SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
Download to read offline
ผลการปฏิบัติราชการ
ประจ�ำปี 2557
ตามแผนยุทธศาสตร์
ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
02
รายงานประจ�าปี 2557
ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ
28
ผลการปฏิบัติราชการประจ�าปีงบประมาณ 2557
ตามแผนยุทธศาสตร์ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ
สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) มีหนาที่หลัก
ในการบริหารจัดการหนี้สาธารณะของประเทศ โดยการ
วางแผน กํากับ และดําเนินการกอหนี้ใหม การบริหารหนี้เดิม
และการชําระหนี้ เพื่อใหสอดคลองกับสถานะการเงิน
การคลังของประเทศ และอยูภายใตกรอบความเสี่ยงที่เหมาะสม
รวมทั้งอยูภายใตกรอบความยั่งยืนทางการคลัง ที่กําหนดให
สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ไมเกินรอยละ 60 และ
ภาระหนี้ตองบประมาณ ไมเกินรอยละ 15
1. การดําเนินงานตามแผนการบริหารหนี้สาธารณะ
ประจําปงบประมาณ 2557
ในปงบประมาณ 2557 คณะรัฐมนตรีไดมีมติอนุมัติ
ตารางที่ 1 : ผลการดําเนินงานตามแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําปงบประมาณ 2557
รายการ แผน ผลการดําเนินงาน
รอยละ
ของแผน
1. แผนการกอหนี้ใหม 463,941.99 404,149.29 87.11
1.1 รัฐบาล 280,701.00 273,484.00 97.43
1.2 รัฐวิสาหกิจ 183,240.99 130,665.29 71.31
2. แผนการปรับโครงสรางหนี้ 643,246.15 640,184.98 99.52
2.1 รัฐบาล 462,258.74 460,035.74 99.52
2.2 รัฐวิสาหกิจ 180,987.41 180,149.24 99.54
3. แผนการบริหารความเสี่ยง 128,805.88 31,335.80 24.33
3.1 รัฐบาล 53,360.49 - -
3.2 รัฐวิสาหกิจ 75,445.39 31,335.80 41.53
4. แผนการบริหารหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไมตองขอ
อนุมัติภายใตกรอบแผนฯ
74,022.07 61,602.57 83.22
4.1 การกอหนี้ใหม 50,941.74 58,325.78 114.50
4.2 การบริหารหนี้ 23,080.33 3,276.79 14.20
รวม (1-4) 1,310,016.10 1,137,272.64 86.81
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการหนี้สาธารณะในเชิงรุก (Pro-active Debt Management)
และรับทราบแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําป
งบประมาณ 2557 รวมทั้งการปรับปรุงแผนระหวางปรวม
2 ครั้ง มีวงเงินดําเนินการ 1,310,016.10 ลานบาท
ซึ่งประกอบดวย 4 แผนงานยอย ไดแก
(1) แผนการกอหนี้ใหม
(2) แผนการปรับโครงสรางหนี้
(3) แผนการบริหารความเสี่ยง
(4) แผนการบริหารหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไมตอง
ขออนุมัติภายใตกรอบแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําป
งบประมาณ โดย ณ สิ้นปงบประมาณ 2557 สามารถ
ดําเนินการตามแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําป
งบประมาณ 2557 ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
Annual Report 2014
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
29
2. การบริหารความเสี่ยงของหนี้สาธารณะ
เนื่องจากในปจจุบันการดําเนินนโยบายของรัฐบาล
ที่ใหความสําคัญตอนโยบายในการพัฒนาประเทศโดย
การลงทุนจากภาครัฐ แตดวยขอจํากัดของรายไดที่ไมเพียงพอ
ตอรายจายภาครัฐ จึงจําเปนตองกอหนี้สาธารณะ สงผลให
หนี้สาธารณะมีแนวโนมที่จะเพิ่มสูงขึ้น ซึ่ง สบน. จําเปนตอง
มีการบริหารหนี้และบริหารความเสี่ยง โดยมีเปาหมายเพื่อลด
ตนทุนและความเสี่ยงของหนี้ในประเทศและหนี้ตางประเทศ
ใหอยูภายใตกรอบความเสี่ยงที่เหมาะสม และยอมรับได
รวมทั้งอยูภายใตกรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยในป
งบประมาณ 2557 สามารถบริหารความเสี่ยงไดวงเงินทั้งสิ้น
60,381.40 ลานบาท และทําใหสามารถลดภาระดอกเบี้ย
ไดประมาณ 6,021.30 ลานบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
(1) การบริหารความเสี่ยงหนี้ของรัฐบาล
หนี้ในประเทศ วงเงินรวม 3,619.00 ลานบาท
โดยเปนการชําระหนี้คืนกอนครบกําหนดของตั๋วสัญญา
ใชเงินเพื่อปรับโครงสรางหนี้ของรัฐบาล ซึ่งทําใหสามารถ
ประหยัดดอกเบี้ยไดรวม 403.89 ลานบาท
(2) การบริหารความเสี่ยงหนี้ของรัฐวิสาหกิจ
หนี้ในประเทศ รัฐวิสาหกิจ 3 แหง (ธนาคาร
เพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร การเคหะแหงชาติ และ
ธนารักษพัฒนาสินทรัพย) ชําระหนี้กอนครบกําหนด จํานวน
29,083.40 ลานบาท ทําใหสามารถลดภาระดอกเบี้ยได
620.41 ลานบาท
หนี้ตางประเทศ โดยแปลงหนี้เงินกูจากสกุล
เงินเยนเปนสกุลเงินบาท (Cross Currency Swap) ของ
การรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย (รฟม.) จํานวน
27,679.00 ลานบาท (87,918.50 ลานเยน) ทําใหประหยัด
ดอกเบี้ยได 4,997.00 ลานบาท
3. การจัดทําแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําป
งบประมาณ 2558
สบน. ไดจัดทําแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําป
งบประมาณ 2558 ซึ่งแผนดังกลาวเปนแผนที่แสดงใหเห็น
ภาพรวมของการกอหนี้ใหมและการบริหารหนี้เดิมของทั้ง
สวนราชการและรัฐวิสาหกิจในรอบระยะเวลา 1 ปงบประมาณ
เพื่อกําหนดทิศทางและแนวทางการดําเนินงานดาน
หนี้สาธารณะในปงบประมาณ 2558 ใหสอดคลองกับ
ยุทธศาสตร ตลอดจนนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ของประเทศ รวมทั้งมีความเหมาะสมภายใตกรอบความยั่งยืน
ทางการคลัง โดยไดเสนอแผนการบริหารหนี้สาธารณะ
ประจําปงบประมาณ 2558 พรอมผลสัมฤทธิ์ที่คาดวาจะไดรับ
และผลกระทบจากการดําเนินการตามแผนฯ ตอคณะรัฐมนตรี
เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2557 และคณะรัฐมนตรีไดมีมติอนุมัติ
และรับทราบแผนฯ ป 2558 เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2557
4. หนี้สาธารณะคงคางตอผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ
ณ ราคาประจําป
ณ สิ้นเดือนกันยายน 2557 มียอดหนี้สาธารณะ
คงคาง มีจํานวน 5,690,814.15 ลานบาท หรือคิดเปน
รอยละ 47.18 ของ GDP โดยแบงเปนหนี้ของรัฐบาล
3,965,455.04 ลานบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบัน
การเงิน 1,087,393.91 ลานบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบัน
การเงิน (รัฐบาลคํ้าประกัน) 626,508.18 ลานบาท และ
หนี้หนวยงานอื่นของรัฐ 11,457.02 ลานบาท โดยมี
รายละเอียดปรากฏตามแผนภาพที่ 1 และตารางที่ 2
ตามลําดับ
รายงานประจ�าปี 2557
ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ
30
ตารางที่ 2 : รายงานหนี้สาธารณะคงคาง ณ วันที่ 30 กันยายน 2557
1. หนี้ของรัฐบาล (1.1+1.2+1.3) 3,965,455.040
1.1 หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง 2,891,603.190
- หนี้ตางประเทศ 75,184.660
- หนี้ในประเทศ 2,816,418.530
- เงินกูชดเชยการขาดดุลงบประมาณ และการบริหารหนี้ 2,366,370.000
- พันธบัตรโครงการชวยเพิ่มเงินกองทุน 0.000
- เงินกูเพ�อการปรับโครงสรางหนี้ตางประเทศ 0.000
- เงินกูเพ�อฟนฟูและเสริมสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจ 373,483.290
- เงินกูเพ�อนําเขากองทุนสงเสริมการประกันภัย 0.000
- เงินกูเพื่อวางระบบบริหารจัดการนํ้า 22,200.000
- เงินกูใหกูตอ 37,908.570
- เงินกูเพื่อปรับโครงสรางหนี้ตางประเทศที่กระทรวงการคลังคํ้าประกัน 11,416.670
- เงินกูเพ�อใชในการดําเนินโครงการเงินกู DPL 5,040.000
หนี้หนวยงานอื่นของรัฐ
0.20%
หนี้ของรัฐบาล
(เพื่อชดใชความเสียหายของ FIDF)
18.87%
หนี้รัฐบาลกูโดยตรง
50.81%
หนี้รัฐวิสาหกิจ
ที่ไมเปนสถาบันการเงิน
19.11%
หนี้รัฐวิสาหกิจ
ที่เปนสถาบันการเงิน
(รัฐบาลคํ้าประกัน)
11.01%
แผนภาพที่ 1 สัดสวนหนี้สาธารณะ
Annual Report 2014
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
31
1.2 หนี้ที่รัฐบาลกูเพ�อชดใชความเสียหายใหแกกองทุนเพ�อการฟนฟูฯ 1,073,851.850
- FIDF 1 449,138.510
- FIDF 3 624,713.340
1.3 หนี้เงินกูลวงหนาเพ�อปรับโครงสรางหนี้ 0.000
- หนี้เงินกูเพ�อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ 0.000
- หนี้เงินกูเพ�อชดใชความเสียหายใหแกกองทุนเพ�อการฟนฟูฯ 0.000
- FIDF 1 0.000
- FIDF 3 0.000
2. หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน (2.1+2.2) 1,087,393.910
2.1 หนี้ที่รัฐบาลคํ้าประกัน 425,896.850
- หนี้ตางประเทศ 107,511.790
- หนี้ในประเทศ 318,385.060
2.2 หนี้ที่รัฐบาลไมคํ้าประกัน 661,497.060
- หนี้ตางประเทศ 172,586.480
- หนี้ในประเทศ 488,910.580
3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน (รัฐบาลคํ้าประกัน) (3.1+3.2) 626,508.180
3.1 หนี้ตางประเทศ 2,894.780
3.2 หนี้ในประเทศ 623,613.400
4. หนี้กองทุนเพ�อการฟนฟูฯ (4.1+4.2) 0.000
4.1 หนี้ที่รัฐบาลคํ้าประกัน 0.000
4.2 หนี้ที่รัฐบาลไมคํ้าประกัน 0.000
5. หนื้หน�วยงานอ�นของรัฐ (5.1+5.2) 11,457.020
5.1 หนี้ที่รัฐบาลคํ้าประกัน 0.000
5.2 หนี้ที่รัฐบาลไมคํ้าประกัน 11,457.020
รวม 5,690,814.150
Debt : GDP 47.18
GDP ของปงบประมาณ 2557 12,061,096.00
อัตราแลกเปลี่ยน 32.5161
รายงานประจ�าปี 2557
ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ
32
ตารางที่ 3 : ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อใชสรางอัตราดอกเบี้ยอางอิงในปงบประมาณ 2557
หนวย : ลานบาท
ประเภทรุน ช�อรุน วงเงินที่ประกาศ วงเงินที่ไดรับจัดสรร
5 ป LB196A 120,000 120,000
10 ป LB236A 82,000 82,000
15 ป LB296A 56,000 52,534
30 ป LB446A 52,000 52,000
50 ป LB616A 51,000 46,937
รวม 361,000 353,471
สบน. มีบทบาทที่สําคัญในการพัฒนาตลาดตราสารหนี้
ใหเปน 1 ใน 3 เสาหลักทางการเงิน โดยปจจุบันขนาดของตลาด
พันธบัตรมีมูลคาประมาณ 9,297,234 ลานบาท หรือคิดเปน
ประมาณรอยละ 76 ของ GDP ซึ่ง สบน. ไดมีสวนรวมในการ
พัฒนาตลาดตราสารหนี้เพื่อใหมีขนาดใกลเคียงกับ
ตลาดการเงินอื่นๆ (ตลาดทุน 101% และ ตลาดสินเชื่อ
ธนาคารพาณิชย 106%) โดยผานการออกตราสารหนี้
ของรัฐบาล ซึ่ง ณ สิ้นป 2557 ตราสารหนี้ของรัฐบาล
มีมูลคารวมประมาณ 3,479,588 ลานบาท สบน. ไดกําหนด
กลยุทธในการออกตราสารหนี้ของรัฐบาลในแตละปโดย
คํานึงถึงปจจัยหลัก 4 ประการ คือ
(1) ระดมทุนอยางไรใหไดวงเงินครบตามวงเงินที่
ตองการ
(2) ระดมทุนอยางไรใหไดตนทุนที่เหมาะสม
(3) ระดมทุนอยางไรใหมีความเสี่ยงตํ่า
(4) ระดมทุนอยางไรใหเปนไปในวิถีทางที่เอื้อตอการ
พัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ
โดยวางแผนการออกตราสารหนี้ใหสอดคลองกับ
ความตองการใชเงินกูตามแผนการบริหารหนี้สาธารณะ
ประจําปงบประมาณ พรอมทั้งกําหนดรูปแบบและวิธีการ
รวมทั้งเครื่องมือในการระดมทุน โดยมีพันธบัตรรัฐบาลเพื่อ
ใชสรางอัตราดอกเบี้ยอางอิง (Benchmark Bond) เปน
เครื่องมือหลักในการระดมทุน รวมทั้งพิจารณาเพิ่มวงเงิน
พันธบัตรในแตละรุนใหมีขนาดใหญขึ้นเพียงพอที่จะทําใหเกิด
สภาพคลองในตลาดรองได รวมทั้งไดมีการหารือ และชี้แจง
กับผูรวมตลาดและนักลงทุนใหไดรับทราบแนวทางการระดม
ทุนของรัฐบาลอยางสมํ่าเสมอ โดยผานการประชุม Market
Dialogue ซึ่งจะจัดเปนรายไตรมาส และประจําป รวมทั้ง
ไดมีการกําหนดแผนการกูเงิน และประกาศตารางการประมูล
พันธบัตรเปนรายไตรมาส พรอมทั้งมีการประมูลพันธบัตร
อยางตอเนื่อง ตลอดจนมีการพัฒนาเครื่องมือการระดมทุน
ในรูปแบบใหมๆ ใหสอดคลองกับความตองการระดมทุน
และตอบโจทยความตองการของนักลงทุนที่หลากหลาย เชน
พันธบัตรรัฐบาลประเภททยอยชําระคืนเงินตน (Amortized
Bond : LBA) เปนตน
1. การออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อใชสรางอัตราดอกเบี้ย
อางอิง (Benchmark Bond)
ปงบประมาณ 2557 สบน. สามารถออกพันธบัตร
รัฐบาลเพื่อใชเปนอัตราดอกเบี้ยอางอิง โดยแบงตามรุนอายุได
ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศใหเปนเสาหลักทางการเงิน
เพื่อเสริมสรางความแข็งแกรงของระบบการเงิน
Annual Report 2014
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
33
2. การออกพันธบัตรออมทรัพยเพื่อรายยอยพิเศษ
สบน. ไดพัฒนาพันธบัตรออมทรัพย (Saving Bond)
ใหเปนเครื่องมือในการสงเสริมใหสังคมไทยเขาสูสังคมแหง
การออมอยางแทจริง และเปนทางเลือกในการออมที่มี
คุณภาพใหกับประชาชนที่มีรายไดนอยสามารถเขาถึงไดอยาง
สะดวก โดยไดพัฒนาชองทางการจําหนายพันธบัตรออมทรัพย
ผานเคานเตอรธนาคาร และเครื่องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM)
ตลอด 24 ชั่วโมง ของธนาคารตัวแทนจําหนาย 4 แหง ไดแก
ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ธนาคารกรุงไทย จํากัด
(มหาชน) ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) และธนาคาร
(2) พันธบัตรออมทรัพยของกระทรวงการคลังเพื่อ
รายยอยพิเศษปงบประมาณ พ.ศ. 2557 ครั้งที่ 2 รุนอายุ
3 ป อัตราดอกเบี้ยรอยละ 3.25 ตอป เปดจําหนายระหวาง
วันที่ 8 พฤษภาคม - 29 สิงหาคม 2557 โดยสามารถ
จัดจําหนายได 4,000 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 100 ของ
วงเงินตามแผน
(3) พันธบัตรออมทรัพยของกระทรวงการคลังเพื่อ
รายยอยพิเศษปงบประมาณ พ.ศ. 2557 ครั้งที่ 3 เปด
จําหนายระหวางวันที่15 กรกฎาคม 2557 - 25 กรกฎาคม
2557
ตารางที่ 4 : ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลประเภทนวัตกรรม ในปงบประมาณ 2557
หนวย : ลานบาท
ประเภท ช�อรุน วงเงินประกาศประมูล วงเงินจัดสรร
Inflation Linked-Bond
- รุนอายุ 15 ป ILB283A 25,000 22,730
Amortized Bond
- รุนอายุ 25 LBA37DA 61,000 61,000
รวม 86,000 83,730
ไทยพาณิชยจํากัด (มหาชน) รวมทั้งเปนตราสารหนี้แบบ
ไรใบตราสาร (Scripless) โดยจะมีสมุดพันธบัตร หรือ Bond
Book ในการจัดเก็บขอมูลใหแกผูซื้อ และผูซื้อสามารถลงทุน
ไดในวงเงินซื้อขั้นตํ่าจํานวน 1,000 บาท และวงเงินซื้อขั้นสูง
2,000,000 ลานบาท ในปงบประมาณ 2557 ไดวางแผน
จําหนายพันธบัตรออมทรัพยเพื่อรายยอยพิเศษ จํานวน 2 รุน
วงเงินรวมรุนละไมเกิน 4,000 ลานบาท และมีผล
การจําหนาย ดังนี้
(1) พันธบัตรออมทรัพยของกระทรวงการคลังเพื่อ
รายยอยพิเศษปงบประมาณ พ.ศ. 2557 ครั้งที่ 1 รุนอายุ
3 ป อัตราดอกเบี้ยรอยละ 3.85 ตอป เปดจําหนายระหวาง
วันที่ 2 ธันวาคม 2556-31 มีนาคม 2557 โดยสามารถ
จัดจําหนายได 4,000 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 100
ของวงเงินตามแผน
- รุนอายุ 7 ป อัตราดอกเบี้ยรอยละ 4.25 ตอป
โดยสามารถจัดจําหนายได 11,835.55 ลานบาท หรือคิดเปน
รอยละ 39.45 ของวงเงินตามแผน
- รุนอายุ 10 ป อัตราดอกเบี้ยรอยละ 4.75 ตอป
โดยสามารถจัดจําหนายได 18,164.45ลานบาท หรือคิดเปน
รอยละ 60.55 ของวงเงินตามแผน
รายงานประจ�าปี 2557
ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ
34
3. การออกพันธบัตรรัฐบาลประเภททยอยชําระคืนเงินตน
(Amortized Bond : LBA)
สบน. ไดพัฒนาเครื่องมือการระดมทุนชนิดใหมเพื่อ
พัฒนาตลาดตราสารหนี้ โดยการออกพันธบัตรรัฐบาล
ประเภททยอยชําระคืนเงินตน (Amortized Bond)
ซึ่งพันธบัตรดังกลาวมีเงื่อนไขที่แตกตางจากพันธบัตร
Benchmark ปรกติของรัฐบาล เนื่องจาก Amortized Bond
มีการทยอยชําระคืนเงินตนในชวง 5 ปสุดทายของอายุ
ตราสาร ปละเทาๆกัน (รอยละ 20 ของเงินตนตอป) โดย
กําหนดให Amortized Bond มีอายุยาวถึง 25 ป แมพันธบัตร
รุนนี้จะเปนสกุลเงินบาทและมีอายุยาวถึง 25 ป รวมทั้ง
มีเงื่อนไขและรูปแบบใหม โดยที่รัฐบาลไทยเปนประเทศแรก
ใน ASEAN ที่ออก Amortized Bond ในสกุลเงินทองถิ่น
อายุยาวที่สุดและวงเงินใหญที่สุด แตพันธบัตรดังกลาวก็ไดรับ
การตอบรับจากนักลงทุนเปนอยางดี โดย สบน. รวมกับ
ธนาคารตัวแทนจําหนาย ทั้ง 3 แหง คือ ธนาคารกรุงเทพ
จํากัด (มหาชน) ธนาคารดอยซแบงก ธนาคารฮองกงและ
เซี่ยงไฮแบงกิ้งคอรปอเรชั่น จํากัด สามารถประมูลพันธบัตร
ดังกลาวไดเต็มจํานวนที่วางแผนไว คือ 61,000 ลานบาท
ไดรับจัดสรร 61,000 ลานบาท
4. การออกพันธบัตรอัตราดอกเบี้ยแปรผันตามการ
เปลี่ยนแปลงของเงินเฟอ (Inflation Linked Bond : ILB)
อายุ 15 ป
การออก ILB ครั้งแรกของประเทศไทย โดยการออก
ในครั้งนี้มีจุดประสงคหลัก ในการริเริ่มพัฒนาสรางเสนอัตรา
ผลตอบแทนอางอิงของ Inflation Linked Bond (ILB
Government Bond Yield Curve) เพื่อที่ในอนาคต
ประเทศไทยจะไดมีเสน Yield Curve ของ ILB ที่ยาวคูขนาน
กับ Yield Curve ของ Benchmark Bond โดยปจจุบัน
Benchmark Bond ของรัฐบาลยาวที่สุดถึง 50 ป ในการนี้
สบน. มีแผนที่จะออก ILB รุนอายุอื่นๆ อยางตอเนื่องทุกป
และคาดวาภายในป พ.ศ. 2558 ที่ประเทศไทยจะเขาสูการ
เปนประชาคมอาเซียนอาจจะมีการพัฒนา ILB ไปถึงรุนอายุ
30 ป นอกจากนี้ การสรางสภาพคลองใหกับ ILB ถือเปน
ปจจัยสําคัญในการพัฒนา ILB ใหเปนที่นิยมและเปนอัตรา
อางอิงที่มีเสถียรภาพ ซึ่ง สบน. ไดหารือกับผูคาหลักสําหรับ
ธุรกรรมประเภทซื้อขายขาดของกระทรวงการคลัง (MOF
Outright Primary Dealer : PD) ทั้ง 13 ราย ของกระทรวง
การคลังใหทําหนาที่สรางสภาพคลองในตลาดรองดวย โดย
ณ สิ้นปงบประมาณ 2557 มีการประมูล ILB รุน 15 ป วงเงิน
25,000 ลานบาท ไดรับจัดสรร 22,730 ลานบาท
การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศอยางมี
ประสิทธิภาพสงผลใหโครงสรางของหนี้ที่รัฐบาลกูตรง ดีขึ้น
อยางเห็นไดชัด ดังนี้ 1) ยืดระยะเวลาเฉลี่ยที่หนี้จะครบ
กําหนด (Average time to Maturity) 2) ตนทุนการกูเงิน
เฉลี่ยลดลง 3) สรางสมดุลระหวางสัดสวนอัตราดอกเบี้ยแบบ
ลอยตัว (Floating) และอัตราดอกเบี้ยแบบคงที่ (Fixed)
และ 4) การกระจายโครงสรางอายุหนี้คงเหลือที่จะครบ
กําหนดชําระ (Maturity Profile)
Annual Report 2014
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
35
สบน. ถือเปนหนวยงานขนาดเล็ก มีบุคลากรประมาณ
240 คน (ขาราชการประมาณ 160 คน พนักงานราชการและ
ลูกจางชั่วคราวประมาณ 80 คน) ซึ่งถือวาบุคลากรของ สบน.
มีภาระรับผิดชอบที่สูง เนื่องจากตองดูแลและบริหารจัดการ
หนี้สาธารณะจํานวนสูงถึง 5 ลานลานบาท ดังนั้น จึงจําเปน
ตองมีระบบการพัฒนาและบริหารบุคลากร เพื่อรักษาคนดี
และคนเกงใหอยูกับองคกร รวมทั้งพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการองคกรที่มีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาองคกรใหไปสู
องคกรที่มีสมรรถนะสูง และสามารถตอบสนองตอ
ความตองการของผูรับบริการไดเปนอยางดี โดยในป
งบประมาณ พ.ศ. 2557 มีโครงการสําคัญ ดังนี้
1. การบริหารอัตรากําลังและการปรับปรุงโครงสราง
องคกร
จากบริบทของการบริหารงานภาครัฐที่เปลี่ยนแปลงไป
รวมทั้งภารกิจที่เพิ่มขึ้นจากการดําเนินนโยบายตางๆ ของ
ภาครัฐ สงผลกระทบตอการดําเนินงานของ สบน. ดังนั้น
สบน. จึงไดมีการศึกษาแนวทางการพัฒนาหนวยงานเพื่อ
รองรับการเปลี่ยนแปลงดังกลาว โดยมีการศึกษาแนวทาง
การปรับปรุงโครงสรางองคกรและทรัพยากรบุคคลใหสะทอน
และรองรับบทบาทภารกิจที่มีความยากและเพิ่มมากขึ้น ซึ่ง
รวมถึงการจัดรูปแบบและกระบวนการทํางาน การบริหาร
อัตรากําลังและตําแหนงที่เหมาะสมกับการขับเคลื่อนองคกร
เพื่อเตรียมพรอมสําหรับอนาคต เชน ภารกิจในดานการ
ติดตามและประเมินผลโครงการเงินกู ภารกิจดานการพัฒนา
ตลาดตราสารหนี้ในเชิงลึก และการบริหารความเสี่ยง
เปนตน โดยในการศึกษาดังกลาวไดมีการคํานึงถึง
ความกาวหนาของบุคลากร ความมีประสิทธิภาพในการ
บริหารงาน และความคุมคาในเชิงภารกิจดวย รวมทั้ง
ไดมีการจัดรับฟงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงโครงสราง
จากบุคลากรภายใน รวมทั้งผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย
ดวย ในปงบประมาณ 2557 สบน. ไดมีการปรับเปลี่ยน
โครงสรางขององคกร โดยมีการจัดตั้งหนวยงานระดับสํานัก
เพิ่ม จํานวน 1 สํานัก ซึ่งไดแก สํานักบริหารและประเมินผล
โครงการลงทุนภาครัฐ เพื่อใหการบริหารและประเมินผล
โครงการฯ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และบรรลุ
วัตถุประสงคที่วางไว
สําหรับการพัฒนาบุคลากร นอกจากนี้ สบน. ไดมี
หลักสูตรตางๆ ทั้งที่ไดจัดขึ้นเองและจัดโดยหนวยงาน
ภายนอก โดยมีโครงการที่สําคัญในป 2557 ดังนี้
1. หลักสูตรนักบริหารหนี้สาธารณะมืออาชีพ รุนที่ 2
สบน. ไดออกแบบหลักสูตร “นักบริหารหนี้สาธารณะ
มืออาชีพ” รุนที่ 2 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาบุคลากร
ใหมีความรู ความเชี่ยวชาญในงานดานการบริหารหนี้สาธารณะ
อยางแทจริง และมีความเปนมืออาชีพในการปฏิบัติงาน โดย
หลักสูตรดังกลาว มีเนื้อหาเกี่ยวกับเทคนิคในการบริหาร
จัดการหนี้สาธารณะ การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ การระดมทุน
การวิเคราะหโครงการ การบริหารจัดการ และทักษะในการ
เจรจาตอรอง รวมทั้งสงเสริมใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู
และ การทํางานเปนทีม โดยไดเชิญอดีตผูบริหาร และ
ผูบริหารของ สบน. รวมทั้งผูเชี่ยวชาญจากหนวยงานที่
เกี่ยวของ เชน สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย สํานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
เปนตน มาเปนวิทยากรใหความรู ซึ่งหลักสูตรไดออกแบบ
เพื่อเปนมาตรฐานในการพัฒนาบุคลากรของ สบน. ให
สามารถปฏิบัติงานไดตามวิสัยทัศนขององคกรที่ตองการให
บุคลากรมีความเปนมืออาชีพในการบริหารหนี้สาธารณะ
2. หลักสูตร TLCA Executive Development
Program รุนที่ 13 (EDP13) เปนหลักสูตรเพื่อการพัฒนา
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การพัฒนาองค์กรใหเขมแข็งและมีประสิทธิภาพ
รายงานประจ�าปี 2557
ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ
36
ทักษะและประสบการณของผูบริหารจากหนวยงานทั้งภาครัฐ
และภาคเอกชน ซึ่งจัดขึ้นโดย ตลาดหลักทรัพยแหง
ประเทศไทยและสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย โดยผูเขา
อบรมจะไดรับความรูและประสบการณโดยตรงจากวิทยากร
ผูทรงคุณวุฒิ รวมทั้งไดแลกเปลี่ยนประสบการณ ความคิดเห็น
และสรางเครือขายความสัมพันธอันดีระหวางผูเขารวม
หลักสูตร
2. การจัดการความรูของสํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ
แผนการจัดการความรูใชเปนเครื่องมือในการสงเสริม
สนับสนุน พัฒนาองคกรใหเขมแข็งมีประสิทธิภาพ และ
พัฒนาองคกรใหเปนองคกรแหงการเรียนรู รวมทั้งเปนไป
ตามกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจําป
งบประมาณ 2557 ของสํานักงาน ก.พ.ร. ซึ่งกําหนดใหมีตัว
ชี้วัด “ระดับความสําเร็จของการพัฒนาองคกร” ซึ่งไดมุงเนน
การพัฒนาองคกรในดานการแลกเปลี่ยนความรูและ
การพัฒนา โดยตามแนวทางแผนการจัดการความรูของ
สบน. ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2557 ประกอบดวย
3 กิจกรรมหลัก ไดแก
1. กิจกรรมการแบงปนและแลกเปลี่ยนองคความรู
กับหนวยงานภายนอก ซึ่งเปนการถายทอดองคความรูและ
ประสบการณจากวิทยากรผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานจากหนวยงาน
ภายนอก ไดแก 1) องคการความรวมมือระหวางประเทศ
ญี่ปุน (JICA) หัวขอ “Project Financing” 2) สมาคมตลาด
ตราสารหนี้ไทย (ThaiBMA) หัวขอ “Bond Market” 3)
ธนาคารกสิกรไทยจํากัด (มหาชน) หัวขอ “Marketing Based
Project Financing” และ 4) บริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุน
กรุงไทย จํากัด (มหาชน) หัวขอ “Asset Management”
2. กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (Morning
Talk/Lunch Talk) เปนกิจกรรมภายใตโครงการการจัดการ
ความรู (Knowledge Management :KM) ของ สบน. ซึ่งได
มีการดําเนินการมาตั้งแตปงบประมาณ 2554 จนถึงปจจุบัน
โดยไดมีการพัฒนารูปแบบในการจัดกิจกรรม เชน มีการ
คัดเลือกผูรูในดานตางๆ เพื่อเปน KM Guru และถายทอด
ความรูและประสบการณใหกับบุคลากรรุนใหมภายใน
หนวยงาน รวมทั้งมีการเชิญผูเชี่ยวชาญจากหนวยงาน
ภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชนมาแลกเปลี่ยนความรู และ
มุมมองการดําเนินงานในเรื่องตางๆ เปนตน ซึ่งกิจกรรม
ดังกลาวไดรับความสนใจจากบุคลากรเปนจํานวนมาก และ
เกิดการแลกเปลี่ยน ถายทอดความรู และประสบการณ
ในดานตางๆ ระหวางบุคลากร ซึ่งจะเปนการรักษาองคความรู
และประสบการณเหลานั้นใหคงอยูกับองคกร และสามารถ
นําไปปรับใชในงานที่ปฏิบัติได
3. กิจกรรมการศึกษาดูงานกับหนวยงานภายนอก
(KM Journey) ซึ่งเปนการศึกษาดูงานกับหนวยงานที่เปน
ตนแบบในดานการบริหารจัดการที่ดี (Best Practice) เพื่อ
ใหบุคลากรของ สบน. ไดเกิดการแลกเปลี่ยนความรู และ
นําไปสูการพัฒนาตอยอดเพื่อการปรับปรุงการปฏิบัติงาน
การปรับกระบวนทัศนทั้งในดานระบบ การทํางานและดาน
ชีวิตสวนตัว
3. การจัดทําคํารับรองการปฏิบัติราชการและระบบการ
บริหารผลการปฏิบัติงาน
ในการดําเนินงานตามยุทธศาสตรและเปาหมายที่
องคกรวางไว สบน. ไดมีการถายทอดตัวชี้วัดและคาเปาหมาย
ขององคกรสูระดับบุคคล โดยบุคลากรทุกระดับตองเขามา
มีสวนรวมในการดําเนินการตามยุทธศาสตรที่วางไว มีการ
ถายทอดตัวชี้วัดจากระดับกระทรวง สูระดับกรม และระดับ
หนวยงานภายในจนถึงระดับบุคคล เพื่อใหการดําเนินงาน
ตางๆ มีผูรับผิดชอบที่ชัดเจน รวมทั้งผูบริหารใหความสําคัญ
กับการพิจารณาคาเปาหมายใหมีความทาทาย สอดคลองกับ
ผลการดําเนินการที่ผานมา โดยมีระบบในการเจรจาคาเปาหมาย
ซึ่งจะพิจารณาจากขอมูลการดําเนินงานที่ผานมา โดยจัดการ
เจรจาระหวางหนวยงานระดับสํานักกับผูบริหารระดับสูง เพื่อ
ใหเกิดความเขาใจในเปาหมายขององคกรรวมกัน และเกิด
การเชื่อมโยงระหวางหนวยงานภายใน และสงผลใหเกิด
ความรวมมือจากบุคลากรในทุกระดับขององคกร และนําผล
การปฏิบัติราชการดังกลาวเปนขอมูลในการบริหารคาตอบแทน
และจัดสรรสิ่งจูงใจ ซึ่งระบบการบริหารผลงานที่มี
ประสิทธิภาพดังกลาว สงผลให สบน. มีคะแนนผลการ
ปฏิบัติราชการอยูในระดับสูงมาโดยตลอด ตั้งแต
ปงบประมาณ 2553-2556 และสําหรับปงบประมาณ 2557
ยังอยูระหวางการตรวจประเมินของสํานักงาน ก.พ.ร.
งบการเงิน
ของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ03
รายงานประจ�าป 2557
ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ
38
หมายเหตุ (หน�วย:บาท)
สินทรัพย
สินทรัพยหมุนเวียน
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด 5 39,392,074,609.56
ลูกหนี้ระยะสั้น 6 235,734,323.28
ลูกหนี้เงินโอนและรายการอุดหนุนระยะสั้น -
เงินใหกูยืมระยะสั้น -
เงินลงทุนระยะสั้น -
สินคาคงเหลือ -
วัสดุคงเหลือ -
สินทรัพยหมุนเวียนอ�น 7 1,506,511,498.70
รวมสินทรัพยหมุนเวียน 41,134,320,431.54
สินทรัพยไมหมุนเวียน
ลูกหนี้ระยะยาว -
ลูกหนี้เงินโอนและรายการอุดหนุนระยะยาว -
เงินใหกูยืมระยะยาว 8 1,412,924,454,588.50
เงินลงทุนระยะยาว 9 72,206,266.35
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ 10 43,685,766.19
สินทรัพยโครงสรางพื้นฐาน -
สินทรัพยไมมีตัวตน 11 6,682,813.57
สินทรัพยไมหมุนเวียนอ�น -
รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน 1,413,047,029,434.61
รวมสินทรัพย 1,454,181,349,866.15
ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ
งบแสดงฐานะการเงิน
ณ 30 กันยายน 2557
Annual Report 2014
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
39
หมายเหตุ (หน�วย:บาท)
หนี้สินหมุนเวียน
เจาหนี้ระยะสั้น 12 38,108,664,907.17
เจาหนี้เงินโอนและรายการอุดหนุนระยะสั้น -
เงินกูยืมระยะสั้น 14 116,300,000,000.00
สวนของเงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป 17 353,795,453,243.86
สวนของเจาหนี้ตามสัญญาเชาการเงินที่ถึงกําหนด -
ชําระภายใน 1 ป -
เงินทดรองราชการรับจากคลังระยะสั้น -
เงินรับฝากระยะสั้น 13 4,337,352,450.26
ประมาณหนี้สินระยะสั้น -
หนี้สินหมุนเวียนอ�น 15 7,111,455,850.74
รวมหนี้สินหมุนเวียน 519,652,926,452.03
หนี้สินไมหมุนเวียน
เจาหนี้ระยะยาว -
เจาหนี้เงินโอนและรายการอุดหนุนระยะยาว 16 989,364.59
เงินกูยืมระยะยาว 17 3,532,148,921,347.19
เจาหนี้ตามสัญญาเชาการเงินระยะยาว -
เงินทดรองราชการรับจากคลังระยะยาว 1,250,000.00
เงินรับฝากระยะยาว -
ประมาณการหนี้สินระยะยาว -
หนี้สินไมหมุนเวียนอ�น 6,544,082,122.81
รวมหนี้สินไมหมุนเวียน 3,538,695,242,834.59
รวมหนี้สิน 4,058,348,169,286.62
สินทรัพยสุทธิ/สวนทุน (2,604,166,819,420.47)
สินทรัพยสุทธิ/สวนทุน
ทุน 18 (1,745,948,795,386.54)
รายไดสูง/(ตํ่า)กวาคาใชจายสะสม 19 (858,218,024,033.93)
องคประกอบอ�นของสินทรัพยสุทธิ/สวนทุน -
รวมสินทรัพยสุทธิ/สวนทุน (2,604,166,819,420.47)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
รายงานประจ�าป 2557
ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ
40
หมายเหตุที่ 1 ขอมูลทั่วไป
สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) เปนสวนราชการในระดับกรม
สังกัดกระทรวงการคลัง จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2545 ตามพระราช
บัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545
สบน. เปนองคกรที่มีภารกิจเสนอแนะนโยบาย รวมทั้งดําเนินการ
กอหนี้และบริหารหนี้สาธารณะโดยคํานึงถึงประโยชนสูงสุดของประเทศ
โดยมีบทบาทดานงานบริหารจัดการหนี้สาธารณะในฐานะหนวยงาน
(Agency) ซึ่งดําเนินการตามภารกิจเชนเดียวกับสวนราชการอื่น และ
งานบริหารหนี้สาธารณะในฐานะหนวยงานกลาง (Core Agency)
ประกอบไปดวยการกอหนี้ที่กระทรวงการคลังไดผูกพันในฐานะผูกูในนาม
รัฐบาลของราชอาณาจักรไทย ทั้งหนี้ในประเทศและตางประเทศ การบริหารจัดการหนี้คงคาง รวมถึงการบริหารการชําระหนี้
ป พ.ศ. 2548 มีการประกาศใช “พระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548” ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ 2548 และมีผลใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป เหตุผลในการ
ประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ เพื่อใหการบริหารหนี้สาธารณะมีประสิทธิภาพ ซึ่งเดิมไดบัญญัติไวในกฎหมายหลายฉบับ
และสมควรใหมีหนวยงานกลางเปนหนวยงานเดียว ทําหนาที่รับผิดชอบในการบริหารหนี้สาธารณะอยางมีระบบ
มีประสิทธิภาพ และควบคุมดูแลการกอหนี้โดยรวม เพื่อใหภาระหนี้สาธารณะอยูในระดับที่สอดคลองกับฐานะการเงิน
การคลังของประเทศ ซึ่งกําหนดใหกระทรวงการคลังเปนผูมีอํานาจในการกูเงินหรือคํ้าประกัน
ในนามรัฐบาลแตเพียงผูเดียวโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรี กําหนดใหมีคณะกรรมการนโยบายและกํากับการบริหาร
หนี้สาธารณะ ซึ่งมีอํานาจหนาที่รายงานสถานะหนี้สาธารณะ เสนอแผนการบริหารหนี้สาธารณะ จัดทําหลักเกณฑในการ
บริหารหนี้ แนะนําการออกกฎกระทรวงและปฏิบัติการอื่น
สบน. มีหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับกิจการทั่วไปของคณะกรรมการนโยบายและกํากับการบริหารหนี้สาธารณะ และ
มีอํานาจหนาที่ในการศึกษาวิเคราะหโครงสรางหนี้สาธารณะ หนี้รัฐวิสาหกิจที่ทําธุรกิจใหกูยืมเงิน และสถาบันการเงินภาครัฐ
ที่กระทรวงการคลังไมไดคํ้าประกัน รวบรวมขอมูลประมาณการความตองการเงินภาครัฐ และการบริหารหนี้สาธารณะ
เพื่อเสนอตอคณะกรรมการนโยบายและกํากับการบริหารหนี้สาธารณะ ดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารหนี้สาธารณะ
ใหคําปรึกษาแนะนํา สงเสริมหนวยงานของรัฐในการบริหารจัดการหนี้ ติดตามการปฏิบัติตามสัญญาและประเมินผล
การใชจายเงินกู ปฏิบัติงานธุรการของคณะกรรมการนโยบายกํากับการบริหารหนี้สาธารณะ และปฏิบัติการอื่น
หมายเหตุที่ 2 เกณฑการจัดทํางบการเงิน
งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานและนโยบายการบัญชีภาครัฐที่กระทรวงการคลังประกาศใชซึ่งรวมถึงหลักการ
และนโยบายบัญชีสําหรับหนวยงานภาครัฐ มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ และแสดงรายการ
ในงบการเงินตามแนวปฏิบัติทางบัญชี เรื่อง การนําเสนองบการเงิน ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0423.2/ว 237
ลงวันที่ 8 กันยายน 2557
สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557
Annual Report 2014
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
41
หมายเหตุที่ 3 มาตรฐานและนโยบายการบัญชีภาครัฐฉบับใหม และมาตรฐานและนโยบายการบัญชี
ภาครัฐที่ปรับปรุงใหม
ในระหวางปปจจุบัน กระทรวงการคลังไดประกาศใชมาตรฐานและนโยบายการบัญชีภาครัฐฉบับใหมและปรับปรุงใหม
ดังนี้
มาตรฐานและนโยบายการบัญชีภาครัฐที่มีผลบังคับใชสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีปจจุบันที่เริ่มในหรือหลังวันที่
1 ตุลาคม 2556 เปนตนไป
- มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 1 เรื่อง การนําเสนองบการเงิน
- มาตรฐานการบัญชีภาครัฐฉบับใหมขางตนไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงินในงวดปจจุบัน
มาตรฐานและนโยบายการบัญชีภาครัฐที่มีผลบังคับใชในงวดอนาคต
มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 3 เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและขอผิดพลาด
วันที่มีผลบังคับใช 1 ตุลาคม 2557
- มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 5 เรื่อง ตนทุนการกูยืม วันที่มีผลบังคับใช 1 ตุลาคม 2559
- มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 16 เรื่อง อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน วันที่มีผลบังคับใช 1 ตุลาคม 2559
มาตรฐานการบัญชีภาครัฐฉบับใหมขางตนไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงินในงวดที่นํามาถือปฏิบัติ
หมายเหตุที่ 4 สรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ
4.1 งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามเกณฑคงคาง (Accrual basis) โดยเปนไปตามขอกําหนดในหลักการและนโยบาย
บัญชีสําหรับหนวยงานภาครัฐ ฉบับที่ 2 ตามประกาศกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2546
4.2 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เชน เช็ค ตั๋วแลกเงินสด เปนตน รับรูตามมูลคาที่ตราไวเงินทดรองราชการ
บันทึกรับรูเมื่อไดรับเงินควบคูไปกับการบันทึกเงินทดรองราชการรับเงินจากคลังระยะยาว
4.3 ลูกหนี้เงินยืม บันทึกรับรูตามจํานวนเงินในสัญญายืม ไมวาจะจายจากเงินงบประมาณหรือเงินนอกงบประมาณ
4.4 รายไดจากเงินงบประมาณคางรับ บันทึกเปนรายไดจากเงินงบประมาณคางรับ ณ วันที่จัดทํารายงานหรือ
ณ วันสิ้นปงบประมาณ ตามจํานวนเงินงบประมาณที่ยังไมไดรับตามฎีกาเหลื่อมจาย
4.5 รายไดคางรับ บันทึกตามจํานวนเงินที่ยังไมไดรับจนถึงสิ้นปงบประมาณ
4.6 วัสดุคงเหลือ แสดงในราคาทุน โดยตีราคาวัสดุคงเหลือตามวิธีเขากอนออกกอน
4.7 ดอกเบี้ยจายลวงหนา เปนสวนลดที่ใหแกผูประมูลตั๋วเงินคลัง
4.8 เงินใหกูระยะยาวแกรัฐวิสาหกิจ เปนเงินใหยืมแกรัฐวิสาหกิจ บันทึกรับรูตามจํานวนเงินในสัญญากูเงิน
4.9 อาคารและอุปกรณ (สุทธิ) เปนสินทรัพยที่มีมูลคาตอหนวยตอชุดหรือตอกลุม ตั้งแต 30,000 บาท ขึ้นไปเฉพาะ
ที่ซื้อหรือไดมาตั้งแต ปงบประมาณ พ.ศ. 2540 - 2545 สําหรับรายการที่จัดซื้อหรือไดมาในปงบประมาณ พ.ศ. 2546
เปนตนไป จะรับรูเฉพาะที่มีมูลคาตั้งแต 5,000 บาท ขึ้นไป โดยแสดงราคาทุนหักดวยคาเสื่อมราคาสะสม
4.10 สินทรัพยไมมีตัวตน (สุทธิ) แสดงในราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสม
4.11 เจาหนี้ บันทึกรับรูเจาหนี้จากการซื้อสินคาหรือบริการ เมื่อหนวยงานไดตรวจรับสินคาหรือบริการจากผูขายแลว
แตยังไมไดชําระเงิน และสามารถระบุมูลคาสินคาหรือบริการไดชัดเจน
4.12 คาใชจายคางจาย เกิดขึ้นจากขอกําหนดของกฎหมาย ขอตกลงในสัญญา หรือจากบริการที่ไดรับ เชน เงินเดือน
หรือคาจางคางจาย คาใชจายดําเนินงานคางจายและดอกเบี้ยคางจาย เปนตน โดยการประมาณคาตามระยะเวลาที่เกิด
คาใชจายนั้นๆ สําหรับใบสําคัญคางจายจะรับรูเมื่อไดรับใบขอเบิกเงินจากขาราชการ พนักงานราชการ หรือลูกจาง รวมถึง
รายงานประจ�าป 2557
ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ
42
การรับใบสําคัญที่ทดรองจายจากเงินทดรองราชการ
4.13 รายไดรับลวงหนา บันทึกรับรูรายไดรับลวงหนา เมื่อไดรับเงินตามจํานวนการใชจายเงินรวมถึงการรับเงิน
สนับสนุน
4.14 เงินกูระยะสั้น เปนเงินกูที่กระทรวงการคลังกูในนามรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทย ซึ่งเปนสวนของงาน
หนี้สาธารณะ ประกอบดวย
1) เงินกูในประเทศ ไดแก เงินกูที่เกิดจากการออกตั๋วเงินคลัง (T- Bill) ตั๋วสัญญาใชเงินระยะสั้น (R-Bill และ
PN) เงินกูระยะสั้นจากสถาบันการเงิน และสวนที่จะครบกําหนดชําระภายในหนึ่งปของพันธบัตรรัฐบาลตั๋วสัญญาใชเงิน (PN)
และสัญญาเงินกูระยะยาว (Long Term Loan)
2) เงินกูตางประเทศ ไดแก ตั๋ว Euro Commercial Paper (ECP) และสวนที่จะครบกําหนดชําระภายในหนึ่งป
ของ Samurai Bond และเงินกูตามสัญญากูเงินที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศ
4.15 เงินกูระยะยาว เปนเงินกูที่กระทรวงการคลังกูในนามรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทย ซึ่งเปนสวนของงาน
หนี้สาธารณะ ประกอบดวย
1) เงินกูในประเทศ ไดแก เงินกูที่เกิดจากการออกตั๋วสัญญาใชเงิน สัญญาเงินกูระยะยาวจากสถาบันการเงิน
และพันธบัตร ซึ่งพันธบัตรรับรูตามมูลคาที่ตราไวหักหรือบวกดวยสวนเกินหรือสวนตํ่ากวามูลคาพันธบัตรที่เกิดขึ้นเมื่อมีการ
ออกจําหนายพันธบัตร และทยอยรับรูสวนเกินและสวนตํ่ากวามูลคาตามอายุพันธบัตรโดยวิธีเสนตรง
2) เงินกูตางประเทศ ไดแก เงินกูที่เกิดจากการออก Samurai Bond และเงินกูตามสัญญากูเงินที่เปนสกุลเงิน
ตราตางประเทศ
4.16 หนี้สาธารณะ หมายถึง หนี้ที่กระทรวงการคลัง หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือหนี้ที่กระทรวงการคลัง
คํ้าประกัน (คํ้าประกัน รวมถึงการอาวัลตั๋วเงิน) แตไมรวมถึงหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ทําธุรกิจใหกูยืมเงินโดยกระทรวงการคลัง
มิไดคํ้าประกัน การกูเงินจะทําเปนสัญญาหรือออกตราสารหนี้ก็ได
4.17 การแปลงคาเงินตราตางประเทศ ไดบันทึกสินทรัพยและหนี้สินที่เปนเงินตราตางประเทศตามวันที่เกิดรายการ
ดวยสกุลเงินตราตางประเทศนั้นๆ และแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ โดยสินทรัพยและ
หนี้สินคงเหลือ ณ วันจัดทํารายงาน หรือ ณ วันสิ้นปงบประมาณ ไดแปลงคาเงินตราตางประเทศของทรัพยสินและ
หนี้สินคงเหลือ โดยใชอัตราซื้อสําหรับสินทรัพย และอัตราขายสําหรับหนี้สิน ตามอัตราแลกเปลี่ยนอางอิงตามประกาศของ
ธนาคารแหงประเทศไทย กําไรหรือขาดทุนที่เกิดจากการแปลงคาดังกลาวรับรูเปนรายไดหรือคาใชจายจากอัตราแลกเปลี่ยน
4.18 ทุน รับรูเมื่อเริ่มปฏิบัติตามระบบบัญชีเกณฑคงคางซึ่งเกิดจากผลตางระหวางสินทรัพยและหนี้สิน
4.19 การรับรูรายได
4.19.1 รายไดจากเงินงบประมาณและเงินนอก
งบประมาณรับรูเมื่อไดรับอนุมัติคําขอเบิกจากกรมบัญชีกลาง
4.19.2 รายไดอื่น รับรูตามเกณฑคงคางเมื่อ
เกิดรายการ
4.20 คาใชจายบุคลากร คาใชจายในการดําเนินงาน
และคาใชจายงบกลาง รับรูเมื่อเกิดคาใชจาย
4.21 คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คํานวณ
โดยวิธีเสนตรงไมมีราคาซาก (ราคาซาก = 0) สินทรัพยที่
หมดอายุการใชงานแลวใหคงมูลคาไวในบัญชี 1 บาท
Annual Report 2014
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
43
จนกวาจะมีการจําหนายสินทรัพยออกจากระบบบัญชี การตีราคาสินทรัพย การคิดคาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนายไดกําหนด
ประเภทสินทรัพยและอายุการใชงานของสินทรัพยตางๆ ดังนี้
ประเภทสินทรัพย อายุการใชงาน (ป)
สวนปรับปรุงอาคาร 10
ครุภัณฑสํานักงาน 3 – 10
ครุภัณฑยานพาหนะ 5 – 15
ครุภัณฑเครื่องใชไฟฟาและวิทยุ 5 – 10
ครุภัณฑโฆษณาและเผยแพร 3 – 5
ครุภัณฑคอมพิวเตอร 3 – 5
โปรแกรมคอมพิวเตอร 5
หมายเหตุที่ 5 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด
(หน�วย : บาท)
เงินทดรองราชการ 1,250,000.00
เงินฝากคลัง 16,689,408,055.90
เงินฝากธนาคารแหงประเทศไทยจากเงินกูเพ�อการปรับโครงสรางหนี้ 10,326,524,484.46
เงินฝากธนาคารแหงประเทศไทยจากการกูเงินเพ�อชวยเหลือกองทุนฟนฟู 1,988,768,413.94
เงินฝากธนาคารแหงประเทศไทยเพ�อปรับโครงสรางหนี้เงินกูตามแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 3,843,445,329.11
เงินฝากธนาคารแหงประเทศไทยจากการกูเงินเพ�อการบริหารหนี้ 6,610,811,795.57
ปรับมูลคาเพ�อซื้อเงินฝากสกุลเงินตางประเทศ (68,133,469.42)
รวม เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด 39,392,074,609.56
เงินสดในมือ เปนเงินสดและเช็คธนาคาร นอกจากสวนที่หนวยงานถือไวเพื่อใชจายสําหรับการดําเนินงานปกติ
ตามวัตถุประสงคของหนวยงานแลว ยังรวมถึงสวนที่หนวยงานไดรับไวเพื่อรอนําสงคลังเปนรายไดแผนดินตามกฎหมาย
ซึ่งไมสามารถนําไปใชเพื่อประโยชนของหนวยงานได
เงินทดรองราชการ เปนเงินสดที่หนวยงานมีไวเพื่อใชจายเปนคาใชจายปลีกยอยในสํานักงานตามวงเงินที่ไดรับอนุมัติ
จากกระทรวงการคลัง ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยเงินทดรองราชการ พ.ศ. 2557 ซึ่งจะตองสงคืนคลังเมื่อ
หมดความจําเปนในการใชจาย เงินสด เงินฝากธนาคารและใบสําคัญที่เบิกจากเงินทดรองราชการแลวรอเบิกชดเชย
เงินฝากคลัง เปนเงินที่หนวยงานฝากไวกับกระทรวงการคลังภายใตขอกําหนดตามกฎหมาย โดยไมมีดอกเบี้ย
ซึ่งสามารถเบิกถอนไดเมื่อตองการใชจายตามรายการที่กําหนดไวในระเบียบที่ระบุขอจํากัดในการใชจาย
เงินฝากคลังจํานวน 16,689,408,055.90 บาท ซึ่งแสดงรวมอยูในเงินฝากคลังขางตนเปนเงินนอกงบประมาณที่มี
ขอจํากัดในการใชจายเพื่อจายตอไปใหบุคคลหรือหนวยงานอื่นตามวัตถุประสงคที่ระบุไวในกฎหมายอันเปนที่มาของเงินฝากคลัง
นั้น หนวยงานไมสามารถนําไปใชจายเพื่อประโยชนในการดําเนินงานของหนวยงานตามปกติได แตมีหนาที่ถือไวจาย
ตามวัตถุประสงคของเงินฝากคลัง ดังนี้
รายงานประจ�าป 2557
ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ
44
(หน�วย : บาท)
เงินฝากเก็บคาใชจายภาษีทองถิ่นของสํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ 10,785,851.00
เงินฝากเงินกูโครงการสงเสริมและยกระดับธรรมาภิบาล 190,800.00
เงินฝากสํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ (คาจางชั่วคราว) 480,978.37
เงินประกันสัญญา 364,892.83
เงินฝากเงินกูเพ�อปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจ 4,162.73
เงินฝากคาธรรมเนียมการคํ้าประกันและคาธรรมเนียมการใหกูตอ 7,916,212.80
เงินฝากเงินกูเพ�อปรับโครงสรางภาคราชการ 1 1,166,736,511.37
เงินฝากเงินกูเพ�อปรับโครงสรางภาคราชการ 2 1,109,080,401.27
เงินฝากเงินกูเพ�อสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงานของสวนราชการ 41,101,818.28
เงินฝากคลังไทยเขมแข็ง 11,981,127,582.98
เงินฝากเงินกูเพ�อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน 2,104,930,700.21
เงินฝากเพื่อการวางระบบบริหารจัดการนํ้าและสรางอนาคตประเทศ 266,688,144.06
รวม เงินฝากคลัง 16,689,408,055.90
หมายเหตุที่ 6 ลูกหนี้ระยะสั้น
(หน�วย : บาท)
ลูกหนี้เงินยืมในงบประมาณ 502,324.22
ลูกหนี้เงินยืมนอกงบประมาณ 613,745.78
รายไดคางรับ – ภาครัฐ 234,075,859.78
คางรับจากกรมบัญชีกลาง 542,393.50
รวม ลูกหนี้ระยะสั้น 235,734,323.28
ลูกหนี้เงินยืม ณ 30 กันยายน 2557 แยกตามอายุหนี้ดังนี้
(หน�วย : บาท)
ลูกหนี้เงินยืม ยังไมถึงกําหนด
ชําระและการสง
ใชใบสําคัญ
ถึงกําหนดชําระ
และการสงใช
ใบสําคัญ
เกินกําหนดชําระ
และการสงใช
ใบสําคัญ
รวม
2557 859,770.00 - 256,300.00 1,116,070.00
หมายเหตุที่ 7 สินทรัพยหมุนเวียนอื่น
(หน�วย : บาท)
คาใชจายจายลวงหนา 461,581.20
ดอกเบี้ยจายลวงหนา – ตั๋วเงินคลัง 1,506,049,917.50
รวม สินทรัพยหมุนเวียนอ�น 1,506,511,498.70
Annual Report 2014
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
45
ดอกเบี้ยจายลวงหนา จํานวน 1,506,511,498.70 บาท เกิดจากการประมูลขายตั๋วเงินคลังและตั๋วสัญญาใชเงิน
ระยะสั้น ซึ่งเมื่อครบกําหนดจะจายคืนผูซื้อตามมูลคาหนาตั๋ว ผลตางระหวางราคาขายและมูลคาหนาตั๋วบันทึกเปนดอกเบี้ย
จายลวงหนา โดย สบน. จะบันทึกตัดบัญชีดอกเบี้ยจายลวงหนารับรูเปนดอกเบี้ยจาย
หมายเหตุที่ 8 เงินใหกูยืมระยะยาว
(หน�วย : บาท)
เงินใหกูยืมระยะยาว – หน�วยงานภาครัฐ 1,135,000,000.00
เงินใหกูยืมระยะยาว – รัฐวิสาหกิจ 1,411,753,815,515.58
พักปรับมูลคาเงินใหกูระยะยาว 35,639,072.92
รวม ลูกหนี้ระยะสั้น 1,412,924,454,588.50
เงินใหกูยืมระยะยาวเปนเงินใหกูตอกับรัฐวิสาหกิจ และหนวยงานของรัฐ มี 3 ลักษณะ
1. การใหกูตอจากเงินงบประมาณ การบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS เมื่อหนวยงานที่กูเงินรับเงินจากกรมบัญชีกลาง
สบน. จะบันทึกรับรูเงินใหกูยืมระยะยาว - รัฐวิสาหกิจคูกับบัญชีหนี้สินไมหมุนเวียนอื่น และเมื่อรับชําระหนี้จากลูกหนี้ บันทึก
การรับเงินคูกับบัญชีรายไดจากรัฐวิสาหกิจชําระหนี้เงินใหกูตอ พรอมกับบันทึกลดยอดบัญชีเงินใหกูยืมระยะยาว - รัฐวิสาหกิจ
คูกับบัญชีหนี้สินไมหมุนเวียนอื่น
2. การใหกูโดยตรงจากแหลงเงินกู การบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS เมื่อหนวยงานลูกหนี้ผูกูไดรับเงินกูจากแหลง
เงินกูโดยตรง
3. การใหกูตอจากเงินกูเพื่อปรับโครงสรางหนี้ทางเศรษฐกิจ (SAL) เปนเงินกูยืมที่กระทรวงการคลังซึ่งสํานักงาน
บริหารหนี้สาธารณะไดทําความตกลงในการกูกับสํานักงานสงเสริมกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ โดยคณะรัฐมนตรี
ไดมีมติอนุมัติใหนําเงินกูเพื่อปรับโครงสรางหนี้ทางเศรษฐกิจ (SAL) เพื่อสนับสนุนภารกิจของสํานักงานสงเสริมสังคม
แหงการเรียนรูและคุณภาพเยาวชน (สสค.)
การบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS เมื่อหนวยงานที่กูเงินรับเงินจากกรมบัญชีกลาง สบน. จะบันทึกรับรูเงินใหกูระยะยาว
– หนวยงานภาครัฐ คูกับบัญชีพักเงินใหยืม / เงินใหกู และเมื่อรับชําระหนี้จากลูกหนี้ บันทึกการรับชําระเงินคูกับบัญชีพักเงิน
ใหยืม / เงินใหกู
ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 เงินใหกูระยะยาวแกรัฐวิสาหกิจมียอดคงเหลือจํานวน 1,411,789,454,588.50 บาท
ประกอบดวย
เงินตราตางประเทศ อัตราแลกเปลี่ยน จํานวนเงิน (บาท)
ดอลลารสหรัฐ USD 500,000,000.00 32.1376 16,068,800,000.00
ยูโร EUR 86,771.56 40.6624 3,528,339.88
ดอลลารแคนาดา CAD 10,055,710.13 28.6941 288,539,552.04
เยน JPY 45,424,144,142.00 29.2317 1,327,824,954,315.70
บาท 67,603,632,380.88
รวม เงินใหกูระยะยาวแกรัฐวิสาหกิจ 1,411,789,454,588.50
รายงานประจ�าป 2557
ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ
46
เงินใหกูระยะยาวแกรัฐวิสาหกิจที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศ ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 แปลงคาโดยใชอัตราซื้อ
ถัวเฉลี่ยทางโทรเลขตามประกาศอัตราแลกเปลี่ยนอางอิงของธนาคารแหงประเทศไทย ณ วันที่ 30 กันยายน 2557
เงินใหกูระยะยาวแกรัฐวิสาหกิจ จําแนกตามแหลงเงินใหกู ไดดังนี้
(หน�วย : บาท)
ธนาคารเพ�อการเกษตรและสหกรณการเกษตร 14,999,300.00
บริษัทหองปฏิบัติการกลางตรวจสอบผลิตภัณฑ 1,340,941,136.51
การไฟฟาฝายผลิต 82,023,671.92
เทศบาลนครราชสีมา 61,681,117.48
องคการอุตสาหกรรมหองเย็น 402,205,819.57
ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) 1,173,778.61
การไฟฟาสวนภูมิภาค 3,438,539,552.04
บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 16,068,800,000.00
การทางพิเศษแหงประเทศไทย 16,378,898,157.36
การรถไฟขนสงมวลชนแหงประเทศไทย 43,199,413,061.23
การรถไฟแหงประเทศไทย 1,330,800,778,993.78
รวม เงินใหกูระยะยาวแกรัฐวิสาหกิจ 1,411,789,454,588.50
ในรายการเงินใหกูระยะยาวแกรัฐวิสาหกิจนี้มีลูกหนี้ที่ผิดนัดชําระหนี้ 2 ราย ไดแก
(หน�วย : บาท)
องคการอุตสาหกรรมหองเย็น (อยูระหวางชําระบัญชี) 402,205,819.57
ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) 1,173,778.61
รวม ลูกหนี้ที่ผิดนัดชําระหนี้ 403,379,598.18
หมายเหตุที่ 9 เงินลงทุนระยะยาว
เงินลงทุนระยะยาว จํานวน 72,206,266.35 บาท เปนเงินลงทุนทั่วไปโดยกระทรวงการคลังลงทุนในกองทุนรวม
เพื่อการรวมลงทุน มีวัตถุประสงคระดมทุนจากตางประเทศและในประเทศ เพื่อลงทุนในวิสาหกิจขนาดใหญในประเทศ
โดยเนนการดําเนินการรวมกันระหวางกระทรวงการคลังกับบรรษัททางการเงินระหวางประเทศ ซึ่งใชเงินกูเพื่อปรับโครงสราง
ทางเศรษฐกิจ จํานวน 2,161,670.10 เหรียญสหรัฐ
Annual Report 2014
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
47
หมายเหตุที่ 10 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ
(หน�วย : บาท)
ที่ดิน -
อาคารและสิ่งปลูกสราง 3,875,000.00
หัก คาเส�อมราคาสะสม-อาคารและสิ่งปลูกสราง (1,308,652.95)
อาคารและสิ่งปลูกสราง-สุทธิ 2,566,347.05
ครุภัณฑ 159,591,506.16
หัก คาเส�อมราคาสะสม-ครุภัณฑ (118,472,087.02)
ครุภัณฑ-สุทธิ 41,119,419.14
รวม ที่ดิน อาคารและอุปกรณ-สุทธิ 43,685,766.19
สบน. ใชอาคารสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ชั้น 4 และ 5 เปนที่ตั้งสํานักงาน โดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลังใชพื้นที่
ของที่ราชพัสดุ
หมายเหตุที่ 11 สินทรัพยไมมีตัวตน
(หน�วย : บาท)
สินทรัพยไมมีตัวตน 45,100,879.00
หัก ตัดจําหน�ายสะสม-สินทรัพยไมมีตัวตน (41,105,704.76)
สินทรัพยไมมีตัวตน-สุทธิ 3,995,174.24
สินทรัพยไมมีตัวตนอ�น 7,415,348.50
หัก ตัดจําหน�ายสะสม-สินทรัพยไมมีตัวตนอ�น (4,727,709.17)
สินทรัพยไมมีตัวตนอ�น-สุทธิ 2,687,639.33
รวม สินทรัพยไมมีตัวตน 6,682,813.57
หมายเหตุที่ 12 เจาหนี้ระยะสั้น
(หน�วย : บาท)
เจาหนี้การคา 10,261,342.92
เจาหนี้อ�น 83,952.61
ดอกเบี้ยคางจาย 36,007,532,382.90
ดอกเบี้ยจายรอตัดชําระ 2,090,029,368.34
คาสาธารณูปโภคคางจาย 224,408.40
ใบสําคัญคางจาย 533,452.00
รวม เจาหนี้ระยะสั้น 38,108,664,907.17
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (11)

Aredes, carina
Aredes, carinaAredes, carina
Aredes, carina
 
Topicos selectos de ingenieria 14
Topicos selectos de ingenieria 14Topicos selectos de ingenieria 14
Topicos selectos de ingenieria 14
 
Zap brochure
Zap brochureZap brochure
Zap brochure
 
3Com 655-0002-11 REV: A
3Com 655-0002-11 REV: A3Com 655-0002-11 REV: A
3Com 655-0002-11 REV: A
 
Yourprezi d2u prueba 1 Javier
Yourprezi d2u prueba 1 JavierYourprezi d2u prueba 1 Javier
Yourprezi d2u prueba 1 Javier
 
El anime
El animeEl anime
El anime
 
3Com 3COM SWITCH 5 3CFSU0
3Com 3COM SWITCH 5 3CFSU03Com 3COM SWITCH 5 3CFSU0
3Com 3COM SWITCH 5 3CFSU0
 
3Com 3COM WAKEONLAN CABLE
3Com 3COM WAKEONLAN CABLE3Com 3COM WAKEONLAN CABLE
3Com 3COM WAKEONLAN CABLE
 
Quimica 9101
Quimica 9101Quimica 9101
Quimica 9101
 
Italy Book
Italy BookItaly Book
Italy Book
 
Esfuerzo y deformacion
Esfuerzo y deformacionEsfuerzo y deformacion
Esfuerzo y deformacion
 

PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80

  • 2. รายงานประจ�าปี 2557 ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ 28 ผลการปฏิบัติราชการประจ�าปีงบประมาณ 2557 ตามแผนยุทธศาสตร์ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) มีหนาที่หลัก ในการบริหารจัดการหนี้สาธารณะของประเทศ โดยการ วางแผน กํากับ และดําเนินการกอหนี้ใหม การบริหารหนี้เดิม และการชําระหนี้ เพื่อใหสอดคลองกับสถานะการเงิน การคลังของประเทศ และอยูภายใตกรอบความเสี่ยงที่เหมาะสม รวมทั้งอยูภายใตกรอบความยั่งยืนทางการคลัง ที่กําหนดให สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ไมเกินรอยละ 60 และ ภาระหนี้ตองบประมาณ ไมเกินรอยละ 15 1. การดําเนินงานตามแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําปงบประมาณ 2557 ในปงบประมาณ 2557 คณะรัฐมนตรีไดมีมติอนุมัติ ตารางที่ 1 : ผลการดําเนินงานตามแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําปงบประมาณ 2557 รายการ แผน ผลการดําเนินงาน รอยละ ของแผน 1. แผนการกอหนี้ใหม 463,941.99 404,149.29 87.11 1.1 รัฐบาล 280,701.00 273,484.00 97.43 1.2 รัฐวิสาหกิจ 183,240.99 130,665.29 71.31 2. แผนการปรับโครงสรางหนี้ 643,246.15 640,184.98 99.52 2.1 รัฐบาล 462,258.74 460,035.74 99.52 2.2 รัฐวิสาหกิจ 180,987.41 180,149.24 99.54 3. แผนการบริหารความเสี่ยง 128,805.88 31,335.80 24.33 3.1 รัฐบาล 53,360.49 - - 3.2 รัฐวิสาหกิจ 75,445.39 31,335.80 41.53 4. แผนการบริหารหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไมตองขอ อนุมัติภายใตกรอบแผนฯ 74,022.07 61,602.57 83.22 4.1 การกอหนี้ใหม 50,941.74 58,325.78 114.50 4.2 การบริหารหนี้ 23,080.33 3,276.79 14.20 รวม (1-4) 1,310,016.10 1,137,272.64 86.81 ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการหนี้สาธารณะในเชิงรุก (Pro-active Debt Management) และรับทราบแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําป งบประมาณ 2557 รวมทั้งการปรับปรุงแผนระหวางปรวม 2 ครั้ง มีวงเงินดําเนินการ 1,310,016.10 ลานบาท ซึ่งประกอบดวย 4 แผนงานยอย ไดแก (1) แผนการกอหนี้ใหม (2) แผนการปรับโครงสรางหนี้ (3) แผนการบริหารความเสี่ยง (4) แผนการบริหารหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไมตอง ขออนุมัติภายใตกรอบแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําป งบประมาณ โดย ณ สิ้นปงบประมาณ 2557 สามารถ ดําเนินการตามแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําป งบประมาณ 2557 ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
  • 3. Annual Report 2014 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE 29 2. การบริหารความเสี่ยงของหนี้สาธารณะ เนื่องจากในปจจุบันการดําเนินนโยบายของรัฐบาล ที่ใหความสําคัญตอนโยบายในการพัฒนาประเทศโดย การลงทุนจากภาครัฐ แตดวยขอจํากัดของรายไดที่ไมเพียงพอ ตอรายจายภาครัฐ จึงจําเปนตองกอหนี้สาธารณะ สงผลให หนี้สาธารณะมีแนวโนมที่จะเพิ่มสูงขึ้น ซึ่ง สบน. จําเปนตอง มีการบริหารหนี้และบริหารความเสี่ยง โดยมีเปาหมายเพื่อลด ตนทุนและความเสี่ยงของหนี้ในประเทศและหนี้ตางประเทศ ใหอยูภายใตกรอบความเสี่ยงที่เหมาะสม และยอมรับได รวมทั้งอยูภายใตกรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยในป งบประมาณ 2557 สามารถบริหารความเสี่ยงไดวงเงินทั้งสิ้น 60,381.40 ลานบาท และทําใหสามารถลดภาระดอกเบี้ย ไดประมาณ 6,021.30 ลานบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้ (1) การบริหารความเสี่ยงหนี้ของรัฐบาล หนี้ในประเทศ วงเงินรวม 3,619.00 ลานบาท โดยเปนการชําระหนี้คืนกอนครบกําหนดของตั๋วสัญญา ใชเงินเพื่อปรับโครงสรางหนี้ของรัฐบาล ซึ่งทําใหสามารถ ประหยัดดอกเบี้ยไดรวม 403.89 ลานบาท (2) การบริหารความเสี่ยงหนี้ของรัฐวิสาหกิจ หนี้ในประเทศ รัฐวิสาหกิจ 3 แหง (ธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร การเคหะแหงชาติ และ ธนารักษพัฒนาสินทรัพย) ชําระหนี้กอนครบกําหนด จํานวน 29,083.40 ลานบาท ทําใหสามารถลดภาระดอกเบี้ยได 620.41 ลานบาท หนี้ตางประเทศ โดยแปลงหนี้เงินกูจากสกุล เงินเยนเปนสกุลเงินบาท (Cross Currency Swap) ของ การรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย (รฟม.) จํานวน 27,679.00 ลานบาท (87,918.50 ลานเยน) ทําใหประหยัด ดอกเบี้ยได 4,997.00 ลานบาท 3. การจัดทําแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําป งบประมาณ 2558 สบน. ไดจัดทําแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําป งบประมาณ 2558 ซึ่งแผนดังกลาวเปนแผนที่แสดงใหเห็น ภาพรวมของการกอหนี้ใหมและการบริหารหนี้เดิมของทั้ง สวนราชการและรัฐวิสาหกิจในรอบระยะเวลา 1 ปงบประมาณ เพื่อกําหนดทิศทางและแนวทางการดําเนินงานดาน หนี้สาธารณะในปงบประมาณ 2558 ใหสอดคลองกับ ยุทธศาสตร ตลอดจนนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศ รวมทั้งมีความเหมาะสมภายใตกรอบความยั่งยืน ทางการคลัง โดยไดเสนอแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําปงบประมาณ 2558 พรอมผลสัมฤทธิ์ที่คาดวาจะไดรับ และผลกระทบจากการดําเนินการตามแผนฯ ตอคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2557 และคณะรัฐมนตรีไดมีมติอนุมัติ และรับทราบแผนฯ ป 2558 เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2557 4. หนี้สาธารณะคงคางตอผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ ณ ราคาประจําป ณ สิ้นเดือนกันยายน 2557 มียอดหนี้สาธารณะ คงคาง มีจํานวน 5,690,814.15 ลานบาท หรือคิดเปน รอยละ 47.18 ของ GDP โดยแบงเปนหนี้ของรัฐบาล 3,965,455.04 ลานบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบัน การเงิน 1,087,393.91 ลานบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบัน การเงิน (รัฐบาลคํ้าประกัน) 626,508.18 ลานบาท และ หนี้หนวยงานอื่นของรัฐ 11,457.02 ลานบาท โดยมี รายละเอียดปรากฏตามแผนภาพที่ 1 และตารางที่ 2 ตามลําดับ
  • 4. รายงานประจ�าปี 2557 ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ 30 ตารางที่ 2 : รายงานหนี้สาธารณะคงคาง ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 1. หนี้ของรัฐบาล (1.1+1.2+1.3) 3,965,455.040 1.1 หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง 2,891,603.190 - หนี้ตางประเทศ 75,184.660 - หนี้ในประเทศ 2,816,418.530 - เงินกูชดเชยการขาดดุลงบประมาณ และการบริหารหนี้ 2,366,370.000 - พันธบัตรโครงการชวยเพิ่มเงินกองทุน 0.000 - เงินกูเพ�อการปรับโครงสรางหนี้ตางประเทศ 0.000 - เงินกูเพ�อฟนฟูและเสริมสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจ 373,483.290 - เงินกูเพ�อนําเขากองทุนสงเสริมการประกันภัย 0.000 - เงินกูเพื่อวางระบบบริหารจัดการนํ้า 22,200.000 - เงินกูใหกูตอ 37,908.570 - เงินกูเพื่อปรับโครงสรางหนี้ตางประเทศที่กระทรวงการคลังคํ้าประกัน 11,416.670 - เงินกูเพ�อใชในการดําเนินโครงการเงินกู DPL 5,040.000 หนี้หนวยงานอื่นของรัฐ 0.20% หนี้ของรัฐบาล (เพื่อชดใชความเสียหายของ FIDF) 18.87% หนี้รัฐบาลกูโดยตรง 50.81% หนี้รัฐวิสาหกิจ ที่ไมเปนสถาบันการเงิน 19.11% หนี้รัฐวิสาหกิจ ที่เปนสถาบันการเงิน (รัฐบาลคํ้าประกัน) 11.01% แผนภาพที่ 1 สัดสวนหนี้สาธารณะ
  • 5. Annual Report 2014 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE 31 1.2 หนี้ที่รัฐบาลกูเพ�อชดใชความเสียหายใหแกกองทุนเพ�อการฟนฟูฯ 1,073,851.850 - FIDF 1 449,138.510 - FIDF 3 624,713.340 1.3 หนี้เงินกูลวงหนาเพ�อปรับโครงสรางหนี้ 0.000 - หนี้เงินกูเพ�อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ 0.000 - หนี้เงินกูเพ�อชดใชความเสียหายใหแกกองทุนเพ�อการฟนฟูฯ 0.000 - FIDF 1 0.000 - FIDF 3 0.000 2. หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน (2.1+2.2) 1,087,393.910 2.1 หนี้ที่รัฐบาลคํ้าประกัน 425,896.850 - หนี้ตางประเทศ 107,511.790 - หนี้ในประเทศ 318,385.060 2.2 หนี้ที่รัฐบาลไมคํ้าประกัน 661,497.060 - หนี้ตางประเทศ 172,586.480 - หนี้ในประเทศ 488,910.580 3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน (รัฐบาลคํ้าประกัน) (3.1+3.2) 626,508.180 3.1 หนี้ตางประเทศ 2,894.780 3.2 หนี้ในประเทศ 623,613.400 4. หนี้กองทุนเพ�อการฟนฟูฯ (4.1+4.2) 0.000 4.1 หนี้ที่รัฐบาลคํ้าประกัน 0.000 4.2 หนี้ที่รัฐบาลไมคํ้าประกัน 0.000 5. หนื้หน�วยงานอ�นของรัฐ (5.1+5.2) 11,457.020 5.1 หนี้ที่รัฐบาลคํ้าประกัน 0.000 5.2 หนี้ที่รัฐบาลไมคํ้าประกัน 11,457.020 รวม 5,690,814.150 Debt : GDP 47.18 GDP ของปงบประมาณ 2557 12,061,096.00 อัตราแลกเปลี่ยน 32.5161
  • 6. รายงานประจ�าปี 2557 ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ 32 ตารางที่ 3 : ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อใชสรางอัตราดอกเบี้ยอางอิงในปงบประมาณ 2557 หนวย : ลานบาท ประเภทรุน ช�อรุน วงเงินที่ประกาศ วงเงินที่ไดรับจัดสรร 5 ป LB196A 120,000 120,000 10 ป LB236A 82,000 82,000 15 ป LB296A 56,000 52,534 30 ป LB446A 52,000 52,000 50 ป LB616A 51,000 46,937 รวม 361,000 353,471 สบน. มีบทบาทที่สําคัญในการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ ใหเปน 1 ใน 3 เสาหลักทางการเงิน โดยปจจุบันขนาดของตลาด พันธบัตรมีมูลคาประมาณ 9,297,234 ลานบาท หรือคิดเปน ประมาณรอยละ 76 ของ GDP ซึ่ง สบน. ไดมีสวนรวมในการ พัฒนาตลาดตราสารหนี้เพื่อใหมีขนาดใกลเคียงกับ ตลาดการเงินอื่นๆ (ตลาดทุน 101% และ ตลาดสินเชื่อ ธนาคารพาณิชย 106%) โดยผานการออกตราสารหนี้ ของรัฐบาล ซึ่ง ณ สิ้นป 2557 ตราสารหนี้ของรัฐบาล มีมูลคารวมประมาณ 3,479,588 ลานบาท สบน. ไดกําหนด กลยุทธในการออกตราสารหนี้ของรัฐบาลในแตละปโดย คํานึงถึงปจจัยหลัก 4 ประการ คือ (1) ระดมทุนอยางไรใหไดวงเงินครบตามวงเงินที่ ตองการ (2) ระดมทุนอยางไรใหไดตนทุนที่เหมาะสม (3) ระดมทุนอยางไรใหมีความเสี่ยงตํ่า (4) ระดมทุนอยางไรใหเปนไปในวิถีทางที่เอื้อตอการ พัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ โดยวางแผนการออกตราสารหนี้ใหสอดคลองกับ ความตองการใชเงินกูตามแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําปงบประมาณ พรอมทั้งกําหนดรูปแบบและวิธีการ รวมทั้งเครื่องมือในการระดมทุน โดยมีพันธบัตรรัฐบาลเพื่อ ใชสรางอัตราดอกเบี้ยอางอิง (Benchmark Bond) เปน เครื่องมือหลักในการระดมทุน รวมทั้งพิจารณาเพิ่มวงเงิน พันธบัตรในแตละรุนใหมีขนาดใหญขึ้นเพียงพอที่จะทําใหเกิด สภาพคลองในตลาดรองได รวมทั้งไดมีการหารือ และชี้แจง กับผูรวมตลาดและนักลงทุนใหไดรับทราบแนวทางการระดม ทุนของรัฐบาลอยางสมํ่าเสมอ โดยผานการประชุม Market Dialogue ซึ่งจะจัดเปนรายไตรมาส และประจําป รวมทั้ง ไดมีการกําหนดแผนการกูเงิน และประกาศตารางการประมูล พันธบัตรเปนรายไตรมาส พรอมทั้งมีการประมูลพันธบัตร อยางตอเนื่อง ตลอดจนมีการพัฒนาเครื่องมือการระดมทุน ในรูปแบบใหมๆ ใหสอดคลองกับความตองการระดมทุน และตอบโจทยความตองการของนักลงทุนที่หลากหลาย เชน พันธบัตรรัฐบาลประเภททยอยชําระคืนเงินตน (Amortized Bond : LBA) เปนตน 1. การออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อใชสรางอัตราดอกเบี้ย อางอิง (Benchmark Bond) ปงบประมาณ 2557 สบน. สามารถออกพันธบัตร รัฐบาลเพื่อใชเปนอัตราดอกเบี้ยอางอิง โดยแบงตามรุนอายุได ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศใหเปนเสาหลักทางการเงิน เพื่อเสริมสรางความแข็งแกรงของระบบการเงิน
  • 7. Annual Report 2014 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE 33 2. การออกพันธบัตรออมทรัพยเพื่อรายยอยพิเศษ สบน. ไดพัฒนาพันธบัตรออมทรัพย (Saving Bond) ใหเปนเครื่องมือในการสงเสริมใหสังคมไทยเขาสูสังคมแหง การออมอยางแทจริง และเปนทางเลือกในการออมที่มี คุณภาพใหกับประชาชนที่มีรายไดนอยสามารถเขาถึงไดอยาง สะดวก โดยไดพัฒนาชองทางการจําหนายพันธบัตรออมทรัพย ผานเคานเตอรธนาคาร และเครื่องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ตลอด 24 ชั่วโมง ของธนาคารตัวแทนจําหนาย 4 แหง ไดแก ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) และธนาคาร (2) พันธบัตรออมทรัพยของกระทรวงการคลังเพื่อ รายยอยพิเศษปงบประมาณ พ.ศ. 2557 ครั้งที่ 2 รุนอายุ 3 ป อัตราดอกเบี้ยรอยละ 3.25 ตอป เปดจําหนายระหวาง วันที่ 8 พฤษภาคม - 29 สิงหาคม 2557 โดยสามารถ จัดจําหนายได 4,000 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 100 ของ วงเงินตามแผน (3) พันธบัตรออมทรัพยของกระทรวงการคลังเพื่อ รายยอยพิเศษปงบประมาณ พ.ศ. 2557 ครั้งที่ 3 เปด จําหนายระหวางวันที่15 กรกฎาคม 2557 - 25 กรกฎาคม 2557 ตารางที่ 4 : ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลประเภทนวัตกรรม ในปงบประมาณ 2557 หนวย : ลานบาท ประเภท ช�อรุน วงเงินประกาศประมูล วงเงินจัดสรร Inflation Linked-Bond - รุนอายุ 15 ป ILB283A 25,000 22,730 Amortized Bond - รุนอายุ 25 LBA37DA 61,000 61,000 รวม 86,000 83,730 ไทยพาณิชยจํากัด (มหาชน) รวมทั้งเปนตราสารหนี้แบบ ไรใบตราสาร (Scripless) โดยจะมีสมุดพันธบัตร หรือ Bond Book ในการจัดเก็บขอมูลใหแกผูซื้อ และผูซื้อสามารถลงทุน ไดในวงเงินซื้อขั้นตํ่าจํานวน 1,000 บาท และวงเงินซื้อขั้นสูง 2,000,000 ลานบาท ในปงบประมาณ 2557 ไดวางแผน จําหนายพันธบัตรออมทรัพยเพื่อรายยอยพิเศษ จํานวน 2 รุน วงเงินรวมรุนละไมเกิน 4,000 ลานบาท และมีผล การจําหนาย ดังนี้ (1) พันธบัตรออมทรัพยของกระทรวงการคลังเพื่อ รายยอยพิเศษปงบประมาณ พ.ศ. 2557 ครั้งที่ 1 รุนอายุ 3 ป อัตราดอกเบี้ยรอยละ 3.85 ตอป เปดจําหนายระหวาง วันที่ 2 ธันวาคม 2556-31 มีนาคม 2557 โดยสามารถ จัดจําหนายได 4,000 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 100 ของวงเงินตามแผน - รุนอายุ 7 ป อัตราดอกเบี้ยรอยละ 4.25 ตอป โดยสามารถจัดจําหนายได 11,835.55 ลานบาท หรือคิดเปน รอยละ 39.45 ของวงเงินตามแผน - รุนอายุ 10 ป อัตราดอกเบี้ยรอยละ 4.75 ตอป โดยสามารถจัดจําหนายได 18,164.45ลานบาท หรือคิดเปน รอยละ 60.55 ของวงเงินตามแผน
  • 8. รายงานประจ�าปี 2557 ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ 34 3. การออกพันธบัตรรัฐบาลประเภททยอยชําระคืนเงินตน (Amortized Bond : LBA) สบน. ไดพัฒนาเครื่องมือการระดมทุนชนิดใหมเพื่อ พัฒนาตลาดตราสารหนี้ โดยการออกพันธบัตรรัฐบาล ประเภททยอยชําระคืนเงินตน (Amortized Bond) ซึ่งพันธบัตรดังกลาวมีเงื่อนไขที่แตกตางจากพันธบัตร Benchmark ปรกติของรัฐบาล เนื่องจาก Amortized Bond มีการทยอยชําระคืนเงินตนในชวง 5 ปสุดทายของอายุ ตราสาร ปละเทาๆกัน (รอยละ 20 ของเงินตนตอป) โดย กําหนดให Amortized Bond มีอายุยาวถึง 25 ป แมพันธบัตร รุนนี้จะเปนสกุลเงินบาทและมีอายุยาวถึง 25 ป รวมทั้ง มีเงื่อนไขและรูปแบบใหม โดยที่รัฐบาลไทยเปนประเทศแรก ใน ASEAN ที่ออก Amortized Bond ในสกุลเงินทองถิ่น อายุยาวที่สุดและวงเงินใหญที่สุด แตพันธบัตรดังกลาวก็ไดรับ การตอบรับจากนักลงทุนเปนอยางดี โดย สบน. รวมกับ ธนาคารตัวแทนจําหนาย ทั้ง 3 แหง คือ ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ธนาคารดอยซแบงก ธนาคารฮองกงและ เซี่ยงไฮแบงกิ้งคอรปอเรชั่น จํากัด สามารถประมูลพันธบัตร ดังกลาวไดเต็มจํานวนที่วางแผนไว คือ 61,000 ลานบาท ไดรับจัดสรร 61,000 ลานบาท 4. การออกพันธบัตรอัตราดอกเบี้ยแปรผันตามการ เปลี่ยนแปลงของเงินเฟอ (Inflation Linked Bond : ILB) อายุ 15 ป การออก ILB ครั้งแรกของประเทศไทย โดยการออก ในครั้งนี้มีจุดประสงคหลัก ในการริเริ่มพัฒนาสรางเสนอัตรา ผลตอบแทนอางอิงของ Inflation Linked Bond (ILB Government Bond Yield Curve) เพื่อที่ในอนาคต ประเทศไทยจะไดมีเสน Yield Curve ของ ILB ที่ยาวคูขนาน กับ Yield Curve ของ Benchmark Bond โดยปจจุบัน Benchmark Bond ของรัฐบาลยาวที่สุดถึง 50 ป ในการนี้ สบน. มีแผนที่จะออก ILB รุนอายุอื่นๆ อยางตอเนื่องทุกป และคาดวาภายในป พ.ศ. 2558 ที่ประเทศไทยจะเขาสูการ เปนประชาคมอาเซียนอาจจะมีการพัฒนา ILB ไปถึงรุนอายุ 30 ป นอกจากนี้ การสรางสภาพคลองใหกับ ILB ถือเปน ปจจัยสําคัญในการพัฒนา ILB ใหเปนที่นิยมและเปนอัตรา อางอิงที่มีเสถียรภาพ ซึ่ง สบน. ไดหารือกับผูคาหลักสําหรับ ธุรกรรมประเภทซื้อขายขาดของกระทรวงการคลัง (MOF Outright Primary Dealer : PD) ทั้ง 13 ราย ของกระทรวง การคลังใหทําหนาที่สรางสภาพคลองในตลาดรองดวย โดย ณ สิ้นปงบประมาณ 2557 มีการประมูล ILB รุน 15 ป วงเงิน 25,000 ลานบาท ไดรับจัดสรร 22,730 ลานบาท การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศอยางมี ประสิทธิภาพสงผลใหโครงสรางของหนี้ที่รัฐบาลกูตรง ดีขึ้น อยางเห็นไดชัด ดังนี้ 1) ยืดระยะเวลาเฉลี่ยที่หนี้จะครบ กําหนด (Average time to Maturity) 2) ตนทุนการกูเงิน เฉลี่ยลดลง 3) สรางสมดุลระหวางสัดสวนอัตราดอกเบี้ยแบบ ลอยตัว (Floating) และอัตราดอกเบี้ยแบบคงที่ (Fixed) และ 4) การกระจายโครงสรางอายุหนี้คงเหลือที่จะครบ กําหนดชําระ (Maturity Profile)
  • 9. Annual Report 2014 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE 35 สบน. ถือเปนหนวยงานขนาดเล็ก มีบุคลากรประมาณ 240 คน (ขาราชการประมาณ 160 คน พนักงานราชการและ ลูกจางชั่วคราวประมาณ 80 คน) ซึ่งถือวาบุคลากรของ สบน. มีภาระรับผิดชอบที่สูง เนื่องจากตองดูแลและบริหารจัดการ หนี้สาธารณะจํานวนสูงถึง 5 ลานลานบาท ดังนั้น จึงจําเปน ตองมีระบบการพัฒนาและบริหารบุคลากร เพื่อรักษาคนดี และคนเกงใหอยูกับองคกร รวมทั้งพัฒนาระบบการบริหาร จัดการองคกรที่มีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาองคกรใหไปสู องคกรที่มีสมรรถนะสูง และสามารถตอบสนองตอ ความตองการของผูรับบริการไดเปนอยางดี โดยในป งบประมาณ พ.ศ. 2557 มีโครงการสําคัญ ดังนี้ 1. การบริหารอัตรากําลังและการปรับปรุงโครงสราง องคกร จากบริบทของการบริหารงานภาครัฐที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งภารกิจที่เพิ่มขึ้นจากการดําเนินนโยบายตางๆ ของ ภาครัฐ สงผลกระทบตอการดําเนินงานของ สบน. ดังนั้น สบน. จึงไดมีการศึกษาแนวทางการพัฒนาหนวยงานเพื่อ รองรับการเปลี่ยนแปลงดังกลาว โดยมีการศึกษาแนวทาง การปรับปรุงโครงสรางองคกรและทรัพยากรบุคคลใหสะทอน และรองรับบทบาทภารกิจที่มีความยากและเพิ่มมากขึ้น ซึ่ง รวมถึงการจัดรูปแบบและกระบวนการทํางาน การบริหาร อัตรากําลังและตําแหนงที่เหมาะสมกับการขับเคลื่อนองคกร เพื่อเตรียมพรอมสําหรับอนาคต เชน ภารกิจในดานการ ติดตามและประเมินผลโครงการเงินกู ภารกิจดานการพัฒนา ตลาดตราสารหนี้ในเชิงลึก และการบริหารความเสี่ยง เปนตน โดยในการศึกษาดังกลาวไดมีการคํานึงถึง ความกาวหนาของบุคลากร ความมีประสิทธิภาพในการ บริหารงาน และความคุมคาในเชิงภารกิจดวย รวมทั้ง ไดมีการจัดรับฟงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงโครงสราง จากบุคลากรภายใน รวมทั้งผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย ดวย ในปงบประมาณ 2557 สบน. ไดมีการปรับเปลี่ยน โครงสรางขององคกร โดยมีการจัดตั้งหนวยงานระดับสํานัก เพิ่ม จํานวน 1 สํานัก ซึ่งไดแก สํานักบริหารและประเมินผล โครงการลงทุนภาครัฐ เพื่อใหการบริหารและประเมินผล โครงการฯ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และบรรลุ วัตถุประสงคที่วางไว สําหรับการพัฒนาบุคลากร นอกจากนี้ สบน. ไดมี หลักสูตรตางๆ ทั้งที่ไดจัดขึ้นเองและจัดโดยหนวยงาน ภายนอก โดยมีโครงการที่สําคัญในป 2557 ดังนี้ 1. หลักสูตรนักบริหารหนี้สาธารณะมืออาชีพ รุนที่ 2 สบน. ไดออกแบบหลักสูตร “นักบริหารหนี้สาธารณะ มืออาชีพ” รุนที่ 2 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาบุคลากร ใหมีความรู ความเชี่ยวชาญในงานดานการบริหารหนี้สาธารณะ อยางแทจริง และมีความเปนมืออาชีพในการปฏิบัติงาน โดย หลักสูตรดังกลาว มีเนื้อหาเกี่ยวกับเทคนิคในการบริหาร จัดการหนี้สาธารณะ การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ การระดมทุน การวิเคราะหโครงการ การบริหารจัดการ และทักษะในการ เจรจาตอรอง รวมทั้งสงเสริมใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู และ การทํางานเปนทีม โดยไดเชิญอดีตผูบริหาร และ ผูบริหารของ สบน. รวมทั้งผูเชี่ยวชาญจากหนวยงานที่ เกี่ยวของ เชน สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย สํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เปนตน มาเปนวิทยากรใหความรู ซึ่งหลักสูตรไดออกแบบ เพื่อเปนมาตรฐานในการพัฒนาบุคลากรของ สบน. ให สามารถปฏิบัติงานไดตามวิสัยทัศนขององคกรที่ตองการให บุคลากรมีความเปนมืออาชีพในการบริหารหนี้สาธารณะ 2. หลักสูตร TLCA Executive Development Program รุนที่ 13 (EDP13) เปนหลักสูตรเพื่อการพัฒนา ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การพัฒนาองค์กรใหเขมแข็งและมีประสิทธิภาพ
  • 10. รายงานประจ�าปี 2557 ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ 36 ทักษะและประสบการณของผูบริหารจากหนวยงานทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน ซึ่งจัดขึ้นโดย ตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยและสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย โดยผูเขา อบรมจะไดรับความรูและประสบการณโดยตรงจากวิทยากร ผูทรงคุณวุฒิ รวมทั้งไดแลกเปลี่ยนประสบการณ ความคิดเห็น และสรางเครือขายความสัมพันธอันดีระหวางผูเขารวม หลักสูตร 2. การจัดการความรูของสํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ แผนการจัดการความรูใชเปนเครื่องมือในการสงเสริม สนับสนุน พัฒนาองคกรใหเขมแข็งมีประสิทธิภาพ และ พัฒนาองคกรใหเปนองคกรแหงการเรียนรู รวมทั้งเปนไป ตามกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจําป งบประมาณ 2557 ของสํานักงาน ก.พ.ร. ซึ่งกําหนดใหมีตัว ชี้วัด “ระดับความสําเร็จของการพัฒนาองคกร” ซึ่งไดมุงเนน การพัฒนาองคกรในดานการแลกเปลี่ยนความรูและ การพัฒนา โดยตามแนวทางแผนการจัดการความรูของ สบน. ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2557 ประกอบดวย 3 กิจกรรมหลัก ไดแก 1. กิจกรรมการแบงปนและแลกเปลี่ยนองคความรู กับหนวยงานภายนอก ซึ่งเปนการถายทอดองคความรูและ ประสบการณจากวิทยากรผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานจากหนวยงาน ภายนอก ไดแก 1) องคการความรวมมือระหวางประเทศ ญี่ปุน (JICA) หัวขอ “Project Financing” 2) สมาคมตลาด ตราสารหนี้ไทย (ThaiBMA) หัวขอ “Bond Market” 3) ธนาคารกสิกรไทยจํากัด (มหาชน) หัวขอ “Marketing Based Project Financing” และ 4) บริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุน กรุงไทย จํากัด (มหาชน) หัวขอ “Asset Management” 2. กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (Morning Talk/Lunch Talk) เปนกิจกรรมภายใตโครงการการจัดการ ความรู (Knowledge Management :KM) ของ สบน. ซึ่งได มีการดําเนินการมาตั้งแตปงบประมาณ 2554 จนถึงปจจุบัน โดยไดมีการพัฒนารูปแบบในการจัดกิจกรรม เชน มีการ คัดเลือกผูรูในดานตางๆ เพื่อเปน KM Guru และถายทอด ความรูและประสบการณใหกับบุคลากรรุนใหมภายใน หนวยงาน รวมทั้งมีการเชิญผูเชี่ยวชาญจากหนวยงาน ภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชนมาแลกเปลี่ยนความรู และ มุมมองการดําเนินงานในเรื่องตางๆ เปนตน ซึ่งกิจกรรม ดังกลาวไดรับความสนใจจากบุคลากรเปนจํานวนมาก และ เกิดการแลกเปลี่ยน ถายทอดความรู และประสบการณ ในดานตางๆ ระหวางบุคลากร ซึ่งจะเปนการรักษาองคความรู และประสบการณเหลานั้นใหคงอยูกับองคกร และสามารถ นําไปปรับใชในงานที่ปฏิบัติได 3. กิจกรรมการศึกษาดูงานกับหนวยงานภายนอก (KM Journey) ซึ่งเปนการศึกษาดูงานกับหนวยงานที่เปน ตนแบบในดานการบริหารจัดการที่ดี (Best Practice) เพื่อ ใหบุคลากรของ สบน. ไดเกิดการแลกเปลี่ยนความรู และ นําไปสูการพัฒนาตอยอดเพื่อการปรับปรุงการปฏิบัติงาน การปรับกระบวนทัศนทั้งในดานระบบ การทํางานและดาน ชีวิตสวนตัว 3. การจัดทําคํารับรองการปฏิบัติราชการและระบบการ บริหารผลการปฏิบัติงาน ในการดําเนินงานตามยุทธศาสตรและเปาหมายที่ องคกรวางไว สบน. ไดมีการถายทอดตัวชี้วัดและคาเปาหมาย ขององคกรสูระดับบุคคล โดยบุคลากรทุกระดับตองเขามา มีสวนรวมในการดําเนินการตามยุทธศาสตรที่วางไว มีการ ถายทอดตัวชี้วัดจากระดับกระทรวง สูระดับกรม และระดับ หนวยงานภายในจนถึงระดับบุคคล เพื่อใหการดําเนินงาน ตางๆ มีผูรับผิดชอบที่ชัดเจน รวมทั้งผูบริหารใหความสําคัญ กับการพิจารณาคาเปาหมายใหมีความทาทาย สอดคลองกับ ผลการดําเนินการที่ผานมา โดยมีระบบในการเจรจาคาเปาหมาย ซึ่งจะพิจารณาจากขอมูลการดําเนินงานที่ผานมา โดยจัดการ เจรจาระหวางหนวยงานระดับสํานักกับผูบริหารระดับสูง เพื่อ ใหเกิดความเขาใจในเปาหมายขององคกรรวมกัน และเกิด การเชื่อมโยงระหวางหนวยงานภายใน และสงผลใหเกิด ความรวมมือจากบุคลากรในทุกระดับขององคกร และนําผล การปฏิบัติราชการดังกลาวเปนขอมูลในการบริหารคาตอบแทน และจัดสรรสิ่งจูงใจ ซึ่งระบบการบริหารผลงานที่มี ประสิทธิภาพดังกลาว สงผลให สบน. มีคะแนนผลการ ปฏิบัติราชการอยูในระดับสูงมาโดยตลอด ตั้งแต ปงบประมาณ 2553-2556 และสําหรับปงบประมาณ 2557 ยังอยูระหวางการตรวจประเมินของสํานักงาน ก.พ.ร.
  • 12. รายงานประจ�าป 2557 ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ 38 หมายเหตุ (หน�วย:บาท) สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด 5 39,392,074,609.56 ลูกหนี้ระยะสั้น 6 235,734,323.28 ลูกหนี้เงินโอนและรายการอุดหนุนระยะสั้น - เงินใหกูยืมระยะสั้น - เงินลงทุนระยะสั้น - สินคาคงเหลือ - วัสดุคงเหลือ - สินทรัพยหมุนเวียนอ�น 7 1,506,511,498.70 รวมสินทรัพยหมุนเวียน 41,134,320,431.54 สินทรัพยไมหมุนเวียน ลูกหนี้ระยะยาว - ลูกหนี้เงินโอนและรายการอุดหนุนระยะยาว - เงินใหกูยืมระยะยาว 8 1,412,924,454,588.50 เงินลงทุนระยะยาว 9 72,206,266.35 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ 10 43,685,766.19 สินทรัพยโครงสรางพื้นฐาน - สินทรัพยไมมีตัวตน 11 6,682,813.57 สินทรัพยไมหมุนเวียนอ�น - รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน 1,413,047,029,434.61 รวมสินทรัพย 1,454,181,349,866.15 ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ งบแสดงฐานะการเงิน ณ 30 กันยายน 2557
  • 13. Annual Report 2014 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE 39 หมายเหตุ (หน�วย:บาท) หนี้สินหมุนเวียน เจาหนี้ระยะสั้น 12 38,108,664,907.17 เจาหนี้เงินโอนและรายการอุดหนุนระยะสั้น - เงินกูยืมระยะสั้น 14 116,300,000,000.00 สวนของเงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป 17 353,795,453,243.86 สวนของเจาหนี้ตามสัญญาเชาการเงินที่ถึงกําหนด - ชําระภายใน 1 ป - เงินทดรองราชการรับจากคลังระยะสั้น - เงินรับฝากระยะสั้น 13 4,337,352,450.26 ประมาณหนี้สินระยะสั้น - หนี้สินหมุนเวียนอ�น 15 7,111,455,850.74 รวมหนี้สินหมุนเวียน 519,652,926,452.03 หนี้สินไมหมุนเวียน เจาหนี้ระยะยาว - เจาหนี้เงินโอนและรายการอุดหนุนระยะยาว 16 989,364.59 เงินกูยืมระยะยาว 17 3,532,148,921,347.19 เจาหนี้ตามสัญญาเชาการเงินระยะยาว - เงินทดรองราชการรับจากคลังระยะยาว 1,250,000.00 เงินรับฝากระยะยาว - ประมาณการหนี้สินระยะยาว - หนี้สินไมหมุนเวียนอ�น 6,544,082,122.81 รวมหนี้สินไมหมุนเวียน 3,538,695,242,834.59 รวมหนี้สิน 4,058,348,169,286.62 สินทรัพยสุทธิ/สวนทุน (2,604,166,819,420.47) สินทรัพยสุทธิ/สวนทุน ทุน 18 (1,745,948,795,386.54) รายไดสูง/(ตํ่า)กวาคาใชจายสะสม 19 (858,218,024,033.93) องคประกอบอ�นของสินทรัพยสุทธิ/สวนทุน - รวมสินทรัพยสุทธิ/สวนทุน (2,604,166,819,420.47) หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
  • 14. รายงานประจ�าป 2557 ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ 40 หมายเหตุที่ 1 ขอมูลทั่วไป สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) เปนสวนราชการในระดับกรม สังกัดกระทรวงการคลัง จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2545 ตามพระราช บัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 สบน. เปนองคกรที่มีภารกิจเสนอแนะนโยบาย รวมทั้งดําเนินการ กอหนี้และบริหารหนี้สาธารณะโดยคํานึงถึงประโยชนสูงสุดของประเทศ โดยมีบทบาทดานงานบริหารจัดการหนี้สาธารณะในฐานะหนวยงาน (Agency) ซึ่งดําเนินการตามภารกิจเชนเดียวกับสวนราชการอื่น และ งานบริหารหนี้สาธารณะในฐานะหนวยงานกลาง (Core Agency) ประกอบไปดวยการกอหนี้ที่กระทรวงการคลังไดผูกพันในฐานะผูกูในนาม รัฐบาลของราชอาณาจักรไทย ทั้งหนี้ในประเทศและตางประเทศ การบริหารจัดการหนี้คงคาง รวมถึงการบริหารการชําระหนี้ ป พ.ศ. 2548 มีการประกาศใช “พระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548” ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ 2548 และมีผลใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป เหตุผลในการ ประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ เพื่อใหการบริหารหนี้สาธารณะมีประสิทธิภาพ ซึ่งเดิมไดบัญญัติไวในกฎหมายหลายฉบับ และสมควรใหมีหนวยงานกลางเปนหนวยงานเดียว ทําหนาที่รับผิดชอบในการบริหารหนี้สาธารณะอยางมีระบบ มีประสิทธิภาพ และควบคุมดูแลการกอหนี้โดยรวม เพื่อใหภาระหนี้สาธารณะอยูในระดับที่สอดคลองกับฐานะการเงิน การคลังของประเทศ ซึ่งกําหนดใหกระทรวงการคลังเปนผูมีอํานาจในการกูเงินหรือคํ้าประกัน ในนามรัฐบาลแตเพียงผูเดียวโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรี กําหนดใหมีคณะกรรมการนโยบายและกํากับการบริหาร หนี้สาธารณะ ซึ่งมีอํานาจหนาที่รายงานสถานะหนี้สาธารณะ เสนอแผนการบริหารหนี้สาธารณะ จัดทําหลักเกณฑในการ บริหารหนี้ แนะนําการออกกฎกระทรวงและปฏิบัติการอื่น สบน. มีหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับกิจการทั่วไปของคณะกรรมการนโยบายและกํากับการบริหารหนี้สาธารณะ และ มีอํานาจหนาที่ในการศึกษาวิเคราะหโครงสรางหนี้สาธารณะ หนี้รัฐวิสาหกิจที่ทําธุรกิจใหกูยืมเงิน และสถาบันการเงินภาครัฐ ที่กระทรวงการคลังไมไดคํ้าประกัน รวบรวมขอมูลประมาณการความตองการเงินภาครัฐ และการบริหารหนี้สาธารณะ เพื่อเสนอตอคณะกรรมการนโยบายและกํากับการบริหารหนี้สาธารณะ ดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารหนี้สาธารณะ ใหคําปรึกษาแนะนํา สงเสริมหนวยงานของรัฐในการบริหารจัดการหนี้ ติดตามการปฏิบัติตามสัญญาและประเมินผล การใชจายเงินกู ปฏิบัติงานธุรการของคณะกรรมการนโยบายกํากับการบริหารหนี้สาธารณะ และปฏิบัติการอื่น หมายเหตุที่ 2 เกณฑการจัดทํางบการเงิน งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานและนโยบายการบัญชีภาครัฐที่กระทรวงการคลังประกาศใชซึ่งรวมถึงหลักการ และนโยบายบัญชีสําหรับหนวยงานภาครัฐ มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ และแสดงรายการ ในงบการเงินตามแนวปฏิบัติทางบัญชี เรื่อง การนําเสนองบการเงิน ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0423.2/ว 237 ลงวันที่ 8 กันยายน 2557 สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557
  • 15. Annual Report 2014 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE 41 หมายเหตุที่ 3 มาตรฐานและนโยบายการบัญชีภาครัฐฉบับใหม และมาตรฐานและนโยบายการบัญชี ภาครัฐที่ปรับปรุงใหม ในระหวางปปจจุบัน กระทรวงการคลังไดประกาศใชมาตรฐานและนโยบายการบัญชีภาครัฐฉบับใหมและปรับปรุงใหม ดังนี้ มาตรฐานและนโยบายการบัญชีภาครัฐที่มีผลบังคับใชสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีปจจุบันที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 ตุลาคม 2556 เปนตนไป - มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 1 เรื่อง การนําเสนองบการเงิน - มาตรฐานการบัญชีภาครัฐฉบับใหมขางตนไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงินในงวดปจจุบัน มาตรฐานและนโยบายการบัญชีภาครัฐที่มีผลบังคับใชในงวดอนาคต มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 3 เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและขอผิดพลาด วันที่มีผลบังคับใช 1 ตุลาคม 2557 - มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 5 เรื่อง ตนทุนการกูยืม วันที่มีผลบังคับใช 1 ตุลาคม 2559 - มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 16 เรื่อง อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน วันที่มีผลบังคับใช 1 ตุลาคม 2559 มาตรฐานการบัญชีภาครัฐฉบับใหมขางตนไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงินในงวดที่นํามาถือปฏิบัติ หมายเหตุที่ 4 สรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ 4.1 งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามเกณฑคงคาง (Accrual basis) โดยเปนไปตามขอกําหนดในหลักการและนโยบาย บัญชีสําหรับหนวยงานภาครัฐ ฉบับที่ 2 ตามประกาศกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2546 4.2 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เชน เช็ค ตั๋วแลกเงินสด เปนตน รับรูตามมูลคาที่ตราไวเงินทดรองราชการ บันทึกรับรูเมื่อไดรับเงินควบคูไปกับการบันทึกเงินทดรองราชการรับเงินจากคลังระยะยาว 4.3 ลูกหนี้เงินยืม บันทึกรับรูตามจํานวนเงินในสัญญายืม ไมวาจะจายจากเงินงบประมาณหรือเงินนอกงบประมาณ 4.4 รายไดจากเงินงบประมาณคางรับ บันทึกเปนรายไดจากเงินงบประมาณคางรับ ณ วันที่จัดทํารายงานหรือ ณ วันสิ้นปงบประมาณ ตามจํานวนเงินงบประมาณที่ยังไมไดรับตามฎีกาเหลื่อมจาย 4.5 รายไดคางรับ บันทึกตามจํานวนเงินที่ยังไมไดรับจนถึงสิ้นปงบประมาณ 4.6 วัสดุคงเหลือ แสดงในราคาทุน โดยตีราคาวัสดุคงเหลือตามวิธีเขากอนออกกอน 4.7 ดอกเบี้ยจายลวงหนา เปนสวนลดที่ใหแกผูประมูลตั๋วเงินคลัง 4.8 เงินใหกูระยะยาวแกรัฐวิสาหกิจ เปนเงินใหยืมแกรัฐวิสาหกิจ บันทึกรับรูตามจํานวนเงินในสัญญากูเงิน 4.9 อาคารและอุปกรณ (สุทธิ) เปนสินทรัพยที่มีมูลคาตอหนวยตอชุดหรือตอกลุม ตั้งแต 30,000 บาท ขึ้นไปเฉพาะ ที่ซื้อหรือไดมาตั้งแต ปงบประมาณ พ.ศ. 2540 - 2545 สําหรับรายการที่จัดซื้อหรือไดมาในปงบประมาณ พ.ศ. 2546 เปนตนไป จะรับรูเฉพาะที่มีมูลคาตั้งแต 5,000 บาท ขึ้นไป โดยแสดงราคาทุนหักดวยคาเสื่อมราคาสะสม 4.10 สินทรัพยไมมีตัวตน (สุทธิ) แสดงในราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสม 4.11 เจาหนี้ บันทึกรับรูเจาหนี้จากการซื้อสินคาหรือบริการ เมื่อหนวยงานไดตรวจรับสินคาหรือบริการจากผูขายแลว แตยังไมไดชําระเงิน และสามารถระบุมูลคาสินคาหรือบริการไดชัดเจน 4.12 คาใชจายคางจาย เกิดขึ้นจากขอกําหนดของกฎหมาย ขอตกลงในสัญญา หรือจากบริการที่ไดรับ เชน เงินเดือน หรือคาจางคางจาย คาใชจายดําเนินงานคางจายและดอกเบี้ยคางจาย เปนตน โดยการประมาณคาตามระยะเวลาที่เกิด คาใชจายนั้นๆ สําหรับใบสําคัญคางจายจะรับรูเมื่อไดรับใบขอเบิกเงินจากขาราชการ พนักงานราชการ หรือลูกจาง รวมถึง
  • 16. รายงานประจ�าป 2557 ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ 42 การรับใบสําคัญที่ทดรองจายจากเงินทดรองราชการ 4.13 รายไดรับลวงหนา บันทึกรับรูรายไดรับลวงหนา เมื่อไดรับเงินตามจํานวนการใชจายเงินรวมถึงการรับเงิน สนับสนุน 4.14 เงินกูระยะสั้น เปนเงินกูที่กระทรวงการคลังกูในนามรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทย ซึ่งเปนสวนของงาน หนี้สาธารณะ ประกอบดวย 1) เงินกูในประเทศ ไดแก เงินกูที่เกิดจากการออกตั๋วเงินคลัง (T- Bill) ตั๋วสัญญาใชเงินระยะสั้น (R-Bill และ PN) เงินกูระยะสั้นจากสถาบันการเงิน และสวนที่จะครบกําหนดชําระภายในหนึ่งปของพันธบัตรรัฐบาลตั๋วสัญญาใชเงิน (PN) และสัญญาเงินกูระยะยาว (Long Term Loan) 2) เงินกูตางประเทศ ไดแก ตั๋ว Euro Commercial Paper (ECP) และสวนที่จะครบกําหนดชําระภายในหนึ่งป ของ Samurai Bond และเงินกูตามสัญญากูเงินที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศ 4.15 เงินกูระยะยาว เปนเงินกูที่กระทรวงการคลังกูในนามรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทย ซึ่งเปนสวนของงาน หนี้สาธารณะ ประกอบดวย 1) เงินกูในประเทศ ไดแก เงินกูที่เกิดจากการออกตั๋วสัญญาใชเงิน สัญญาเงินกูระยะยาวจากสถาบันการเงิน และพันธบัตร ซึ่งพันธบัตรรับรูตามมูลคาที่ตราไวหักหรือบวกดวยสวนเกินหรือสวนตํ่ากวามูลคาพันธบัตรที่เกิดขึ้นเมื่อมีการ ออกจําหนายพันธบัตร และทยอยรับรูสวนเกินและสวนตํ่ากวามูลคาตามอายุพันธบัตรโดยวิธีเสนตรง 2) เงินกูตางประเทศ ไดแก เงินกูที่เกิดจากการออก Samurai Bond และเงินกูตามสัญญากูเงินที่เปนสกุลเงิน ตราตางประเทศ 4.16 หนี้สาธารณะ หมายถึง หนี้ที่กระทรวงการคลัง หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือหนี้ที่กระทรวงการคลัง คํ้าประกัน (คํ้าประกัน รวมถึงการอาวัลตั๋วเงิน) แตไมรวมถึงหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ทําธุรกิจใหกูยืมเงินโดยกระทรวงการคลัง มิไดคํ้าประกัน การกูเงินจะทําเปนสัญญาหรือออกตราสารหนี้ก็ได 4.17 การแปลงคาเงินตราตางประเทศ ไดบันทึกสินทรัพยและหนี้สินที่เปนเงินตราตางประเทศตามวันที่เกิดรายการ ดวยสกุลเงินตราตางประเทศนั้นๆ และแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ โดยสินทรัพยและ หนี้สินคงเหลือ ณ วันจัดทํารายงาน หรือ ณ วันสิ้นปงบประมาณ ไดแปลงคาเงินตราตางประเทศของทรัพยสินและ หนี้สินคงเหลือ โดยใชอัตราซื้อสําหรับสินทรัพย และอัตราขายสําหรับหนี้สิน ตามอัตราแลกเปลี่ยนอางอิงตามประกาศของ ธนาคารแหงประเทศไทย กําไรหรือขาดทุนที่เกิดจากการแปลงคาดังกลาวรับรูเปนรายไดหรือคาใชจายจากอัตราแลกเปลี่ยน 4.18 ทุน รับรูเมื่อเริ่มปฏิบัติตามระบบบัญชีเกณฑคงคางซึ่งเกิดจากผลตางระหวางสินทรัพยและหนี้สิน 4.19 การรับรูรายได 4.19.1 รายไดจากเงินงบประมาณและเงินนอก งบประมาณรับรูเมื่อไดรับอนุมัติคําขอเบิกจากกรมบัญชีกลาง 4.19.2 รายไดอื่น รับรูตามเกณฑคงคางเมื่อ เกิดรายการ 4.20 คาใชจายบุคลากร คาใชจายในการดําเนินงาน และคาใชจายงบกลาง รับรูเมื่อเกิดคาใชจาย 4.21 คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คํานวณ โดยวิธีเสนตรงไมมีราคาซาก (ราคาซาก = 0) สินทรัพยที่ หมดอายุการใชงานแลวใหคงมูลคาไวในบัญชี 1 บาท
  • 17. Annual Report 2014 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE 43 จนกวาจะมีการจําหนายสินทรัพยออกจากระบบบัญชี การตีราคาสินทรัพย การคิดคาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนายไดกําหนด ประเภทสินทรัพยและอายุการใชงานของสินทรัพยตางๆ ดังนี้ ประเภทสินทรัพย อายุการใชงาน (ป) สวนปรับปรุงอาคาร 10 ครุภัณฑสํานักงาน 3 – 10 ครุภัณฑยานพาหนะ 5 – 15 ครุภัณฑเครื่องใชไฟฟาและวิทยุ 5 – 10 ครุภัณฑโฆษณาและเผยแพร 3 – 5 ครุภัณฑคอมพิวเตอร 3 – 5 โปรแกรมคอมพิวเตอร 5 หมายเหตุที่ 5 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด (หน�วย : บาท) เงินทดรองราชการ 1,250,000.00 เงินฝากคลัง 16,689,408,055.90 เงินฝากธนาคารแหงประเทศไทยจากเงินกูเพ�อการปรับโครงสรางหนี้ 10,326,524,484.46 เงินฝากธนาคารแหงประเทศไทยจากการกูเงินเพ�อชวยเหลือกองทุนฟนฟู 1,988,768,413.94 เงินฝากธนาคารแหงประเทศไทยเพ�อปรับโครงสรางหนี้เงินกูตามแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 3,843,445,329.11 เงินฝากธนาคารแหงประเทศไทยจากการกูเงินเพ�อการบริหารหนี้ 6,610,811,795.57 ปรับมูลคาเพ�อซื้อเงินฝากสกุลเงินตางประเทศ (68,133,469.42) รวม เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด 39,392,074,609.56 เงินสดในมือ เปนเงินสดและเช็คธนาคาร นอกจากสวนที่หนวยงานถือไวเพื่อใชจายสําหรับการดําเนินงานปกติ ตามวัตถุประสงคของหนวยงานแลว ยังรวมถึงสวนที่หนวยงานไดรับไวเพื่อรอนําสงคลังเปนรายไดแผนดินตามกฎหมาย ซึ่งไมสามารถนําไปใชเพื่อประโยชนของหนวยงานได เงินทดรองราชการ เปนเงินสดที่หนวยงานมีไวเพื่อใชจายเปนคาใชจายปลีกยอยในสํานักงานตามวงเงินที่ไดรับอนุมัติ จากกระทรวงการคลัง ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยเงินทดรองราชการ พ.ศ. 2557 ซึ่งจะตองสงคืนคลังเมื่อ หมดความจําเปนในการใชจาย เงินสด เงินฝากธนาคารและใบสําคัญที่เบิกจากเงินทดรองราชการแลวรอเบิกชดเชย เงินฝากคลัง เปนเงินที่หนวยงานฝากไวกับกระทรวงการคลังภายใตขอกําหนดตามกฎหมาย โดยไมมีดอกเบี้ย ซึ่งสามารถเบิกถอนไดเมื่อตองการใชจายตามรายการที่กําหนดไวในระเบียบที่ระบุขอจํากัดในการใชจาย เงินฝากคลังจํานวน 16,689,408,055.90 บาท ซึ่งแสดงรวมอยูในเงินฝากคลังขางตนเปนเงินนอกงบประมาณที่มี ขอจํากัดในการใชจายเพื่อจายตอไปใหบุคคลหรือหนวยงานอื่นตามวัตถุประสงคที่ระบุไวในกฎหมายอันเปนที่มาของเงินฝากคลัง นั้น หนวยงานไมสามารถนําไปใชจายเพื่อประโยชนในการดําเนินงานของหนวยงานตามปกติได แตมีหนาที่ถือไวจาย ตามวัตถุประสงคของเงินฝากคลัง ดังนี้
  • 18. รายงานประจ�าป 2557 ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ 44 (หน�วย : บาท) เงินฝากเก็บคาใชจายภาษีทองถิ่นของสํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ 10,785,851.00 เงินฝากเงินกูโครงการสงเสริมและยกระดับธรรมาภิบาล 190,800.00 เงินฝากสํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ (คาจางชั่วคราว) 480,978.37 เงินประกันสัญญา 364,892.83 เงินฝากเงินกูเพ�อปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจ 4,162.73 เงินฝากคาธรรมเนียมการคํ้าประกันและคาธรรมเนียมการใหกูตอ 7,916,212.80 เงินฝากเงินกูเพ�อปรับโครงสรางภาคราชการ 1 1,166,736,511.37 เงินฝากเงินกูเพ�อปรับโครงสรางภาคราชการ 2 1,109,080,401.27 เงินฝากเงินกูเพ�อสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงานของสวนราชการ 41,101,818.28 เงินฝากคลังไทยเขมแข็ง 11,981,127,582.98 เงินฝากเงินกูเพ�อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน 2,104,930,700.21 เงินฝากเพื่อการวางระบบบริหารจัดการนํ้าและสรางอนาคตประเทศ 266,688,144.06 รวม เงินฝากคลัง 16,689,408,055.90 หมายเหตุที่ 6 ลูกหนี้ระยะสั้น (หน�วย : บาท) ลูกหนี้เงินยืมในงบประมาณ 502,324.22 ลูกหนี้เงินยืมนอกงบประมาณ 613,745.78 รายไดคางรับ – ภาครัฐ 234,075,859.78 คางรับจากกรมบัญชีกลาง 542,393.50 รวม ลูกหนี้ระยะสั้น 235,734,323.28 ลูกหนี้เงินยืม ณ 30 กันยายน 2557 แยกตามอายุหนี้ดังนี้ (หน�วย : บาท) ลูกหนี้เงินยืม ยังไมถึงกําหนด ชําระและการสง ใชใบสําคัญ ถึงกําหนดชําระ และการสงใช ใบสําคัญ เกินกําหนดชําระ และการสงใช ใบสําคัญ รวม 2557 859,770.00 - 256,300.00 1,116,070.00 หมายเหตุที่ 7 สินทรัพยหมุนเวียนอื่น (หน�วย : บาท) คาใชจายจายลวงหนา 461,581.20 ดอกเบี้ยจายลวงหนา – ตั๋วเงินคลัง 1,506,049,917.50 รวม สินทรัพยหมุนเวียนอ�น 1,506,511,498.70
  • 19. Annual Report 2014 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE 45 ดอกเบี้ยจายลวงหนา จํานวน 1,506,511,498.70 บาท เกิดจากการประมูลขายตั๋วเงินคลังและตั๋วสัญญาใชเงิน ระยะสั้น ซึ่งเมื่อครบกําหนดจะจายคืนผูซื้อตามมูลคาหนาตั๋ว ผลตางระหวางราคาขายและมูลคาหนาตั๋วบันทึกเปนดอกเบี้ย จายลวงหนา โดย สบน. จะบันทึกตัดบัญชีดอกเบี้ยจายลวงหนารับรูเปนดอกเบี้ยจาย หมายเหตุที่ 8 เงินใหกูยืมระยะยาว (หน�วย : บาท) เงินใหกูยืมระยะยาว – หน�วยงานภาครัฐ 1,135,000,000.00 เงินใหกูยืมระยะยาว – รัฐวิสาหกิจ 1,411,753,815,515.58 พักปรับมูลคาเงินใหกูระยะยาว 35,639,072.92 รวม ลูกหนี้ระยะสั้น 1,412,924,454,588.50 เงินใหกูยืมระยะยาวเปนเงินใหกูตอกับรัฐวิสาหกิจ และหนวยงานของรัฐ มี 3 ลักษณะ 1. การใหกูตอจากเงินงบประมาณ การบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS เมื่อหนวยงานที่กูเงินรับเงินจากกรมบัญชีกลาง สบน. จะบันทึกรับรูเงินใหกูยืมระยะยาว - รัฐวิสาหกิจคูกับบัญชีหนี้สินไมหมุนเวียนอื่น และเมื่อรับชําระหนี้จากลูกหนี้ บันทึก การรับเงินคูกับบัญชีรายไดจากรัฐวิสาหกิจชําระหนี้เงินใหกูตอ พรอมกับบันทึกลดยอดบัญชีเงินใหกูยืมระยะยาว - รัฐวิสาหกิจ คูกับบัญชีหนี้สินไมหมุนเวียนอื่น 2. การใหกูโดยตรงจากแหลงเงินกู การบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS เมื่อหนวยงานลูกหนี้ผูกูไดรับเงินกูจากแหลง เงินกูโดยตรง 3. การใหกูตอจากเงินกูเพื่อปรับโครงสรางหนี้ทางเศรษฐกิจ (SAL) เปนเงินกูยืมที่กระทรวงการคลังซึ่งสํานักงาน บริหารหนี้สาธารณะไดทําความตกลงในการกูกับสํานักงานสงเสริมกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ โดยคณะรัฐมนตรี ไดมีมติอนุมัติใหนําเงินกูเพื่อปรับโครงสรางหนี้ทางเศรษฐกิจ (SAL) เพื่อสนับสนุนภารกิจของสํานักงานสงเสริมสังคม แหงการเรียนรูและคุณภาพเยาวชน (สสค.) การบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS เมื่อหนวยงานที่กูเงินรับเงินจากกรมบัญชีกลาง สบน. จะบันทึกรับรูเงินใหกูระยะยาว – หนวยงานภาครัฐ คูกับบัญชีพักเงินใหยืม / เงินใหกู และเมื่อรับชําระหนี้จากลูกหนี้ บันทึกการรับชําระเงินคูกับบัญชีพักเงิน ใหยืม / เงินใหกู ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 เงินใหกูระยะยาวแกรัฐวิสาหกิจมียอดคงเหลือจํานวน 1,411,789,454,588.50 บาท ประกอบดวย เงินตราตางประเทศ อัตราแลกเปลี่ยน จํานวนเงิน (บาท) ดอลลารสหรัฐ USD 500,000,000.00 32.1376 16,068,800,000.00 ยูโร EUR 86,771.56 40.6624 3,528,339.88 ดอลลารแคนาดา CAD 10,055,710.13 28.6941 288,539,552.04 เยน JPY 45,424,144,142.00 29.2317 1,327,824,954,315.70 บาท 67,603,632,380.88 รวม เงินใหกูระยะยาวแกรัฐวิสาหกิจ 1,411,789,454,588.50
  • 20. รายงานประจ�าป 2557 ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ 46 เงินใหกูระยะยาวแกรัฐวิสาหกิจที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศ ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 แปลงคาโดยใชอัตราซื้อ ถัวเฉลี่ยทางโทรเลขตามประกาศอัตราแลกเปลี่ยนอางอิงของธนาคารแหงประเทศไทย ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 เงินใหกูระยะยาวแกรัฐวิสาหกิจ จําแนกตามแหลงเงินใหกู ไดดังนี้ (หน�วย : บาท) ธนาคารเพ�อการเกษตรและสหกรณการเกษตร 14,999,300.00 บริษัทหองปฏิบัติการกลางตรวจสอบผลิตภัณฑ 1,340,941,136.51 การไฟฟาฝายผลิต 82,023,671.92 เทศบาลนครราชสีมา 61,681,117.48 องคการอุตสาหกรรมหองเย็น 402,205,819.57 ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) 1,173,778.61 การไฟฟาสวนภูมิภาค 3,438,539,552.04 บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) 16,068,800,000.00 การทางพิเศษแหงประเทศไทย 16,378,898,157.36 การรถไฟขนสงมวลชนแหงประเทศไทย 43,199,413,061.23 การรถไฟแหงประเทศไทย 1,330,800,778,993.78 รวม เงินใหกูระยะยาวแกรัฐวิสาหกิจ 1,411,789,454,588.50 ในรายการเงินใหกูระยะยาวแกรัฐวิสาหกิจนี้มีลูกหนี้ที่ผิดนัดชําระหนี้ 2 ราย ไดแก (หน�วย : บาท) องคการอุตสาหกรรมหองเย็น (อยูระหวางชําระบัญชี) 402,205,819.57 ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) 1,173,778.61 รวม ลูกหนี้ที่ผิดนัดชําระหนี้ 403,379,598.18 หมายเหตุที่ 9 เงินลงทุนระยะยาว เงินลงทุนระยะยาว จํานวน 72,206,266.35 บาท เปนเงินลงทุนทั่วไปโดยกระทรวงการคลังลงทุนในกองทุนรวม เพื่อการรวมลงทุน มีวัตถุประสงคระดมทุนจากตางประเทศและในประเทศ เพื่อลงทุนในวิสาหกิจขนาดใหญในประเทศ โดยเนนการดําเนินการรวมกันระหวางกระทรวงการคลังกับบรรษัททางการเงินระหวางประเทศ ซึ่งใชเงินกูเพื่อปรับโครงสราง ทางเศรษฐกิจ จํานวน 2,161,670.10 เหรียญสหรัฐ
  • 21. Annual Report 2014 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE 47 หมายเหตุที่ 10 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ (หน�วย : บาท) ที่ดิน - อาคารและสิ่งปลูกสราง 3,875,000.00 หัก คาเส�อมราคาสะสม-อาคารและสิ่งปลูกสราง (1,308,652.95) อาคารและสิ่งปลูกสราง-สุทธิ 2,566,347.05 ครุภัณฑ 159,591,506.16 หัก คาเส�อมราคาสะสม-ครุภัณฑ (118,472,087.02) ครุภัณฑ-สุทธิ 41,119,419.14 รวม ที่ดิน อาคารและอุปกรณ-สุทธิ 43,685,766.19 สบน. ใชอาคารสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ชั้น 4 และ 5 เปนที่ตั้งสํานักงาน โดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลังใชพื้นที่ ของที่ราชพัสดุ หมายเหตุที่ 11 สินทรัพยไมมีตัวตน (หน�วย : บาท) สินทรัพยไมมีตัวตน 45,100,879.00 หัก ตัดจําหน�ายสะสม-สินทรัพยไมมีตัวตน (41,105,704.76) สินทรัพยไมมีตัวตน-สุทธิ 3,995,174.24 สินทรัพยไมมีตัวตนอ�น 7,415,348.50 หัก ตัดจําหน�ายสะสม-สินทรัพยไมมีตัวตนอ�น (4,727,709.17) สินทรัพยไมมีตัวตนอ�น-สุทธิ 2,687,639.33 รวม สินทรัพยไมมีตัวตน 6,682,813.57 หมายเหตุที่ 12 เจาหนี้ระยะสั้น (หน�วย : บาท) เจาหนี้การคา 10,261,342.92 เจาหนี้อ�น 83,952.61 ดอกเบี้ยคางจาย 36,007,532,382.90 ดอกเบี้ยจายรอตัดชําระ 2,090,029,368.34 คาสาธารณูปโภคคางจาย 224,408.40 ใบสําคัญคางจาย 533,452.00 รวม เจาหนี้ระยะสั้น 38,108,664,907.17