SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
(สงครามเย็น)
จัดทำโดย
นำย พีร์ อิสระธำนันท์ เลขที่ 4
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5.13
โรงเรียนสำมัคคีวิทยำคม
The cold war
The Cold War
สงครำมเย็น หนึ่งในสงครำมครั้งสำคัญที่ถูกบันทึกไว้ในหน้ำ
ประวัติศำสตร์โลก แม้ว่ำ สงครำมเย็นจะเป็นสงครำมที่เกิดจำก
ควำมขัดแย้งอุดมกำรณ์ทำงกำรเมือง แต่มันก็ได้ลุกลำมและแผ่
ขยำยจนสร้ำงควำมตึงเครียดไปทั่วโลก สงครำมเย็น เป็นกำร
ต่อสู้กันระหว่ำงกลุ่มประเทศ 2 กลุ่ม ที่มีอุดมกำรณ์ทำง
กำรเมืองและระบอบกำรเมืองต่ำงกันระหว่ำงกลุ่มประเทศโลกเสรี
นำโดยสหรัฐอเมริกำ และกลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ นำโดยสหภำพ
โซเวียต ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงหลังสงครำมโลกครั้งที่สอง ช่วงประมำณ
ค.ศ.1947-1991 (พ.ศ. 2490-2534)
โดยประเทศมหำอำนำจทั้ง 2 ฝ่ำยจะไม่ทำสงครำมกัน
โดยตรง แต่จะพยำยำมสร้ำงแสนยำนุภำพทำงกำรทหำร
ของตนไว้ข่มขู่ฝ่ำยตรงข้ำม และสนับสนุนให้ประเทศพันธมิตร
ของตนเข้ำทำสงครำมแทน หรือที่เรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ
สงครำมตัวแทน (Proxy War) เหตุที่เรียก สงครำมเย็น
เนื่องจำกเป็นกำรต่อสู้กันระหว่ำงมหำอำนำจ โดยใช้
จิตวิทยำ ไม่ได้นำพำไปสู่กำรต่อสู้ด้วยกำลังทหำรโดยตรง
แต่ใช้วิธีกำรโฆษณำชวนเชื่อกำรแทรกซึมบ่อนทำลำย กำร
ประณำม กำรแข่งขันกันสร้ำงกำลังอำวุธ และแสวงหำ
อิทธิพลในประเทศเล็ก
ลักษณะของสงครำมเย็น
1.กำรแข่งขันสร้ำงพันธมิตรทำงทหำร
2.กำรแข่งขันด้ำนอุดมกำรณ์
3.กำรแข่งขันด้ำนเทคโนโลยี (ด้ำน
อวกำศ กำรทหำร)
4.กำรทำสงครำมตัวแทน
The colD WAR : FACTORS
(สำเหตุของสงครำมเย็น)
สงครำมเย็นมีสำเหตุมำจำกควำมขัดแย้งทำงด้ำน
อุดมกำรณ์ทำงกำรเมืองของประเทศมหำอำนำจทั้งสอง คือ
สหรัฐอเมริกำ และสหภำพโซเวียต ที่ยึดถือเป็นแนวทำงในกำร
ดำเนินนโยบำยต่ำงประเทศ และควำมขัดแย้งทำงด้ำน
ผลประโยชน์และเขตอิทธิพล เพื่อครองควำมเป็นผู้นำของโลก
โดยทั้งสองประเทศพยำยำมแสวงหำผลประโยชน์และเขต
อิทธิพลในประเทศต่ำง ๆ ทั้งนี้เป็นผลมำจำกกำรที่ผู้ยิ่งใหญ่
หรือผู้นำทำงกำรเมืองของโลกในสมัยก่อน คือ อังกฤษ
เยอรมนี ได้หมดอำนำจลงภำยหลังสงครำมโลกครั้งที่ 2
The cold war : history
(ควำมเป็นมำของสงครำมเย็น)
เมื่อสงครำมโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง โดยเยอรมนีเป็นฝ่ำยพ่ำยแพ้ต่อฝ่ำยสหประชำชำติ
ทำให้สหรัฐอเมริกำและโซเวียตขำดจุดมุ่งหมำยที่จะดำเนินกำรร่วมกันอีกต่อไป และ
ควำมขัดแย้งก็เริ่มต้นขึ้นหลังจำกทั้งสองประเทศมีมุมมองต่ออนำคตของประเทศใน
ยุโรปตะวันออกและประเทศเยอรมนีแตกต่ำงกัน และทำให้เกิดควำมขัดแย้งทำง
อุดมกำรณ์อย่ำงชัดเจน กล่ำวคือ เกี่ยวกับประเทศยุโรปตะวันออกนั้น ประเทศทั้งสอง
ได้เคยตกลงกันไว้ที่เมืองยัลต้ำ (Yalta)เมื่อเดือนกุมภำพันธ์ ค.ศ.1945 ว่ำ
"เมื่อสิ้นสงครำมแล้ว จะมีกำรสถำปนำกำรปกครองระบบประชำธิปไตยใน
ประเทศเหล่ำนั้น" แต่พอสิ้นสงครำม โซเวียตได้ใช้ควำมได้เปรียบของตนในฐำนะที่มีกำลัง
กองทัพอยู่ในประเทศเหล่ำนั้น สถำปนำประชำธิปไตยตำมแบบของตนขึ้นที่เรียกว่ำ
"ประชำธิปไตยของประชำชน" ฝ่ำยสหรัฐอเมริกำจึงทำกำรคัดค้ำน เพรำะประชำธิปไตย
ตำมควำมหมำยของสหรัฐอเมริกำ หมำยถึง "เสรีประชำธิปไตยที่จะเปลี่ยนรัฐบำลได้
โดยวิธีกำรเลือกตั้งที่เสรี" ส่วนโซเวียตก็ยืนกรำนไม่ยอมให้มีกำรเปลี่ยนแปลงใดๆ ส่วน
ในประเด็นที่เกี่ยวกับประเทศเยอรมนีก็เช่นกัน เพรำะโซเวียตไม่ยอมปฏิบัติกำรตำมกำร
เรียกร้องของสหรัฐอเมริกำที่ให้มีกำรรวมเยอรมนี และสถำปนำระบอบเสรี
ประชำธิปไตยในประเทศนี้ตำมที่ได้เคยตกลงกันไว้
ควำมไม่พอใจระหว่ำงประเทศทั้ง
สองเพิ่มมำกขึ้น เมื่อ
ประธำนำธิบดีทรูแมน (Harry S.
Truman) ของสหรัฐอเมริกำ ได้
สนับสนุนสุนทรพจน์ของอดีต
นำยกรัฐมนตรีเชอร์ชิล (Sir.
Winston Churchill) ของ
อังกฤษ ซึ่งได้กล่ำวในรัฐมิสซูรี
เมื่อเดือนมีนำคม ค.ศ.1946 ว่ำ
"ม่ำนเหล็กได้ปิดกั้นและแบ่งทวีป
ยุโรปแล้ว ขอให้ประเทศพี่น้องที่พูด
ภำษำอังกฤษด้วยกัน ร่วมมือกัน
ทำลำยม่ำนเหล็ก (Iron
Curtain)" ซึ่งหมำยควำมว่ำ เชอร์
ชิลล์เรียกร้องให้มีกำรจับขั้ว
พันธมิตรระหว่ำงสหรัฐอเมริกำ
กับอังกฤษเพื่อต่อต้ำนสหภำพโซ
เวียต ซึ่งถูกมองว่ำเป็นผู้สร้ำง
ม่ำนเหล็กกั้นยุโรป และด้วยสุนทร
พจน์นี้เอง ทำให้
ประเทศในโลกนี้แตก
ออกเป็นสองฝ่ำยระหว่ำงประเทศ
ประชำธิปไตยและคอมมิวนิสต์
อย่ำงชัดเจนส่วนปัญหำที่แสดงให้
เห็นถึงกำรแข่งขันในกำรเป็นผู้นำ
ของโลกแทนมหำอำนำจยุโรปก็คือ
กำรที่สหรัฐอเมริกำสำมำรถ
บังคับให้โซเวียตถอนทหำรออก
จำกอิหร่ำนได้สำเร็จในปี
ค.ศ.1946 ต่อมำในเดือนมีนำคม
ค.ศ.1947 อังกฤษได้ประกำศสละ
ควำมรับผิดชอบในกำรช่วยเหลือ
กรีซ และตุรกี ให้พ้นจำกกำร
คุกคำมของคอมมิวนิสต์ เพรำะไม่
มีกำลังพอที่จะปฏิบัติกำรได้ และ
ร้องขอให้สหรัฐอเมริกำเข้ำทำ
หน้ำที่นี้แทน
ประธำนำธิบดีทรูแมนจึงตกลงเข้ำช่วยเหลือและ
ประกำศหลักกำรในกำรดำเนินนโยบำยต่ำงประเทศ
ของสหรัฐอเมริกำให้โลกภำยนอกทรำบว่ำ "……จำก
นี้ไปสหรัฐอเมริกำจะเข้ำช่วยเหลือรัฐบำลของประเทศ
ที่รักเสรีทั้งหลำยในโลกนี้ให้พ้นจำกกำรคุกคำมโดย
ชนกลุ่มน้อยในประเทศที่ได้รับกำรช่วยเหลือจำก
ต่ำงประเทศ…" หลักกำรนี้เรียกกันว่ำ หลักกำรทรู
แมน (Truman Doctrine)
จำกนั้น สหรัฐอเมริกำก็แสดงให้ปรำกฏว่ำ
ตนพร้อมที่จะใช้กำลังทหำรและเศรษฐกิจ สกัดกั้น
กำรขยำยอิทธิพลของคอมมิวนิสต์ทุกแห่งในโลก ไม่
ว่ำจะเป็นทวีปยุโรป เอเชีย หรือแอฟริกำ
ทำให้ในเดือนกันยำยน ค.ศ. 1947 ผู้แทน
ของโซเวียตได้ประกำศต่อที่ประชุมพรรค
คอมมิวนิสต์ทั่วโลกที่นครเบลเกรด
ประเทศยูโกสลำเวีย ว่ำ "โลกได้แบ่ง
ออกเป็นสองค่ำยแล้วคือ ค่ำยจักรวรรดิ
นิยมอเมริกันผู้รุกรำน กับค่ำยโซเวียตผู้
รักสันติ…และเรียกร้องให้คอมมิวนิสต์ทั่ว
โลก ช่วยสกัดกั้นและทำลำยสหรัฐอม
ริกำ…." ฉะนั้น จึงกล่ำวได้ว่ำถ้อยแถลง
ของผู้แทนโซเวียตนี้เป็นกำรประกำศ
สงครำมกับสหรัฐอเมริกำอย่ำงเป็น
ทำงกำร
Peaceful Co. existence
(กำรดำเนินนโยบำย "กำรอยู่ร่วมกันอย่ำงสันติ“)
กำรดำเนินนโยบำย "กำรอยู่ร่วมกันอย่ำงสันติ" (Peaceful Co-
existence) ของประธำนำธิบดี นิกิตำ ครุสชอฟ (Nikita
Khrushchev) ของโซเวียต เนื่องจำกเกรงว่ำอำนำจนิวเคลียร์ที่โซเวียตและ
สหรัฐอเมริกำมีเท่ำเทียมกัน อำจถูกนำมำใช้ในกรณีที่ควำมตึงเครียด
ระหว่ำงสองฝ่ำยมีควำมรุนแรงขึ้น นอกจำกนี้ยังเชื่อว่ำประเทศที่มีลัทธิ
กำรเมืองและลัทธิเศรษฐกิจที่แตกต่ำงกัน จะสำมำรถติตดต่อค้ำขำยและมี
ควำมสัมพันธ์ต่อกันได้ โดยไม่ยุ่งเกี่ยวในกิจกำรภำยในซึ่งกันและกัน ดังนั้น
กำรต่อสู้ระหว่ำงค่ำยเสรีประชำธิปไตยกับค่ำยคอมมิวนิสต์อำจจะเอำชนะ
กันได้โดยไม่ต้องใช้กำลัง
อย่ำงไรก็ตำม หลักกำรอยู่ร่วมกันโดยสันติของโซเวียต เป็นเพียงแต่กำรเปลี่ยนจำก
กำรมุ่งขยำยอิทธิพลด้วยสงครำมอย่ำงเปิดเผยไปเป็นสงครำมภำยในประเทศและ
กำรบ่อนทำลำย ฉะนั้น ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1963 เป็นต้นมำ สหรัฐอเมริกำและโซเวียตต่ำง
ใช้วิธีกำรทุกอย่ำงทั้งด้ำนกำรทหำร กำรเมือง และเศรษฐกิจ ในกำรแข่งขันกัน
สร้ำงควำมนิยม ควำมสนับสนุนและอิทธิพลในภูมิภำคต่ำง ๆ ของโลก โดยหลีกเลี่ยง
กำรใช้อำวุธและกำรประจันหน้ำกันโดยตรง
Nikita Khrushchev
ควำมแตกแยกในค่ำยคอมมิวนิสต์ระหว่ำงโซเวียตกับสำธำรณรัฐ
ประชำชนจีน ซึ่งเริ่มปรำกฏตั้งแต่ปี ค.ศ. 1960 เป็นต้นมำ และเมื่อจีน
สำมำรถทดลองระเบิดปรมำณูสำเร็จและกลำยเป็นประเทศ
มหำอำนำจนิวเคลียร์ในปี ค.ศ. 1964 ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงประเทศ
ทั้งสองก็เสื่อมลง จนถึงขึ้นปะทะกันโดยตรงด้วยกำลังในปี
ค.ศ. 1969 จำกควำมขัดแย้งทำงด้ำนอุดมกำรณ์และกำรแข่งขันกัน
เป็นผู้นำในโลกคอมมิวนิสต์ ระหว่ำงจีนกับโซเวียต มีผลทำให้ควำม
เข้มแข็งของโลกคอมมิวนิสต์ลดน้อยลง และมีส่วนผลักดันให้จีน
เปลี่ยนแปลงนโยบำยต่ำงประเทศ ไปสู่กำรปรับควำมสัมพันธ์กับ
สหรัฐอเมริกำในที่สุด
Breakage between soviet and china
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1970 เป็นต้นมำ
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงประเทศ
มหำอำนำจเริ่มคืนสู่สภำวะปกติ โดยใช้
วิธีกำรหันมำเจรจำปรับควำมเข้ำใจกัน
ดำเนินนโยบำยเกี่ยวกับที่เอื้อต่อ
ผลประโยชน์ และควำมมั่นคงปลอดภัย
ของ ประเทศตน ระยะนี้จึงเรียกว่ำ
"ระยะแห่งกำรเจรจำ" (Era of
Negotiation) หรือระยะ "กำรผ่อน
คลำยควำมตึงเครียด"
(Detente) โดยเริ่มจำกสหรัฐอเมริกำ
ภำยใต้กำรนำของประธำนำธิบดีริ
ชำร์ด นิกสัน ซึ่งเป็นผู้ปรับนโยบำยจำก
กำรเผชิญหน้ำกับโซเวียต มำเป็นกำร
ลดควำมตึงเครียดในควำมสัมพันธ์ต่อ
กัน
นอกจำกนี้ยังได้เปิดกำรเจรจำ
โดยตรงกับสำธำรณรัฐประชำชนจีน
ด้วย ทั้งนี้เพรำะตระหนักว่ำจีนได้
กลำยเป็นมหำอำนำจนิวเคลียร์อีก
ชำติหนึ่ง และกำลังจะมีบทบำทมำกขึ้น
ในประเทศด้อยพัฒนำ และประเทศที่
เพิ่งเกิดใหม่ทั้งในทวีปเอเชีย แอฟริกำ
ลำตินอเมริกำ และยุโรป
ในเดือนกรกฎำคม ค.ศ. 1971 สหรัฐอเมริกำได้ส่งนำยเฮนรี่ คิสชินเจอร์ ที่
ปรึกษำด้ำนควำมมั่นคงแห่ชำติ เดินทำงไปปักกิ่งอย่ำงลับ ๆ เพื่อหำลู่ทำงในกำรเจรจำปรับ
ควำมสัมพันธ์กับจีน ซึ่งนำไปสู่กำรเยือนปักกิ่งของ ประธำนำธิบดีนิกสัน ในเดือนกุมภำพันธ์
ค.ศ. 1972 และได้ร่วมลงนำมใน "แถลงกำรณ์เซี่ยงไฮ้" (Shanghai Joint Communique) กับ
อดีตนำยกรัฐมนตรีโจว เอินไหล ซึ่งมีสำระที่สำคัญคือ สหรัฐอเมริกำยอมรับว่ำ รัฐบำล
สำธำรณรัฐประชำชนจีน เป็นรัฐบำลอันชอบธรรมเพียงรัฐบำลเดียวและไต้หวันเป็นส่วนหนึ่งของ
ประเทศจีน จำกนั้นมำทั้งสองประเทศได้สถำปนำควำมสัมพันธ์ทำงกำรทูตต่อกันในวันที่ 1
มกรำคม ค.ศ. 1979
นอกจำกนี้ สหรัฐอเมริกำและโซเวียต ได้พยำยำมที่จะปรับปรุงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกัน
ในลักษณะที่เป็นกำรผ่อนคลำยควำมตึงเครียดระหว่ำงประเทศทั้งสอง ซึ่งจะเห็นได้จำกกำรเปิด
กำร เจรจำจำกัดอำวุธยุทธศำสตร์ ครั้งแรกที่กรุงเฮลซิงกิ ที่เรียกว่ำ SALT-1 (Strategic
Arms Limitation Talks) ในปี ค.ศ. 1972 ซึ่งเป็นกำรเริ่มแนวทำงที่จะให้เกิดควำมร่วมมือและ
สันติภำพ ในปีเดียวกันนี้ประธำนำธิบดีนิกสันก็ได้ไปเยือนโซเวียต ส่วนเบรสเนฟเลขำธิกำรพรรค
คอมมิวนิสต์ของโซเวียต ก็ได้ไปเยือนสหรัฐอเมริกำในปี ค.ศ. 1973 ต่อมำประเทศทั้งสองได้เจรจำ
ร่วมลงนำมในสนธิสัญญำจำกัดอำวุธยุทธศำสตร์ ฉบับที่ 2 (SALT-2) ที่เวียนนำ ใน
วันที่ 18 มิถุนำยน ค.ศ. 1979 ซึ่งมีผลทำให้โซเวียตมีควำมเท่ำเทียมกับสหรัฐอเมริกำ ทั้งทำง
กำรเมืองและทำงแสนยำนุภำพ นอกจำกนั้นยังได้รับผลประโยชน์ทำงกำรค้ำกับฝ่ำยตะวันตกเพิ่ม
มำกขึ้น
In july 1971
อย่ำงไรก็ตำม แม้ว่ำโซเวียตจะยอมร่วมมือกับสหรัฐอเมริกำในบำงกรณีที่
เป็นผลประโยชน์แก่ตน แต่โซเวียตก็ยังคงดำเนินนโยบำยแผ่ขยำยอำนำจและ
อิทธิพลเข้ำไปในดินแดนต่ำง ๆ ทั้งในเอเชีย แอฟริกำ และลำตินอเมริกำ แต่โซ
เวียตก็พยำยำมระมัดระวังไม่ให้เกิดกำรกระทบกระทั่งที่จะนำไปสู่กำร
ทำลำยสภำพกำรผ่อนคลำยควำมตึงเครียด ซึ่งจะมีผลทำให้เกิดควำม
ขัดแย้งและอำจจะไปสู่สงครำมได้
เมื่อสงครำมโลกครั้งที่ 2 ยุติลงในปี ค.ศ. 1945
เยอรมนีแบ่งออกเป็น 4 ส่วน โดยสนธิสัญญำ
ปอทสดัม (Treaty of Potsdam) นั้น ได้ให้
ประเทศมหำอำนำจตะวันตก คือ สหรัฐอเมริกำ
อังกฤษ และฝรั่งเศส ครอบครอง 3 ส่วนร่วมกัน
เรียกว่ำเยอรมนีตะวันตก ขณะที่อีกส่วนหนึ่งให้
โซเวียตปกครองเรียกว่ำ เยอรมนีตะวันออก ทำให้
กรุงเบอร์ลินนครหลวงแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนที่
ถูกยึดครองโดยฝ่ำยพันธมิตรตะวันตกเรียกว่ำ
เบอร์ลินตะวันตก
ในเดือนกรกฎำคม ค.ศ. 1948 โซเวียตได้ปิดกั้น
เส้นทำงคมนำคมทำงบกที่ผ่ำนไปยังเบอร์ลิน
ตะวันตก ทำให้พันธมิตร 3 ชำติ ไม่สำมำรถส่ง
อำหำรและสินค้ำต่ำง ๆ ไปยังเบอร์ลินตะวันตกได้
เพื่อบังคับให้มหำอำนำจตะวันตกละทิ้งเบอร์ลิน
กำรปิดล้อมครั้งนี้ใช้เวลำเกือบ 1 ปี โดยพันธมิตร
3 ประเทศได้ช่วยกันใช้เครื่องบินลำเลียงสิ่งของ เช่น
อำหำร เสื้อผ้ำ และยำรักษำโรคให้แก่ชำวเบอร์ลิน
ตะวันตก เหตุกำรณ์ดังกล่ำวนำไปสู่กำรแบ่งแยก
เยอรมนีเป็น 2 ประเทศ และแบ่งเบอร์ลินเป็น 2
ส่วนอย่ำงถำวร เรียกว่ำวิกฤตกำรณ์เบอร์ลิน
โดยอังกฤษ สหรัฐอเมริกำ และฝรั่งเศสได้รวมเขต
กำรปกครองของตนเข้ำด้วยกันเป็นประเทศเอกรำช
เรียกว่ำ สหพันธ์สำธำรณรัฐเยอรมนี (เยอรมนี
ตะวันตก) ฝั่งโซเวียตก็สถำปนำเขตที่ตนเองปกครอง
เรียกว่ำ สำธำรณรัฐประชำธิปไตยเยอรมนี
(เยอรมนีตะวันออก) เมื่อแบ่งประเทศแล้ว ชำวเยอรม
ตะวันออกได้อพยพมำอยู่ในเขตตะวันตกมำกขึ้น
ตลอดเวลำ ทำให้โซเวียตต้องสร้ำงกำแพงยำวกว่ำ
27 ไมล์ กั้นระหว่ำงเบอร์ลินใน ค.ศ.1961 เรียกว่ำ
กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินถือเป็นสัญลักษณ์สำคัญ
หนึ่งของสงครำมเย็น และถูกทำลำยไปเมื่อ ค.ศ. 198
ขณะที่ มิฮำอิล กอร์บำชอฟ ประธำนำธิบดีของ
สหภำพโซเวียต ยินยอมให้เยอรมนีทั้งสองตัดสินใจ
อนำคตตนเอง โดยสหภำพโซเวียตจะไม่เข้ำแทรกแซง
ภำยหลังจึงมีกำรรวมเยอรมนีเป็นประเทศเดียวกัน
อย่ำงเป็นทำงกำร เรียกว่ำ สหพันธ์สำธำรณรัฐ
เยอรมนี
Proxy War
(สงครำมตัวแทน)
เป็นสงครำมที่เป็นผลมำจำก
สงครำมเย็นเนื่องจำก
มหำอำนำจไม่สำมำรถ
สงครำมกันเองได้เพรำะ
เกรงว่ำจะเกิดสงครำม
นิวเคลียร์จึงได้ให้กำรกำร
สนับสนุนประเทศพันธมิตรที่
ตนมีอิทธิอยู่ในกำรทำ
สงครำมโดยกำรสนับสนุน
ทำงดำ้นกำรเงิน
กำรทหำร และอำวุธ
สงครำมตัวแทน
ได้แก่ สงครำมเกำหลี และ
สงครำมเวียดนำม
บำดแผลของเวียดนำมที่ต้องเยียวยำจนถึงปัจจุบัน
สงครำมที่คนในชำติหันมำฆ่ำกันเองและเป็นที่กล่ำวขำนกันมำอย่ำงมำกอีกครั้ง
หนึ่งในหน้ำประวัติศำสตร์โลกนั้นก็คือ “สงครำมเวียดนำม”
แน่นอนว่ำสงครำมเวียดนำมแท้จริงก็คืออีกหนึ่งหนึ่งสงครำมตัวแทนในช่วงสำ
ครำมเย็นที่โลกต้องประสบระหว่ำงโลกฝ่ำยเสรีนิยมกับฝ่ำยคอมมิวนิสต์ เป็นสงครำมที่เกิดขึ้น
หลังจำกสงครำมเกำหลีเพิ่งจะจบไปไม่นำน ที่สำคัญบริบทและผลของมันก็นำมำสู้กำรแบ่งแยก
ประเทศแต่สุดท้ำยก็ไม่สำมำรถรวบรวมกลับมำได้อีกครั้งหนึ่ง
แต่กระนั้นก็กล่ำวกันในสงครำมครั้งนี้นอกจำกชำวต่ำงชำติที่เข้ำมำทิ้งชีวิตใน
แผ่นดินเวียดนำมแล้ว ก็ยังมีชำวเวียดนำมระหว่ำงเวียดนำมเหนือและใต้ต้องเสียชีวิตไปด้วยมือ
ของคนในชำติกันเองเป็นจำนวนมำก
สงครำมเวียดนำมเกิดขึ้นระหว่ำง ค.ศ. 1957 – 1975 เป็นสงครำมระหว่ำง
เวียดนำมเหนือ และเวียดนำมใต้ที่สนับสนุนโดยสหรัฐ ฯ เพื่อตัดสินว่ำควรรวมเวียดนำมเป็นหนึ่ง
เดียวตำมข้อตกลงเจนีวำ 1954 หรือไม่สงครำมจบลงด้วยชัยชนะของเวียดนำมเหนือและรวม
ประเทศเวียดนำมทั้งสองเข้ำด้วยกัน ซึ่งปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศ
เวียดนำม ในประเทศเวียดนำมเองเรียกสงครำมนี้ว่ำ สงครำมปกป้องชำติจำกอเมริกันหรือ
สงครำมอเมริกัน
ควำมเป็นมำ
ในปี 1885 เวียดนำมตกเป็นอำณำนิคมของ
ฝรั่งเศส เพื่อควำมง่ำยในกำรปกครองทำให้ฝรั่งเศสแบ่งกำรปกครอง
เวียดนำมเป็น 3 แคว้น คือ แค้วนตังเกี๋ย อยู่ทำงตอนเหนือ แคว้น
อันนัม อยู่ทำงตอนกลำง และแคว้นโคชินไซน่ำ อยู่ทำงตอนใต้ฝรั่งเศส
ได้เปลี่ยนแปลงระบบกำรศึกษำ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี
ของเวียดนำมเดิมให้เป็นแบบฝรั่งเศสเป็นส่วนใหญ่
ในปี 1941 ขณะเกิดสงครำมเวียดมินห์ ขึ้น เพื่อขับไล่
ฝรั่งเศส โดยมีผู้นำ คือ โฮจิมินห์
สงครำมเกำหลี (25 มิถุนำยน 1950 – 27 กรกฎำคม 1953) เป็นสงครำมระหว่ำง
สำธำรณรัฐเกำหลี (เกำหลีใต้) โดยได้รับกำรสนับสนุนจำกสหประชำชำติฝ่ำยหนึ่ง
กับสำธำรณรัฐประชำธิปไตยประชำชนเกำหลี (เกำหลีเหนือ) โดยได้รับกำรสนับสนุน
จำกสำธำรณรัฐประชำชนจีนเป็นหลัก อีกฝ่ำยหนึ่ง สงครำมเกำหลีเป็นผลจำกเขต
ทำงกำรเมืองของเกำหลีโดยควำมตกลงที่ฝ่ำยสัมพันธมิตรผู้ชนะกระทำเมื่อสงครำม
แปซิฟิกยุติ คำบสมุทรเกำหลีถูกจักรวรรดิญี่ปุ่นปกครองตั้งแต่ปี 1910 กระทั่ง
สงครำมโลกครั้งที่สองสิ้นสุด หลังกำรยอมจำนนของจักรวรรดิญี่ปุ่นในเดือน
กันยำยน 1945 นักปกครองชำวอเมริกันได้แบ่งคำบสมุทรตำมเส้นขนำนที่ 38 โดย
กองกำลังทหำรสหรัฐยึดครองส่วนใต้ และกองกำลังทหำรโซเวียตยึดครองส่วน
เหนือ
ควำมล้มเหลวในกำรจัดกำรเลือกตั้งเสรีทั่วคำบสมุทรเกำหลีในปี 1948 ยิ่งตอกลึกกำร
แบ่งแยกระหว่ำงสองฝ่ำย เกำหลีเหนือจึงสถำปนำรัฐบำลคอมมิวนิสต์ ขณะที่เกำหลีใต้
สถำปนำรัฐบำลประชำธิปไตยในนำม เส้นขนำนที่ 38 กลำยเป็นพรมแดนทำงกำรเมือง
เพิ่มขึ้นระหว่ำงสองรัฐเกำหลี แม้กำรเจรจำเพื่อรวมประเทศยังคงดำเนินต่อมำหลำยเดือน
ก่อนเกิดสงครำม แต่ควำมตึงเครียดยิ่งทวีขึ้น เกิดกำรรบปะทะและกำรตีโฉบฉวยข้ำม
พรมแดนเส้นขนำนที่ 38 อยู่เนือง ๆ สถำนกำรณ์บำนปลำยเป็นกำรสงครำมเปิดเผยเมื่อ
กองกำลังเกำหลีเหนือบุกครองเกำหลีใต้เมื่อวันที่ 25 มิถุนำยน 1950[24] ปีเดียวกัน
สหภำพโซเวียตคว่ำบำตรคณะมนตรีควำมมั่นคงแห่งสหประชำชำติ เพื่อเป็นกำรประท้วงที่
รัฐบำลก๊กมินตั๋ง/สำธำรณรัฐจีนเป็นผู้แทนของจีน ซึ่งลี้ภัยไปยังเกำะไต้หวันหลังปรำชัย
สงครำมกลำงเมืองจีน เมื่อขำดเสียงไม่เห็นพ้องจำกสหภำพโซเวียต ซึ่งมีอำนำจยับยั้งข้อมติ
คณะมนตรีควำมมั่นคงฯ สหรัฐอเมริกำและประเทศอื่นจึงผ่ำนข้อมติที่อนุญำตให้แทรกแซง
ทำงทหำรในเกำหลี
สหรัฐอเมริกำจัดหำทหำรคิดเป็น 88% ของทหำรนำนำชำติ 341,000 นำย ที่ถูกส่งไป
ช่วยเหลือกองกำลังเกำหลีใต้ขับกำรบุกครอง โดยมีรัฐสมำชิกสหประชำชำติอื่นอีก 20
ประเทศเสนอควำมช่วยเหลือ หลังประสบควำมสูญเสียอย่ำงหนักในช่วงสองเดือนแรก
ฝ่ำยตั้งรับถูกผลักดันกลับไปยังพื้นที่เล็ก ๆ ทำงใต้ของคำบสมุทรเกำหลี ซึ่งมีชื่อว่ำ
วงรอบปูซำน จำกนั้น กำรรุกโต้ตอบอย่ำงรวดเร็วของสหประชำชำติได้ขับทหำรเกำหลี
เหนือผ่ำนเส้นขนำนที่ 38 ขึ้นไปเกือบถึงแม่น้ำยำลู เมื่อสำธำรณรัฐประชำชนจีนเข้ำสู่
สงครำมโดยอยู่ฝ่ำยเดียวกับเกำหลีเหนือ กำรเข้ำแทรกแซงของจีนบีบให้กองกำลังเกำหลีใต้
และพันธมิตรถอยกลับไปใต้เส้นขนำนที่ 38 อีกครั้ง แม้สหภำพโซเวียตจะมิได้ส่งทหำรเข้ำ
ร่วมในควำมขัดแย้งโดยตรง แต่ก็ให้ควำมช่วยเหลือด้ำนยุทธปัจจัยแก่ทั้งกองทัพเกำหลี
เหนือและจีน กำรสู้รบยุติลงเมื่อวันที่ 27 กรกฎำคม 1953 เมื่อมีกำรลงนำมในควำมตก
ลงกำรสงบศึก ควำมตกลงดังกล่ำวฟื้นฟูพรมแดนระหว่ำงประเทศใกล้กับเส้นขนำนที่ 38
และสถำปนำเขตปลอดทหำรเกำหลี แนวกันชนที่มีกำรป้องกันกว้ำง 4.0 กิโลเมตร
ระหว่ำงสองชำติเกำหลี อุบัติกำรณ์ขนำดย่อมยังคงดำเนินต่อมำตรำบจนปัจจุบัน ปัจจัย
ที่ทำให้สงครำมเกำหลียุติเพรำะ สตำลินเสียชีวิต และรัฐบำลใหม่โซเวียต ให้บอกให้จีนและ
เกำหลีเหนือยุติสงครำมเกำหลี
The cold war : aftermath
(สถำนกำรณ์หลังสงครำมเย็น)
ในช่วงทศวรรษ 1980-1991 ถือเป็นช่วงที่เกิดเหตุกำรณ์เปลี่ยนแปลงอย่ำงใหญ่หลวงใน
สหภำพโซเวียต เมื่อในช่วงนั้นสำธำรณรัฐเล็ก ๆ ที่เป็นชนกลุ่มน้อยในสหภำพโซเวียตได้เริ่มปลุก
กระแสชำตินิยมเพื่อเรียกร้องอิสรภำพจำกโซเวียต และโดยเฉพำะในช่วงปี 1985-1991 ที่ มิ
ฮำอิล กอร์บำชอฟ ได้นำนโยบำยกำสนอสท์-เปเรสทรอยก้ำ มำใช้ปฏิรูปประเทศ ซึ่งกำร
ปฏิรูปดังกล่ำวได้ทำให้ประชำชนในสหภำพโซเวียตเริ่มตระหนักถึงเสรีภำพในกำรดำรงชีวิต และ
ในที่สุดก็นำไปสู่กำรล่มสลำยของสหภำพโซเวียตในปี 1991
ทั้งนี้ เมื่อลัทธิคอมมิวนิสต์ในโซเวียตล่มสลำยแล้วก็นับเป็นกำรสิ้นสุดของยุคสงครำม
เย็นและเข้ำสู่ศตวรรษที่ 21 หรือโลกในยุคโลกำภิวัตน์ ที่จัดเป็นโลกในสังคมแห่งยุคข่ำวสำร
จำกนั้นบทบำทของโซเวียตในเวทีโลกก็ลดน้อยลงไปอย่ำงเห็นได้ชัด เพรำะกำรแตกออกเป็น
สำธำรณรัฐต่ำง ๆ ทำให้สหภำพโซเวียตเดิมอ่อนแอลงมำก อีกทั้งกำรเกิดขึ้นของรัสเซียใหม่
(Neo-Russia) ภำยหลังกำรล่มสลำยของโซเวียต ก็ทำให้รัสเซียต้องหมกมุ่นอยู่กับปัญหำ
กำรเมืองภำยในของตัวเอง และปัญหำของกำรเป็นผู้นำกลุ่มประเทศในเครือจักรภพรัฐเอกรำช
ดังนั้นจึงทำให้สหรัฐอเมริกำก้ำวเข้ำมำมีบทบำทเต็มที่เพียงหนึ่งเดียวในโลกยุคโลกำภิวัตน์
นอกจำกนี้ เหตุกำรณ์ที่เป็นนับว่ำเป็นสัญลักษณ์ของกำรสิ้นสุดของสงครำมเย็น
ก็คือ กำรทำลำยกำแพงเบอร์ลิน ในวันที่ 9 พฤศจิกำยน ค.ศ. 1989 และกำรรวม
ประเทศเยอรมนีทั้งสองเข้ำเป็นประเทศเดียวกัน ในปี ค.ศ. 1990 พร้อมกับกำรสิ้น
อำนำจของรัฐบำลคอมมิวนิสต์ในหลำยประเทศของยุโรปตะวันออก และกำรล่ม
สลำยของกำแพงเบอร์ลิน ถือเป็นจุดเริ่มต้นของสันติภำพหลังยุคสงครำมเย็นอย่ำง
แท้จริง
The cold war
: important person
(บุคคลสำคัญ)
Harry s.
truman
ประธำนำธิบดีทรูแมนได้ตกลงเข้ำ
ช่วยเหลือและประกำศหลักกำรในกำร
ดำเนินนโยบำยต่ำงประเทศของ
สหรัฐอเมริกำให้โลกภำยนอกทรำบว่ำ
"……จำกนี้ไปสหรัฐอเมริกำจะเข้ำช่วยเหลือ
รัฐบำลของประเทศที่รักเสรีทั้งหลำยใน
โลกนี้ให้พ้นจำกกำรคุกคำมโดยชนกลุ่ม
น้อยในประเทศที่ได้รับกำรช่วยเหลือจำก
ต่ำงประเทศ…" หลักกำรนี้เรียกกันว่ำ
หลักกำรทรูแมน (Truman Doctrine)
เนื่องมำจำกปัญหำที่แสดงให้เห็นถึง
กำรแข่งขันในกำรเป็นผู้นำของโลกแทน
มหำอำนำจยุโรป
Sir. Winston
Churchill
อดีตนำยกรัฐมนตรีเชอร์ชิล (Sir.
Winston Churchill) ของอังกฤษ ได้
กล่ำวในรัฐมิสซูรี เมื่อเดือนมีนำคม
ค.ศ.1946 ว่ำ "ม่ำนเหล็กได้ปิดกั้นและแบ่ง
ทวีปยุโรปแล้ว ขอให้ประเทศพี่น้องที่พูด
ภำษำอังกฤษด้วยกัน ร่วมมือกันทำลำย
ม่ำนเหล็ก (Iron Curtain)" ซึ่ง
หมำยควำมว่ำ เชอร์ชิลล์เรียกร้องให้มี
กำรจับขั้วพันธมิตรระหว่ำง
สหรัฐอเมริกำกับอังกฤษเพื่อต่อต้ำน
สหภำพโซเวียต ซึ่งถูกมองว่ำเป็นผู้สร้ำง
ม่ำนเหล็กกั้นยุโรป และด้วยสุนทรพจน์นี้
เอง ทำให้ประเทศในโลกนี้แตกออกเป็น
สองฝ่ำยระหว่ำงประเทศประชำธิปไตย
และคอมมิวนิสต์อย่ำงชัดเจน
Nikita
Khrushchev
กำรดำเนินนโยบำย "กำรอยู่ร่วมกัน
อย่ำงสันติ" (Peaceful Co-
existence) ของประธำนำธิบดี นิกิตำ
ครุสชอฟ (Nikita Khrushchev) ของ
โซเวียต เนื่องจำกเกรงว่ำอำนำจ
นิวเคลียร์ที่โซเวียตและสหรัฐอเมริกำมีเท่ำ
เทียมกัน อำจถูกนำมำใช้ในกรณีที่ควำม
ตึงเครียดระหว่ำงสองฝ่ำยมีควำม
รุนแรงขึ้น นอกจำกนี้ยังเชื่อว่ำประเทศที่
มีลัทธิกำรเมืองและลัทธิเศรษฐกิจที่
แตกต่ำงกัน จะสำมำรถติตดต่อค้ำขำย
และมีควำมสัมพันธ์ต่อกันได้ โดยไม่ยุ่ง
เกี่ยวในกิจกำรภำยในซึ่งกันและกัน ดังนั้น
กำรต่อสู้ระหว่ำงค่ำยเสรีประชำธิปไตย
กับค่ำยคอมมิวนิสต์อำจจะเอำชนะกันได้
โดยไม่ต้องใช้กำลัง
T
h
a
n
k
y
o
u
บรรณำนุกรม
สัญชัย สุวังบุตร. ยุโรปในสงครำมเย็น ค.ศ. 1945-1991.
กรุงเทพมหำนคร : ภำควิชำประวัติศำสตร์ คณะอักษรศำสตร์ มหำวิทยำลัย
ศิลปำกร, 2558
ปิยนำถ บุนนำค. ประวัติศำสตร์ไทยสมัยใหม่ (ตั้งแต่กำรทำสนธิสัญ ญำ
บำวริง ถึง เหตุกำรณ์ 14 ตุลำคม พ.ศ.2516). กรุงเทพมหำนคร : chulabook,
2549
Beaueun Lee. (2557). สงครำมเย็น. [Online] :
http://hhistoryoftheworldd.blogspot.com/2014/09/blog-
post_22.html, เข้ำถึงเมื่อวันที่ 9 กันยำยำ พ.ศ.2560
สำรคดี ทีวี. (2554). [สำรคดี 17] สงครำมสหภำพโซเวียต(สงครำมเย็น).
[Online] : https://www.youtube.com/watch?v=DHGXip3h-Oc, เข้ำถึงเมื่อ
วันที่ 9 กันยำยำ พ.ศ.2560

More Related Content

Featured

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

The cold war

  • 1. (สงครามเย็น) จัดทำโดย นำย พีร์ อิสระธำนันท์ เลขที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5.13 โรงเรียนสำมัคคีวิทยำคม The cold war
  • 2. The Cold War สงครำมเย็น หนึ่งในสงครำมครั้งสำคัญที่ถูกบันทึกไว้ในหน้ำ ประวัติศำสตร์โลก แม้ว่ำ สงครำมเย็นจะเป็นสงครำมที่เกิดจำก ควำมขัดแย้งอุดมกำรณ์ทำงกำรเมือง แต่มันก็ได้ลุกลำมและแผ่ ขยำยจนสร้ำงควำมตึงเครียดไปทั่วโลก สงครำมเย็น เป็นกำร ต่อสู้กันระหว่ำงกลุ่มประเทศ 2 กลุ่ม ที่มีอุดมกำรณ์ทำง กำรเมืองและระบอบกำรเมืองต่ำงกันระหว่ำงกลุ่มประเทศโลกเสรี นำโดยสหรัฐอเมริกำ และกลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ นำโดยสหภำพ โซเวียต ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงหลังสงครำมโลกครั้งที่สอง ช่วงประมำณ ค.ศ.1947-1991 (พ.ศ. 2490-2534)
  • 3. โดยประเทศมหำอำนำจทั้ง 2 ฝ่ำยจะไม่ทำสงครำมกัน โดยตรง แต่จะพยำยำมสร้ำงแสนยำนุภำพทำงกำรทหำร ของตนไว้ข่มขู่ฝ่ำยตรงข้ำม และสนับสนุนให้ประเทศพันธมิตร ของตนเข้ำทำสงครำมแทน หรือที่เรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ สงครำมตัวแทน (Proxy War) เหตุที่เรียก สงครำมเย็น เนื่องจำกเป็นกำรต่อสู้กันระหว่ำงมหำอำนำจ โดยใช้ จิตวิทยำ ไม่ได้นำพำไปสู่กำรต่อสู้ด้วยกำลังทหำรโดยตรง แต่ใช้วิธีกำรโฆษณำชวนเชื่อกำรแทรกซึมบ่อนทำลำย กำร ประณำม กำรแข่งขันกันสร้ำงกำลังอำวุธ และแสวงหำ อิทธิพลในประเทศเล็ก
  • 5. The colD WAR : FACTORS (สำเหตุของสงครำมเย็น) สงครำมเย็นมีสำเหตุมำจำกควำมขัดแย้งทำงด้ำน อุดมกำรณ์ทำงกำรเมืองของประเทศมหำอำนำจทั้งสอง คือ สหรัฐอเมริกำ และสหภำพโซเวียต ที่ยึดถือเป็นแนวทำงในกำร ดำเนินนโยบำยต่ำงประเทศ และควำมขัดแย้งทำงด้ำน ผลประโยชน์และเขตอิทธิพล เพื่อครองควำมเป็นผู้นำของโลก โดยทั้งสองประเทศพยำยำมแสวงหำผลประโยชน์และเขต อิทธิพลในประเทศต่ำง ๆ ทั้งนี้เป็นผลมำจำกกำรที่ผู้ยิ่งใหญ่ หรือผู้นำทำงกำรเมืองของโลกในสมัยก่อน คือ อังกฤษ เยอรมนี ได้หมดอำนำจลงภำยหลังสงครำมโลกครั้งที่ 2
  • 6. The cold war : history (ควำมเป็นมำของสงครำมเย็น) เมื่อสงครำมโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง โดยเยอรมนีเป็นฝ่ำยพ่ำยแพ้ต่อฝ่ำยสหประชำชำติ ทำให้สหรัฐอเมริกำและโซเวียตขำดจุดมุ่งหมำยที่จะดำเนินกำรร่วมกันอีกต่อไป และ ควำมขัดแย้งก็เริ่มต้นขึ้นหลังจำกทั้งสองประเทศมีมุมมองต่ออนำคตของประเทศใน ยุโรปตะวันออกและประเทศเยอรมนีแตกต่ำงกัน และทำให้เกิดควำมขัดแย้งทำง อุดมกำรณ์อย่ำงชัดเจน กล่ำวคือ เกี่ยวกับประเทศยุโรปตะวันออกนั้น ประเทศทั้งสอง ได้เคยตกลงกันไว้ที่เมืองยัลต้ำ (Yalta)เมื่อเดือนกุมภำพันธ์ ค.ศ.1945 ว่ำ "เมื่อสิ้นสงครำมแล้ว จะมีกำรสถำปนำกำรปกครองระบบประชำธิปไตยใน ประเทศเหล่ำนั้น" แต่พอสิ้นสงครำม โซเวียตได้ใช้ควำมได้เปรียบของตนในฐำนะที่มีกำลัง กองทัพอยู่ในประเทศเหล่ำนั้น สถำปนำประชำธิปไตยตำมแบบของตนขึ้นที่เรียกว่ำ "ประชำธิปไตยของประชำชน" ฝ่ำยสหรัฐอเมริกำจึงทำกำรคัดค้ำน เพรำะประชำธิปไตย ตำมควำมหมำยของสหรัฐอเมริกำ หมำยถึง "เสรีประชำธิปไตยที่จะเปลี่ยนรัฐบำลได้ โดยวิธีกำรเลือกตั้งที่เสรี" ส่วนโซเวียตก็ยืนกรำนไม่ยอมให้มีกำรเปลี่ยนแปลงใดๆ ส่วน ในประเด็นที่เกี่ยวกับประเทศเยอรมนีก็เช่นกัน เพรำะโซเวียตไม่ยอมปฏิบัติกำรตำมกำร เรียกร้องของสหรัฐอเมริกำที่ให้มีกำรรวมเยอรมนี และสถำปนำระบอบเสรี ประชำธิปไตยในประเทศนี้ตำมที่ได้เคยตกลงกันไว้
  • 7. ควำมไม่พอใจระหว่ำงประเทศทั้ง สองเพิ่มมำกขึ้น เมื่อ ประธำนำธิบดีทรูแมน (Harry S. Truman) ของสหรัฐอเมริกำ ได้ สนับสนุนสุนทรพจน์ของอดีต นำยกรัฐมนตรีเชอร์ชิล (Sir. Winston Churchill) ของ อังกฤษ ซึ่งได้กล่ำวในรัฐมิสซูรี เมื่อเดือนมีนำคม ค.ศ.1946 ว่ำ "ม่ำนเหล็กได้ปิดกั้นและแบ่งทวีป ยุโรปแล้ว ขอให้ประเทศพี่น้องที่พูด ภำษำอังกฤษด้วยกัน ร่วมมือกัน ทำลำยม่ำนเหล็ก (Iron Curtain)" ซึ่งหมำยควำมว่ำ เชอร์ ชิลล์เรียกร้องให้มีกำรจับขั้ว พันธมิตรระหว่ำงสหรัฐอเมริกำ กับอังกฤษเพื่อต่อต้ำนสหภำพโซ เวียต ซึ่งถูกมองว่ำเป็นผู้สร้ำง ม่ำนเหล็กกั้นยุโรป และด้วยสุนทร พจน์นี้เอง ทำให้ ประเทศในโลกนี้แตก ออกเป็นสองฝ่ำยระหว่ำงประเทศ ประชำธิปไตยและคอมมิวนิสต์ อย่ำงชัดเจนส่วนปัญหำที่แสดงให้ เห็นถึงกำรแข่งขันในกำรเป็นผู้นำ ของโลกแทนมหำอำนำจยุโรปก็คือ กำรที่สหรัฐอเมริกำสำมำรถ บังคับให้โซเวียตถอนทหำรออก จำกอิหร่ำนได้สำเร็จในปี ค.ศ.1946 ต่อมำในเดือนมีนำคม ค.ศ.1947 อังกฤษได้ประกำศสละ ควำมรับผิดชอบในกำรช่วยเหลือ กรีซ และตุรกี ให้พ้นจำกกำร คุกคำมของคอมมิวนิสต์ เพรำะไม่ มีกำลังพอที่จะปฏิบัติกำรได้ และ ร้องขอให้สหรัฐอเมริกำเข้ำทำ หน้ำที่นี้แทน
  • 8. ประธำนำธิบดีทรูแมนจึงตกลงเข้ำช่วยเหลือและ ประกำศหลักกำรในกำรดำเนินนโยบำยต่ำงประเทศ ของสหรัฐอเมริกำให้โลกภำยนอกทรำบว่ำ "……จำก นี้ไปสหรัฐอเมริกำจะเข้ำช่วยเหลือรัฐบำลของประเทศ ที่รักเสรีทั้งหลำยในโลกนี้ให้พ้นจำกกำรคุกคำมโดย ชนกลุ่มน้อยในประเทศที่ได้รับกำรช่วยเหลือจำก ต่ำงประเทศ…" หลักกำรนี้เรียกกันว่ำ หลักกำรทรู แมน (Truman Doctrine) จำกนั้น สหรัฐอเมริกำก็แสดงให้ปรำกฏว่ำ ตนพร้อมที่จะใช้กำลังทหำรและเศรษฐกิจ สกัดกั้น กำรขยำยอิทธิพลของคอมมิวนิสต์ทุกแห่งในโลก ไม่ ว่ำจะเป็นทวีปยุโรป เอเชีย หรือแอฟริกำ ทำให้ในเดือนกันยำยน ค.ศ. 1947 ผู้แทน ของโซเวียตได้ประกำศต่อที่ประชุมพรรค คอมมิวนิสต์ทั่วโลกที่นครเบลเกรด ประเทศยูโกสลำเวีย ว่ำ "โลกได้แบ่ง ออกเป็นสองค่ำยแล้วคือ ค่ำยจักรวรรดิ นิยมอเมริกันผู้รุกรำน กับค่ำยโซเวียตผู้ รักสันติ…และเรียกร้องให้คอมมิวนิสต์ทั่ว โลก ช่วยสกัดกั้นและทำลำยสหรัฐอม ริกำ…." ฉะนั้น จึงกล่ำวได้ว่ำถ้อยแถลง ของผู้แทนโซเวียตนี้เป็นกำรประกำศ สงครำมกับสหรัฐอเมริกำอย่ำงเป็น ทำงกำร
  • 9. Peaceful Co. existence (กำรดำเนินนโยบำย "กำรอยู่ร่วมกันอย่ำงสันติ“) กำรดำเนินนโยบำย "กำรอยู่ร่วมกันอย่ำงสันติ" (Peaceful Co- existence) ของประธำนำธิบดี นิกิตำ ครุสชอฟ (Nikita Khrushchev) ของโซเวียต เนื่องจำกเกรงว่ำอำนำจนิวเคลียร์ที่โซเวียตและ สหรัฐอเมริกำมีเท่ำเทียมกัน อำจถูกนำมำใช้ในกรณีที่ควำมตึงเครียด ระหว่ำงสองฝ่ำยมีควำมรุนแรงขึ้น นอกจำกนี้ยังเชื่อว่ำประเทศที่มีลัทธิ กำรเมืองและลัทธิเศรษฐกิจที่แตกต่ำงกัน จะสำมำรถติตดต่อค้ำขำยและมี ควำมสัมพันธ์ต่อกันได้ โดยไม่ยุ่งเกี่ยวในกิจกำรภำยในซึ่งกันและกัน ดังนั้น กำรต่อสู้ระหว่ำงค่ำยเสรีประชำธิปไตยกับค่ำยคอมมิวนิสต์อำจจะเอำชนะ กันได้โดยไม่ต้องใช้กำลัง
  • 10. อย่ำงไรก็ตำม หลักกำรอยู่ร่วมกันโดยสันติของโซเวียต เป็นเพียงแต่กำรเปลี่ยนจำก กำรมุ่งขยำยอิทธิพลด้วยสงครำมอย่ำงเปิดเผยไปเป็นสงครำมภำยในประเทศและ กำรบ่อนทำลำย ฉะนั้น ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1963 เป็นต้นมำ สหรัฐอเมริกำและโซเวียตต่ำง ใช้วิธีกำรทุกอย่ำงทั้งด้ำนกำรทหำร กำรเมือง และเศรษฐกิจ ในกำรแข่งขันกัน สร้ำงควำมนิยม ควำมสนับสนุนและอิทธิพลในภูมิภำคต่ำง ๆ ของโลก โดยหลีกเลี่ยง กำรใช้อำวุธและกำรประจันหน้ำกันโดยตรง Nikita Khrushchev
  • 11. ควำมแตกแยกในค่ำยคอมมิวนิสต์ระหว่ำงโซเวียตกับสำธำรณรัฐ ประชำชนจีน ซึ่งเริ่มปรำกฏตั้งแต่ปี ค.ศ. 1960 เป็นต้นมำ และเมื่อจีน สำมำรถทดลองระเบิดปรมำณูสำเร็จและกลำยเป็นประเทศ มหำอำนำจนิวเคลียร์ในปี ค.ศ. 1964 ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงประเทศ ทั้งสองก็เสื่อมลง จนถึงขึ้นปะทะกันโดยตรงด้วยกำลังในปี ค.ศ. 1969 จำกควำมขัดแย้งทำงด้ำนอุดมกำรณ์และกำรแข่งขันกัน เป็นผู้นำในโลกคอมมิวนิสต์ ระหว่ำงจีนกับโซเวียต มีผลทำให้ควำม เข้มแข็งของโลกคอมมิวนิสต์ลดน้อยลง และมีส่วนผลักดันให้จีน เปลี่ยนแปลงนโยบำยต่ำงประเทศ ไปสู่กำรปรับควำมสัมพันธ์กับ สหรัฐอเมริกำในที่สุด Breakage between soviet and china
  • 12. ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1970 เป็นต้นมำ ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงประเทศ มหำอำนำจเริ่มคืนสู่สภำวะปกติ โดยใช้ วิธีกำรหันมำเจรจำปรับควำมเข้ำใจกัน ดำเนินนโยบำยเกี่ยวกับที่เอื้อต่อ ผลประโยชน์ และควำมมั่นคงปลอดภัย ของ ประเทศตน ระยะนี้จึงเรียกว่ำ "ระยะแห่งกำรเจรจำ" (Era of Negotiation) หรือระยะ "กำรผ่อน คลำยควำมตึงเครียด" (Detente) โดยเริ่มจำกสหรัฐอเมริกำ ภำยใต้กำรนำของประธำนำธิบดีริ ชำร์ด นิกสัน ซึ่งเป็นผู้ปรับนโยบำยจำก กำรเผชิญหน้ำกับโซเวียต มำเป็นกำร ลดควำมตึงเครียดในควำมสัมพันธ์ต่อ กัน นอกจำกนี้ยังได้เปิดกำรเจรจำ โดยตรงกับสำธำรณรัฐประชำชนจีน ด้วย ทั้งนี้เพรำะตระหนักว่ำจีนได้ กลำยเป็นมหำอำนำจนิวเคลียร์อีก ชำติหนึ่ง และกำลังจะมีบทบำทมำกขึ้น ในประเทศด้อยพัฒนำ และประเทศที่ เพิ่งเกิดใหม่ทั้งในทวีปเอเชีย แอฟริกำ ลำตินอเมริกำ และยุโรป
  • 13. ในเดือนกรกฎำคม ค.ศ. 1971 สหรัฐอเมริกำได้ส่งนำยเฮนรี่ คิสชินเจอร์ ที่ ปรึกษำด้ำนควำมมั่นคงแห่ชำติ เดินทำงไปปักกิ่งอย่ำงลับ ๆ เพื่อหำลู่ทำงในกำรเจรจำปรับ ควำมสัมพันธ์กับจีน ซึ่งนำไปสู่กำรเยือนปักกิ่งของ ประธำนำธิบดีนิกสัน ในเดือนกุมภำพันธ์ ค.ศ. 1972 และได้ร่วมลงนำมใน "แถลงกำรณ์เซี่ยงไฮ้" (Shanghai Joint Communique) กับ อดีตนำยกรัฐมนตรีโจว เอินไหล ซึ่งมีสำระที่สำคัญคือ สหรัฐอเมริกำยอมรับว่ำ รัฐบำล สำธำรณรัฐประชำชนจีน เป็นรัฐบำลอันชอบธรรมเพียงรัฐบำลเดียวและไต้หวันเป็นส่วนหนึ่งของ ประเทศจีน จำกนั้นมำทั้งสองประเทศได้สถำปนำควำมสัมพันธ์ทำงกำรทูตต่อกันในวันที่ 1 มกรำคม ค.ศ. 1979 นอกจำกนี้ สหรัฐอเมริกำและโซเวียต ได้พยำยำมที่จะปรับปรุงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกัน ในลักษณะที่เป็นกำรผ่อนคลำยควำมตึงเครียดระหว่ำงประเทศทั้งสอง ซึ่งจะเห็นได้จำกกำรเปิด กำร เจรจำจำกัดอำวุธยุทธศำสตร์ ครั้งแรกที่กรุงเฮลซิงกิ ที่เรียกว่ำ SALT-1 (Strategic Arms Limitation Talks) ในปี ค.ศ. 1972 ซึ่งเป็นกำรเริ่มแนวทำงที่จะให้เกิดควำมร่วมมือและ สันติภำพ ในปีเดียวกันนี้ประธำนำธิบดีนิกสันก็ได้ไปเยือนโซเวียต ส่วนเบรสเนฟเลขำธิกำรพรรค คอมมิวนิสต์ของโซเวียต ก็ได้ไปเยือนสหรัฐอเมริกำในปี ค.ศ. 1973 ต่อมำประเทศทั้งสองได้เจรจำ ร่วมลงนำมในสนธิสัญญำจำกัดอำวุธยุทธศำสตร์ ฉบับที่ 2 (SALT-2) ที่เวียนนำ ใน วันที่ 18 มิถุนำยน ค.ศ. 1979 ซึ่งมีผลทำให้โซเวียตมีควำมเท่ำเทียมกับสหรัฐอเมริกำ ทั้งทำง กำรเมืองและทำงแสนยำนุภำพ นอกจำกนั้นยังได้รับผลประโยชน์ทำงกำรค้ำกับฝ่ำยตะวันตกเพิ่ม มำกขึ้น In july 1971
  • 14. อย่ำงไรก็ตำม แม้ว่ำโซเวียตจะยอมร่วมมือกับสหรัฐอเมริกำในบำงกรณีที่ เป็นผลประโยชน์แก่ตน แต่โซเวียตก็ยังคงดำเนินนโยบำยแผ่ขยำยอำนำจและ อิทธิพลเข้ำไปในดินแดนต่ำง ๆ ทั้งในเอเชีย แอฟริกำ และลำตินอเมริกำ แต่โซ เวียตก็พยำยำมระมัดระวังไม่ให้เกิดกำรกระทบกระทั่งที่จะนำไปสู่กำร ทำลำยสภำพกำรผ่อนคลำยควำมตึงเครียด ซึ่งจะมีผลทำให้เกิดควำม ขัดแย้งและอำจจะไปสู่สงครำมได้
  • 15. เมื่อสงครำมโลกครั้งที่ 2 ยุติลงในปี ค.ศ. 1945 เยอรมนีแบ่งออกเป็น 4 ส่วน โดยสนธิสัญญำ ปอทสดัม (Treaty of Potsdam) นั้น ได้ให้ ประเทศมหำอำนำจตะวันตก คือ สหรัฐอเมริกำ อังกฤษ และฝรั่งเศส ครอบครอง 3 ส่วนร่วมกัน เรียกว่ำเยอรมนีตะวันตก ขณะที่อีกส่วนหนึ่งให้ โซเวียตปกครองเรียกว่ำ เยอรมนีตะวันออก ทำให้ กรุงเบอร์ลินนครหลวงแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ ถูกยึดครองโดยฝ่ำยพันธมิตรตะวันตกเรียกว่ำ เบอร์ลินตะวันตก ในเดือนกรกฎำคม ค.ศ. 1948 โซเวียตได้ปิดกั้น เส้นทำงคมนำคมทำงบกที่ผ่ำนไปยังเบอร์ลิน ตะวันตก ทำให้พันธมิตร 3 ชำติ ไม่สำมำรถส่ง อำหำรและสินค้ำต่ำง ๆ ไปยังเบอร์ลินตะวันตกได้ เพื่อบังคับให้มหำอำนำจตะวันตกละทิ้งเบอร์ลิน กำรปิดล้อมครั้งนี้ใช้เวลำเกือบ 1 ปี โดยพันธมิตร 3 ประเทศได้ช่วยกันใช้เครื่องบินลำเลียงสิ่งของ เช่น อำหำร เสื้อผ้ำ และยำรักษำโรคให้แก่ชำวเบอร์ลิน ตะวันตก เหตุกำรณ์ดังกล่ำวนำไปสู่กำรแบ่งแยก เยอรมนีเป็น 2 ประเทศ และแบ่งเบอร์ลินเป็น 2 ส่วนอย่ำงถำวร เรียกว่ำวิกฤตกำรณ์เบอร์ลิน
  • 16. โดยอังกฤษ สหรัฐอเมริกำ และฝรั่งเศสได้รวมเขต กำรปกครองของตนเข้ำด้วยกันเป็นประเทศเอกรำช เรียกว่ำ สหพันธ์สำธำรณรัฐเยอรมนี (เยอรมนี ตะวันตก) ฝั่งโซเวียตก็สถำปนำเขตที่ตนเองปกครอง เรียกว่ำ สำธำรณรัฐประชำธิปไตยเยอรมนี (เยอรมนีตะวันออก) เมื่อแบ่งประเทศแล้ว ชำวเยอรม ตะวันออกได้อพยพมำอยู่ในเขตตะวันตกมำกขึ้น ตลอดเวลำ ทำให้โซเวียตต้องสร้ำงกำแพงยำวกว่ำ 27 ไมล์ กั้นระหว่ำงเบอร์ลินใน ค.ศ.1961 เรียกว่ำ กำแพงเบอร์ลิน กำแพงเบอร์ลินถือเป็นสัญลักษณ์สำคัญ หนึ่งของสงครำมเย็น และถูกทำลำยไปเมื่อ ค.ศ. 198 ขณะที่ มิฮำอิล กอร์บำชอฟ ประธำนำธิบดีของ สหภำพโซเวียต ยินยอมให้เยอรมนีทั้งสองตัดสินใจ อนำคตตนเอง โดยสหภำพโซเวียตจะไม่เข้ำแทรกแซง ภำยหลังจึงมีกำรรวมเยอรมนีเป็นประเทศเดียวกัน อย่ำงเป็นทำงกำร เรียกว่ำ สหพันธ์สำธำรณรัฐ เยอรมนี
  • 17. Proxy War (สงครำมตัวแทน) เป็นสงครำมที่เป็นผลมำจำก สงครำมเย็นเนื่องจำก มหำอำนำจไม่สำมำรถ สงครำมกันเองได้เพรำะ เกรงว่ำจะเกิดสงครำม นิวเคลียร์จึงได้ให้กำรกำร สนับสนุนประเทศพันธมิตรที่ ตนมีอิทธิอยู่ในกำรทำ สงครำมโดยกำรสนับสนุน ทำงดำ้นกำรเงิน กำรทหำร และอำวุธ สงครำมตัวแทน ได้แก่ สงครำมเกำหลี และ สงครำมเวียดนำม
  • 18. บำดแผลของเวียดนำมที่ต้องเยียวยำจนถึงปัจจุบัน สงครำมที่คนในชำติหันมำฆ่ำกันเองและเป็นที่กล่ำวขำนกันมำอย่ำงมำกอีกครั้ง หนึ่งในหน้ำประวัติศำสตร์โลกนั้นก็คือ “สงครำมเวียดนำม” แน่นอนว่ำสงครำมเวียดนำมแท้จริงก็คืออีกหนึ่งหนึ่งสงครำมตัวแทนในช่วงสำ ครำมเย็นที่โลกต้องประสบระหว่ำงโลกฝ่ำยเสรีนิยมกับฝ่ำยคอมมิวนิสต์ เป็นสงครำมที่เกิดขึ้น หลังจำกสงครำมเกำหลีเพิ่งจะจบไปไม่นำน ที่สำคัญบริบทและผลของมันก็นำมำสู้กำรแบ่งแยก ประเทศแต่สุดท้ำยก็ไม่สำมำรถรวบรวมกลับมำได้อีกครั้งหนึ่ง แต่กระนั้นก็กล่ำวกันในสงครำมครั้งนี้นอกจำกชำวต่ำงชำติที่เข้ำมำทิ้งชีวิตใน แผ่นดินเวียดนำมแล้ว ก็ยังมีชำวเวียดนำมระหว่ำงเวียดนำมเหนือและใต้ต้องเสียชีวิตไปด้วยมือ ของคนในชำติกันเองเป็นจำนวนมำก สงครำมเวียดนำมเกิดขึ้นระหว่ำง ค.ศ. 1957 – 1975 เป็นสงครำมระหว่ำง เวียดนำมเหนือ และเวียดนำมใต้ที่สนับสนุนโดยสหรัฐ ฯ เพื่อตัดสินว่ำควรรวมเวียดนำมเป็นหนึ่ง เดียวตำมข้อตกลงเจนีวำ 1954 หรือไม่สงครำมจบลงด้วยชัยชนะของเวียดนำมเหนือและรวม ประเทศเวียดนำมทั้งสองเข้ำด้วยกัน ซึ่งปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศ เวียดนำม ในประเทศเวียดนำมเองเรียกสงครำมนี้ว่ำ สงครำมปกป้องชำติจำกอเมริกันหรือ สงครำมอเมริกัน
  • 19. ควำมเป็นมำ ในปี 1885 เวียดนำมตกเป็นอำณำนิคมของ ฝรั่งเศส เพื่อควำมง่ำยในกำรปกครองทำให้ฝรั่งเศสแบ่งกำรปกครอง เวียดนำมเป็น 3 แคว้น คือ แค้วนตังเกี๋ย อยู่ทำงตอนเหนือ แคว้น อันนัม อยู่ทำงตอนกลำง และแคว้นโคชินไซน่ำ อยู่ทำงตอนใต้ฝรั่งเศส ได้เปลี่ยนแปลงระบบกำรศึกษำ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ของเวียดนำมเดิมให้เป็นแบบฝรั่งเศสเป็นส่วนใหญ่ ในปี 1941 ขณะเกิดสงครำมเวียดมินห์ ขึ้น เพื่อขับไล่ ฝรั่งเศส โดยมีผู้นำ คือ โฮจิมินห์
  • 20. สงครำมเกำหลี (25 มิถุนำยน 1950 – 27 กรกฎำคม 1953) เป็นสงครำมระหว่ำง สำธำรณรัฐเกำหลี (เกำหลีใต้) โดยได้รับกำรสนับสนุนจำกสหประชำชำติฝ่ำยหนึ่ง กับสำธำรณรัฐประชำธิปไตยประชำชนเกำหลี (เกำหลีเหนือ) โดยได้รับกำรสนับสนุน จำกสำธำรณรัฐประชำชนจีนเป็นหลัก อีกฝ่ำยหนึ่ง สงครำมเกำหลีเป็นผลจำกเขต ทำงกำรเมืองของเกำหลีโดยควำมตกลงที่ฝ่ำยสัมพันธมิตรผู้ชนะกระทำเมื่อสงครำม แปซิฟิกยุติ คำบสมุทรเกำหลีถูกจักรวรรดิญี่ปุ่นปกครองตั้งแต่ปี 1910 กระทั่ง สงครำมโลกครั้งที่สองสิ้นสุด หลังกำรยอมจำนนของจักรวรรดิญี่ปุ่นในเดือน กันยำยน 1945 นักปกครองชำวอเมริกันได้แบ่งคำบสมุทรตำมเส้นขนำนที่ 38 โดย กองกำลังทหำรสหรัฐยึดครองส่วนใต้ และกองกำลังทหำรโซเวียตยึดครองส่วน เหนือ
  • 21. ควำมล้มเหลวในกำรจัดกำรเลือกตั้งเสรีทั่วคำบสมุทรเกำหลีในปี 1948 ยิ่งตอกลึกกำร แบ่งแยกระหว่ำงสองฝ่ำย เกำหลีเหนือจึงสถำปนำรัฐบำลคอมมิวนิสต์ ขณะที่เกำหลีใต้ สถำปนำรัฐบำลประชำธิปไตยในนำม เส้นขนำนที่ 38 กลำยเป็นพรมแดนทำงกำรเมือง เพิ่มขึ้นระหว่ำงสองรัฐเกำหลี แม้กำรเจรจำเพื่อรวมประเทศยังคงดำเนินต่อมำหลำยเดือน ก่อนเกิดสงครำม แต่ควำมตึงเครียดยิ่งทวีขึ้น เกิดกำรรบปะทะและกำรตีโฉบฉวยข้ำม พรมแดนเส้นขนำนที่ 38 อยู่เนือง ๆ สถำนกำรณ์บำนปลำยเป็นกำรสงครำมเปิดเผยเมื่อ กองกำลังเกำหลีเหนือบุกครองเกำหลีใต้เมื่อวันที่ 25 มิถุนำยน 1950[24] ปีเดียวกัน สหภำพโซเวียตคว่ำบำตรคณะมนตรีควำมมั่นคงแห่งสหประชำชำติ เพื่อเป็นกำรประท้วงที่ รัฐบำลก๊กมินตั๋ง/สำธำรณรัฐจีนเป็นผู้แทนของจีน ซึ่งลี้ภัยไปยังเกำะไต้หวันหลังปรำชัย สงครำมกลำงเมืองจีน เมื่อขำดเสียงไม่เห็นพ้องจำกสหภำพโซเวียต ซึ่งมีอำนำจยับยั้งข้อมติ คณะมนตรีควำมมั่นคงฯ สหรัฐอเมริกำและประเทศอื่นจึงผ่ำนข้อมติที่อนุญำตให้แทรกแซง ทำงทหำรในเกำหลี
  • 22. สหรัฐอเมริกำจัดหำทหำรคิดเป็น 88% ของทหำรนำนำชำติ 341,000 นำย ที่ถูกส่งไป ช่วยเหลือกองกำลังเกำหลีใต้ขับกำรบุกครอง โดยมีรัฐสมำชิกสหประชำชำติอื่นอีก 20 ประเทศเสนอควำมช่วยเหลือ หลังประสบควำมสูญเสียอย่ำงหนักในช่วงสองเดือนแรก ฝ่ำยตั้งรับถูกผลักดันกลับไปยังพื้นที่เล็ก ๆ ทำงใต้ของคำบสมุทรเกำหลี ซึ่งมีชื่อว่ำ วงรอบปูซำน จำกนั้น กำรรุกโต้ตอบอย่ำงรวดเร็วของสหประชำชำติได้ขับทหำรเกำหลี เหนือผ่ำนเส้นขนำนที่ 38 ขึ้นไปเกือบถึงแม่น้ำยำลู เมื่อสำธำรณรัฐประชำชนจีนเข้ำสู่ สงครำมโดยอยู่ฝ่ำยเดียวกับเกำหลีเหนือ กำรเข้ำแทรกแซงของจีนบีบให้กองกำลังเกำหลีใต้ และพันธมิตรถอยกลับไปใต้เส้นขนำนที่ 38 อีกครั้ง แม้สหภำพโซเวียตจะมิได้ส่งทหำรเข้ำ ร่วมในควำมขัดแย้งโดยตรง แต่ก็ให้ควำมช่วยเหลือด้ำนยุทธปัจจัยแก่ทั้งกองทัพเกำหลี เหนือและจีน กำรสู้รบยุติลงเมื่อวันที่ 27 กรกฎำคม 1953 เมื่อมีกำรลงนำมในควำมตก ลงกำรสงบศึก ควำมตกลงดังกล่ำวฟื้นฟูพรมแดนระหว่ำงประเทศใกล้กับเส้นขนำนที่ 38 และสถำปนำเขตปลอดทหำรเกำหลี แนวกันชนที่มีกำรป้องกันกว้ำง 4.0 กิโลเมตร ระหว่ำงสองชำติเกำหลี อุบัติกำรณ์ขนำดย่อมยังคงดำเนินต่อมำตรำบจนปัจจุบัน ปัจจัย ที่ทำให้สงครำมเกำหลียุติเพรำะ สตำลินเสียชีวิต และรัฐบำลใหม่โซเวียต ให้บอกให้จีนและ เกำหลีเหนือยุติสงครำมเกำหลี
  • 23. The cold war : aftermath (สถำนกำรณ์หลังสงครำมเย็น) ในช่วงทศวรรษ 1980-1991 ถือเป็นช่วงที่เกิดเหตุกำรณ์เปลี่ยนแปลงอย่ำงใหญ่หลวงใน สหภำพโซเวียต เมื่อในช่วงนั้นสำธำรณรัฐเล็ก ๆ ที่เป็นชนกลุ่มน้อยในสหภำพโซเวียตได้เริ่มปลุก กระแสชำตินิยมเพื่อเรียกร้องอิสรภำพจำกโซเวียต และโดยเฉพำะในช่วงปี 1985-1991 ที่ มิ ฮำอิล กอร์บำชอฟ ได้นำนโยบำยกำสนอสท์-เปเรสทรอยก้ำ มำใช้ปฏิรูปประเทศ ซึ่งกำร ปฏิรูปดังกล่ำวได้ทำให้ประชำชนในสหภำพโซเวียตเริ่มตระหนักถึงเสรีภำพในกำรดำรงชีวิต และ ในที่สุดก็นำไปสู่กำรล่มสลำยของสหภำพโซเวียตในปี 1991 ทั้งนี้ เมื่อลัทธิคอมมิวนิสต์ในโซเวียตล่มสลำยแล้วก็นับเป็นกำรสิ้นสุดของยุคสงครำม เย็นและเข้ำสู่ศตวรรษที่ 21 หรือโลกในยุคโลกำภิวัตน์ ที่จัดเป็นโลกในสังคมแห่งยุคข่ำวสำร จำกนั้นบทบำทของโซเวียตในเวทีโลกก็ลดน้อยลงไปอย่ำงเห็นได้ชัด เพรำะกำรแตกออกเป็น สำธำรณรัฐต่ำง ๆ ทำให้สหภำพโซเวียตเดิมอ่อนแอลงมำก อีกทั้งกำรเกิดขึ้นของรัสเซียใหม่ (Neo-Russia) ภำยหลังกำรล่มสลำยของโซเวียต ก็ทำให้รัสเซียต้องหมกมุ่นอยู่กับปัญหำ กำรเมืองภำยในของตัวเอง และปัญหำของกำรเป็นผู้นำกลุ่มประเทศในเครือจักรภพรัฐเอกรำช ดังนั้นจึงทำให้สหรัฐอเมริกำก้ำวเข้ำมำมีบทบำทเต็มที่เพียงหนึ่งเดียวในโลกยุคโลกำภิวัตน์
  • 24. นอกจำกนี้ เหตุกำรณ์ที่เป็นนับว่ำเป็นสัญลักษณ์ของกำรสิ้นสุดของสงครำมเย็น ก็คือ กำรทำลำยกำแพงเบอร์ลิน ในวันที่ 9 พฤศจิกำยน ค.ศ. 1989 และกำรรวม ประเทศเยอรมนีทั้งสองเข้ำเป็นประเทศเดียวกัน ในปี ค.ศ. 1990 พร้อมกับกำรสิ้น อำนำจของรัฐบำลคอมมิวนิสต์ในหลำยประเทศของยุโรปตะวันออก และกำรล่ม สลำยของกำแพงเบอร์ลิน ถือเป็นจุดเริ่มต้นของสันติภำพหลังยุคสงครำมเย็นอย่ำง แท้จริง
  • 25. The cold war : important person (บุคคลสำคัญ)
  • 26. Harry s. truman ประธำนำธิบดีทรูแมนได้ตกลงเข้ำ ช่วยเหลือและประกำศหลักกำรในกำร ดำเนินนโยบำยต่ำงประเทศของ สหรัฐอเมริกำให้โลกภำยนอกทรำบว่ำ "……จำกนี้ไปสหรัฐอเมริกำจะเข้ำช่วยเหลือ รัฐบำลของประเทศที่รักเสรีทั้งหลำยใน โลกนี้ให้พ้นจำกกำรคุกคำมโดยชนกลุ่ม น้อยในประเทศที่ได้รับกำรช่วยเหลือจำก ต่ำงประเทศ…" หลักกำรนี้เรียกกันว่ำ หลักกำรทรูแมน (Truman Doctrine) เนื่องมำจำกปัญหำที่แสดงให้เห็นถึง กำรแข่งขันในกำรเป็นผู้นำของโลกแทน มหำอำนำจยุโรป
  • 27. Sir. Winston Churchill อดีตนำยกรัฐมนตรีเชอร์ชิล (Sir. Winston Churchill) ของอังกฤษ ได้ กล่ำวในรัฐมิสซูรี เมื่อเดือนมีนำคม ค.ศ.1946 ว่ำ "ม่ำนเหล็กได้ปิดกั้นและแบ่ง ทวีปยุโรปแล้ว ขอให้ประเทศพี่น้องที่พูด ภำษำอังกฤษด้วยกัน ร่วมมือกันทำลำย ม่ำนเหล็ก (Iron Curtain)" ซึ่ง หมำยควำมว่ำ เชอร์ชิลล์เรียกร้องให้มี กำรจับขั้วพันธมิตรระหว่ำง สหรัฐอเมริกำกับอังกฤษเพื่อต่อต้ำน สหภำพโซเวียต ซึ่งถูกมองว่ำเป็นผู้สร้ำง ม่ำนเหล็กกั้นยุโรป และด้วยสุนทรพจน์นี้ เอง ทำให้ประเทศในโลกนี้แตกออกเป็น สองฝ่ำยระหว่ำงประเทศประชำธิปไตย และคอมมิวนิสต์อย่ำงชัดเจน
  • 28. Nikita Khrushchev กำรดำเนินนโยบำย "กำรอยู่ร่วมกัน อย่ำงสันติ" (Peaceful Co- existence) ของประธำนำธิบดี นิกิตำ ครุสชอฟ (Nikita Khrushchev) ของ โซเวียต เนื่องจำกเกรงว่ำอำนำจ นิวเคลียร์ที่โซเวียตและสหรัฐอเมริกำมีเท่ำ เทียมกัน อำจถูกนำมำใช้ในกรณีที่ควำม ตึงเครียดระหว่ำงสองฝ่ำยมีควำม รุนแรงขึ้น นอกจำกนี้ยังเชื่อว่ำประเทศที่ มีลัทธิกำรเมืองและลัทธิเศรษฐกิจที่ แตกต่ำงกัน จะสำมำรถติตดต่อค้ำขำย และมีควำมสัมพันธ์ต่อกันได้ โดยไม่ยุ่ง เกี่ยวในกิจกำรภำยในซึ่งกันและกัน ดังนั้น กำรต่อสู้ระหว่ำงค่ำยเสรีประชำธิปไตย กับค่ำยคอมมิวนิสต์อำจจะเอำชนะกันได้ โดยไม่ต้องใช้กำลัง
  • 30. บรรณำนุกรม สัญชัย สุวังบุตร. ยุโรปในสงครำมเย็น ค.ศ. 1945-1991. กรุงเทพมหำนคร : ภำควิชำประวัติศำสตร์ คณะอักษรศำสตร์ มหำวิทยำลัย ศิลปำกร, 2558 ปิยนำถ บุนนำค. ประวัติศำสตร์ไทยสมัยใหม่ (ตั้งแต่กำรทำสนธิสัญ ญำ บำวริง ถึง เหตุกำรณ์ 14 ตุลำคม พ.ศ.2516). กรุงเทพมหำนคร : chulabook, 2549 Beaueun Lee. (2557). สงครำมเย็น. [Online] : http://hhistoryoftheworldd.blogspot.com/2014/09/blog- post_22.html, เข้ำถึงเมื่อวันที่ 9 กันยำยำ พ.ศ.2560 สำรคดี ทีวี. (2554). [สำรคดี 17] สงครำมสหภำพโซเวียต(สงครำมเย็น). [Online] : https://www.youtube.com/watch?v=DHGXip3h-Oc, เข้ำถึงเมื่อ วันที่ 9 กันยำยำ พ.ศ.2560