียนราษฎรและเพื่อ ทรงติดตามผลงานของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริที่ทรงริเริ่มไว้ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และจังหวัดใกล้เคียง Klai Kangwon Palace KlaiKangwonPalacestandsbytheseaintheHua-HinDistrictofPrachuapKirikhanProvince.KingPrajakh- ipok (Rama VII) had graciously to build it as a summer palace for Queen Rambai Barni by using money from the Privy Purse. He ordered Prince Iddhidehsarn Kridakara, an architectural graduate from the Ecole Des Beaux Arts in France and the director of the Department of Fine Arts, to design and surpervise the palace constructed. Preparation of the site began on October 1926. On September 21, 1927 a royal mansion and other building were constructed. A celebration to mark the completion of the royal mansion was held on 10 - 11 April, 1929 and other struc- tures were added until 1933. As the Klai Kangwon Palace was built as a summer palace, There is no throne hall in which to hold audi- ences. The compound was separated simply into the royal area and accommodation for the entourage by using walls with many entrances. Originally, this palace consisted of three important mansions faces the sea. Phra Tamnak Piamsuk, which is the largest is in the middle of the three. Tamnak Plukkasem, stands on the north and Tamnak Noi stands on the south, are smaller in size. These three mansions are two-storey building, while the houses for the entourage; Ruen Erb Pream and Ruen Aimpri, are one-storey. The Sala Roeng, a multi-purpose pavilion, is for the king to relax and hold private parties. The architecture of this palace is Spanish style, was adapted to suit the tropical climate in Thailand serve the function of a summer palace. The feeling is more that of a large house than a formal palace.
  • 5. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 508 His Majesty King Bhumibol (Rama IX) has graciously commanded to expand the area of the palace. He or- deredtobuildamansionforHRHPrincessMahaChakriSirindhorn,andotherbuildingsinthesamestyleastheoriginal seventh reign buildings so as to preserve harmony among the buildings of the palace, also the accommodation has been built for their entourage. In front of the palace is a formal garden, with topiary work bushes and trees. The garden ornaments include stone sculptures from Bali, nautical items, sundials, lamps and decorative rocks and boulders. H.M.KingBhumibolandH.M.QueenSirikitwiththeirentouragemovefromChittraladaVilla,Bangkoktostay atKlaiKangwonPalaceduringtheirdoingtheroyalactivitiesatPrachuapKirikhanProvinceandthevicinityprovinces. w w w w w w w w