SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
โครงการพระราชดาริ
  สะพานพระราม 8
สะพานพระราม 8
      สะพานพระราม 8 (อังกฤษ : Rama VIII Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้า
เจ้าพระยาแห่งที่ 13 ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีแนวสายทาง
เชื่อมต่อกับทางคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนี ข้ามแม่น้าเจ้าพระยาบริเวณ
โรงงานสุราบางยี่ขัน (สานักงาน กปร. และมูลนิธิชัยพัฒนาในปัจจุบัน) เขต
บางพลัด บรรจบกับปลายถนนวิสุทธิกษัตริย์ ใกล้กับธนาคารแห่งประเทศ
ไทย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
ประวัติ
   สะพานนี้เกิดจากพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อ
วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 พระองค์มีพระราชดาริให้กรุงเทพมหานคร
ก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้าเจ้าพระยาเพิ่มอีก 1 แห่ง เพื่อบรรเทาการจราจรบน
สะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้ารองรับการเดินทางเชื่อมต่อระหว่างฝั่งพระนครกับฝั่ง
ธนบุรี และเป็นจุดเชื่อมต่อโครงการพระราชดาริตามแนวจตุรทิศ
   สะพานพระราม 8 จะช่วยเชื่อมการเดินทางระหว่างฝั่งพระนครกับฝั่งธนบุรีให้
สะดวกสบายขึ้น ซึ่งจะช่วยระบายรถบนสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้าได้ถึง 30% และ
บนสะพานกรุงธน อีก 20% และยังสามารถลดมลพิษทางอากาศบริเวณในเมือง
โดยเริ่มเปิดให้ใช้ตั้งแต่วันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 เวลา 7:00 น.
ลักษณะโดยทั่วไป
     สะพานพระราม 8 มีความยาวรวม 475 เมตร สูงเท่าสะพานสมเด็จพระปิ่น
เกล้าและความลาดชันไม่เกิน 3% เป็นสะพานหลักช่วงข้ามแม่น้า 300 เมตร สะพาน
ยึดช่วงบนบก 100 เมตร และสะพานช่วงโครงสร้างยึดเสา 75 เมตรมีรูปแบบโดด
เด่นสวยงามเพราะได้ออกแบบเป็นสะพานขึงแบบอสมมาตรซึ่งหมายความว่ามีเสา
สะพานหลักเสาเดียวบนฝั่งธนบุรี และมีเสารับน้าหนัก 1 ต้นบนฝั่งพระนคร จึงไม่มี
เสารับน้าหนักตั้งอยู่ในแม่น้าเจ้าพระยา ทาให้ไม่มีปัญหาต่อการสัญจรทางน้า ช่วย
ป้องกันน้าท่วมและระบบนิเวศวิทยาในน้า รวมทั้งไม่กระทบต่อการจัดตั้งกระบวน
พยุหยาตราชลมารค
การรับน้าหนักของสะพาน ได้ติดตั้งสายเคเบิลระนาบคู่ 28 คู่ขึงยึดพื้นช่วงข้ามแม่น้า
และใช้สายเคเบิลระนาบเดี่ยว 28 เส้น ขึงยึดรั้งกับโครงสร้างยึดเสาสะพานบนฝั่งธนบุรี
เคเบิลแต่ละเส้นประกอบด้วยสลิงตั้งแต่ 11-65 เส้น เมื่อเกิดปัญหากับเคเบิล สามารถขึง
หรือหย่อนได้ง่าย ไม่จาเป็นต้องปิดการจราจรเหมือนสะพานพระราม 9เนื่องจากเคเบิลแต่
ละเส้นใช้สลิง ภายในซึ่งเป็นขดลวดใหญ่ทาให้ดูแลบารุงรักษาและซ่อมแซมยากกว่า อีกทั้ง
สายเคเบิลของสะพานพระราม 8 ยังมีสีเหลืองทอง สีประจาพระองค์ของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว เมื่อสะท้อนแสงจะส่องประกายสวยงาม โดยเฉพาะยามค่าคืน
   ด้านมาตรฐานความปลอดภัยได้ทดสอบแรงดึงในลวดสลิง 1 ล้านครั้ง โดยใช้แรงดึง
ปกติ 10 ตัน ไม่มีปัญหา และต้องใช้แรงดึงถึง 27 ตัน ลวดสลิงถึงขาดแต่ก็แค่ 1%
เท่านั้น นอกจากนี้ได้มีการทดสอบแรงลม แรงสั่นสะเทือน ทิศทางลม รวมทั้งติดตั้ง
เครื่องวัดไว้ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อดูความผิดปกติที่อาจจะเกิดขึ้น
สะพานพระราม 8 เป็นสะพานขึงแบบอสมมาตรที่ติดอันดับ 5 ของโลก รองจากประเทศ
เยอรมนีซึ่งติดอันดับถึง 3 สะพาน และประเทศเนปาล โดยนับจากความยาวช่วงของสะพานส่วน
สะพานพระราม 9 ซึ่งเป็นสะพานขึงตัวแรกแต่เป็นแบบสมมาตร เพราะมี 2 เสา ถือว่าอยู่ในอันดับ
ที่ 18 ของโลก โดยนับความยาวช่วงของสะพานได้ 450 เมตร
ความโดดเด่นสวยงาม ที่เกิดขึ้น ผสมผสานไปด้วยศิลปะแบบไทย ๆ จากแนวคิดในการสร้างเพื่อ
เป็นพระบรมราชานุสรณ์เฉลิมพระเกียรติในหลวงพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันท
มหิดล รัชกาลที่ 8 กรุงเทพมหานครจึงได้อัญเชิญ "พระราชลัญจกร" ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ประจา
พระองค์ มาเป็นต้นแบบในการออกแบบทางสถาปัตยกรรม
        การออกแบบกาหนดทิศทางของสะพานและพระบรมราชานุสรณ์ ได้ออกแบบให้ประจวบ
เหมาะสัมพันธ์กับธรรมชาติวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ในวันที่ ๒๑/๒๒ ธันวาคม ของทุกปี
โดยในเวลาเช้ามืดดวงอาทิตย์โผล่เด่นพ้นขอบฟ้าขึ้นตรงเส้นกลางถนนบนสะพานด้านทิศ
ตะวันออก และ ขึ้นตรงหน้าพระบรมราชานุสรณ์ ช่างน่าอัศจรรย์ยิ่ง เสมือนเป็นมาตรที่บ่งบอกทิศ
ทางการโคจรเป็นวงรี วกกลับของดวงอาทิตย์เมื่อเทียบในระนาบ๒ มิติตามวิถีคิดในอดีตกาล
ส่วนประกอบของสะพาน
     ส่วนประกอบต่าง ๆ ของสะพานเน้นความโปร่งบาง เรียบง่าย และสวยงาม วัสดุ
ที่ใช้ในโครงสร้างของสะพานเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม เช่น ในส่วนสะพานเสาสูง
รูปตัว Y คว่า เป็นเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก ทาหน้าที่หิ้วส่วนโครงสร้างสาคัญอื่นๆ
ของสะพาน ซึ่งมองเห็นได้ในระยะไกล ๆ ได้ออกแบบโดยใช้เค้าโครงมโนภาพของ
เรือนแก้ว
     ราวกันตก ซึ่งทาจากโลหะออกแบบเป็นลวดลายที่วิจิตรและอ่อนช้อย จาลองมา
จากดอกบัวและกลีบบัวเสาโครงสร้างใต้แผ่นพื้นตกแต่งด้วยลวดลาย ที่จาลองจาก
ดอกบัวใช้วัสดุที่มีน้าหนักเบา มีคุณสมบัติช่วยสะท้อนแสงลงสู่ผิวจราจรใต้ทาง
ยกระดับ ช่วยเพิ่มความสว่างบริเวณใต้ทางยกระดับและประหยัดไฟฟ้าในเวลา
กลางคืน
สิ่งพิเศษสุดของสะพานพระราม 8 ที่สะพานอื่นในกรุงเทพมหานครยังไม่มีก็คือ
ที่ปลายยอดเสาสูงของตัวสะพานจะมีจุดชมทิวทัศน์ ซึ่งมีโครงสร้างโลหะกรุกระจก
ลักษณะคล้ายดอกบัว สูงจากพื้นดินถึง 165 เมตร หรือสูงเท่าตึก 60 ชั้น พื้นที่ 35
ตารางเมตร จุคนได้ครั้งละเกือบ 50 คนซึ่งจะเปิดให้บริการกับประชาชนทั่วไปด้วย
แต่การก่อสร้างส่วนนี้จะแล้วเสร็จภายหลังพร้อม ๆ กับลิฟต์ของคนพิการซึ่งอยู่หัว
มุม 2 ฝั่งแม่น้า ประมาณเดือนกันยายนเนื่องจากโครงสร้างเสาสูงเป็น แบบตัว Y
คว่าการขึ้นลงจุดชมทิวทัศน์จึงต้องติดตั้งลิฟต์ทั้งในแนวเฉียงและแนวดิ่ง โดยเป็น
แนวเฉียงจากพื้นดิน 80 เมตรก่อน จากนั้นจึงเป็นแนวดิ่งอีก 155 เมตร แต่
บรรทุกได้เที่ยวละประมาณ 5 คน ใช้เวลาขึ้น-ลง 2-3 นาที นอกจากนี้ยังมีลิฟต์
ธรรมดาอยู่คนละด้านเพื่อใช้สาหรับเจ้าหน้าที่ในการดูแลและตรวจตราสะพาน
ผลกระทบจากการก่อสร้าง
    อย่างไรก็ตาม การก่อสร้างสะพานพระราม 8 ก็มีผลกระทบกับคนกลุ่มหนึ่งซึ่ง
เป็นชุมชนรายรอบการก่อสร้างต้องสละถิ่นฐานที่เคยอยู่เพื่อส่วนรวม แต่ใช่ว่า
สะพานเสร็จแล้ว ชุมชนจะเลือนหายไปเหลือแค่ความทรงจา กรุงเทพมหานครยัง
ตระหนักในเรื่องนี้ แม้ไม่อาจทาให้ฟื้นกลับให้เหมือนเดิม แต่อย่างน้อยพื้นที่ที่เคย
เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยจะถูกนามาจาลองไว้ โดยจะเข้าไปปรับปรุงพื้นที่ 50 ไร่ บริเวณ
สะพานพระราม 8 เพื่อก่อสร้างสวนสาธารณะขนาดใหญ่ ซึ่งรวมถึงพิพิธภัณฑ์ของ
รัชกาลที่ 8 พระราชกรณียกิจของกษัตริย์ไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ และพิพิธภัณฑ์
ที่แสดงถึงวิถีชีวิตดั้งเดิมของประชาชนในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ อาทิ
ชุมชนบ้านปูน โรงงานสุราบางยี่ขัน ซึ่งให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นผู้ออกแบบ
รายละเอียด
สะพานพระราม 8 เป็นสะพานขึงแบบอสมมาตรเสาเดี่ยว3ระนาบที่ยาว
ที่สุดในโลกกล่าวคือ ขึงด้วยเคเบิลระนาบคู่บริเวณตัวสะพาน (Main Bridge)
จานวน 28 คู่ และขึงด้วยเคเบิลระนาบเดียวช่วงหลังสะพาน (Back Span)
                                      ่
จานวน 28 เคเบิล สะพานมีความยาวทั้งสิ้น 475 เมตร โดยมีช่วงตัวสะพาน
ยาว 300 เมตร (ซึ่งนับว่ายาวที่สุดในโลกในสะพานที่มีลักษณะนี้) และช่วงหลัง
สะพานยาว 175 เมตร เปรียบเทียบกับสะพาน Nový Mostข้ามแม่น้าดานูบ
ในประเทศสโลวาเกีย ช่วงกลางสะพานยาว 303 เมตร และความยาวทั้งหมด
รวมทั้งสิ้น 430.8 เมตร
จัดทาโดย
นางสาว จินตนา โคววนิช
   เลขที่ 38 ม.4/10

More Related Content

Viewers also liked

ไบโอดีเซล
ไบโอดีเซลไบโอดีเซล
ไบโอดีเซลJuneMT_12082540
 
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทน
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทนโครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทน
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทนiczexy
 
The work breakdown structure and project estimation
The work breakdown structure and project estimationThe work breakdown structure and project estimation
The work breakdown structure and project estimationVarit Saprasert
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...Sircom Smarnbua
 
Headlines That Work (EIJ15 edition)
Headlines That Work (EIJ15 edition)Headlines That Work (EIJ15 edition)
Headlines That Work (EIJ15 edition)Charlie Meyerson
 
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตBangon Suyana
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (8)

ไบโอดีเซล
ไบโอดีเซลไบโอดีเซล
ไบโอดีเซล
 
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทน
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทนโครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทน
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทน
 
The work breakdown structure and project estimation
The work breakdown structure and project estimationThe work breakdown structure and project estimation
The work breakdown structure and project estimation
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
 
Headlines That Work (EIJ15 edition)
Headlines That Work (EIJ15 edition)Headlines That Work (EIJ15 edition)
Headlines That Work (EIJ15 edition)
 
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
Design Editorial | Estruturas
Design Editorial | EstruturasDesign Editorial | Estruturas
Design Editorial | Estruturas
 

โครงการสะพานพระราม 8

  • 2. สะพานพระราม 8 สะพานพระราม 8 (อังกฤษ : Rama VIII Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้า เจ้าพระยาแห่งที่ 13 ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีแนวสายทาง เชื่อมต่อกับทางคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนี ข้ามแม่น้าเจ้าพระยาบริเวณ โรงงานสุราบางยี่ขัน (สานักงาน กปร. และมูลนิธิชัยพัฒนาในปัจจุบัน) เขต บางพลัด บรรจบกับปลายถนนวิสุทธิกษัตริย์ ใกล้กับธนาคารแห่งประเทศ ไทย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
  • 3. ประวัติ สะพานนี้เกิดจากพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อ วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 พระองค์มีพระราชดาริให้กรุงเทพมหานคร ก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้าเจ้าพระยาเพิ่มอีก 1 แห่ง เพื่อบรรเทาการจราจรบน สะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้ารองรับการเดินทางเชื่อมต่อระหว่างฝั่งพระนครกับฝั่ง ธนบุรี และเป็นจุดเชื่อมต่อโครงการพระราชดาริตามแนวจตุรทิศ สะพานพระราม 8 จะช่วยเชื่อมการเดินทางระหว่างฝั่งพระนครกับฝั่งธนบุรีให้ สะดวกสบายขึ้น ซึ่งจะช่วยระบายรถบนสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้าได้ถึง 30% และ บนสะพานกรุงธน อีก 20% และยังสามารถลดมลพิษทางอากาศบริเวณในเมือง โดยเริ่มเปิดให้ใช้ตั้งแต่วันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 เวลา 7:00 น.
  • 4. ลักษณะโดยทั่วไป สะพานพระราม 8 มีความยาวรวม 475 เมตร สูงเท่าสะพานสมเด็จพระปิ่น เกล้าและความลาดชันไม่เกิน 3% เป็นสะพานหลักช่วงข้ามแม่น้า 300 เมตร สะพาน ยึดช่วงบนบก 100 เมตร และสะพานช่วงโครงสร้างยึดเสา 75 เมตรมีรูปแบบโดด เด่นสวยงามเพราะได้ออกแบบเป็นสะพานขึงแบบอสมมาตรซึ่งหมายความว่ามีเสา สะพานหลักเสาเดียวบนฝั่งธนบุรี และมีเสารับน้าหนัก 1 ต้นบนฝั่งพระนคร จึงไม่มี เสารับน้าหนักตั้งอยู่ในแม่น้าเจ้าพระยา ทาให้ไม่มีปัญหาต่อการสัญจรทางน้า ช่วย ป้องกันน้าท่วมและระบบนิเวศวิทยาในน้า รวมทั้งไม่กระทบต่อการจัดตั้งกระบวน พยุหยาตราชลมารค
  • 5. การรับน้าหนักของสะพาน ได้ติดตั้งสายเคเบิลระนาบคู่ 28 คู่ขึงยึดพื้นช่วงข้ามแม่น้า และใช้สายเคเบิลระนาบเดี่ยว 28 เส้น ขึงยึดรั้งกับโครงสร้างยึดเสาสะพานบนฝั่งธนบุรี เคเบิลแต่ละเส้นประกอบด้วยสลิงตั้งแต่ 11-65 เส้น เมื่อเกิดปัญหากับเคเบิล สามารถขึง หรือหย่อนได้ง่าย ไม่จาเป็นต้องปิดการจราจรเหมือนสะพานพระราม 9เนื่องจากเคเบิลแต่ ละเส้นใช้สลิง ภายในซึ่งเป็นขดลวดใหญ่ทาให้ดูแลบารุงรักษาและซ่อมแซมยากกว่า อีกทั้ง สายเคเบิลของสะพานพระราม 8 ยังมีสีเหลืองทอง สีประจาพระองค์ของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว เมื่อสะท้อนแสงจะส่องประกายสวยงาม โดยเฉพาะยามค่าคืน ด้านมาตรฐานความปลอดภัยได้ทดสอบแรงดึงในลวดสลิง 1 ล้านครั้ง โดยใช้แรงดึง ปกติ 10 ตัน ไม่มีปัญหา และต้องใช้แรงดึงถึง 27 ตัน ลวดสลิงถึงขาดแต่ก็แค่ 1% เท่านั้น นอกจากนี้ได้มีการทดสอบแรงลม แรงสั่นสะเทือน ทิศทางลม รวมทั้งติดตั้ง เครื่องวัดไว้ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อดูความผิดปกติที่อาจจะเกิดขึ้น
  • 6. สะพานพระราม 8 เป็นสะพานขึงแบบอสมมาตรที่ติดอันดับ 5 ของโลก รองจากประเทศ เยอรมนีซึ่งติดอันดับถึง 3 สะพาน และประเทศเนปาล โดยนับจากความยาวช่วงของสะพานส่วน สะพานพระราม 9 ซึ่งเป็นสะพานขึงตัวแรกแต่เป็นแบบสมมาตร เพราะมี 2 เสา ถือว่าอยู่ในอันดับ ที่ 18 ของโลก โดยนับความยาวช่วงของสะพานได้ 450 เมตร ความโดดเด่นสวยงาม ที่เกิดขึ้น ผสมผสานไปด้วยศิลปะแบบไทย ๆ จากแนวคิดในการสร้างเพื่อ เป็นพระบรมราชานุสรณ์เฉลิมพระเกียรติในหลวงพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันท มหิดล รัชกาลที่ 8 กรุงเทพมหานครจึงได้อัญเชิญ "พระราชลัญจกร" ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ประจา พระองค์ มาเป็นต้นแบบในการออกแบบทางสถาปัตยกรรม การออกแบบกาหนดทิศทางของสะพานและพระบรมราชานุสรณ์ ได้ออกแบบให้ประจวบ เหมาะสัมพันธ์กับธรรมชาติวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ในวันที่ ๒๑/๒๒ ธันวาคม ของทุกปี โดยในเวลาเช้ามืดดวงอาทิตย์โผล่เด่นพ้นขอบฟ้าขึ้นตรงเส้นกลางถนนบนสะพานด้านทิศ ตะวันออก และ ขึ้นตรงหน้าพระบรมราชานุสรณ์ ช่างน่าอัศจรรย์ยิ่ง เสมือนเป็นมาตรที่บ่งบอกทิศ ทางการโคจรเป็นวงรี วกกลับของดวงอาทิตย์เมื่อเทียบในระนาบ๒ มิติตามวิถีคิดในอดีตกาล
  • 7. ส่วนประกอบของสะพาน ส่วนประกอบต่าง ๆ ของสะพานเน้นความโปร่งบาง เรียบง่าย และสวยงาม วัสดุ ที่ใช้ในโครงสร้างของสะพานเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม เช่น ในส่วนสะพานเสาสูง รูปตัว Y คว่า เป็นเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก ทาหน้าที่หิ้วส่วนโครงสร้างสาคัญอื่นๆ ของสะพาน ซึ่งมองเห็นได้ในระยะไกล ๆ ได้ออกแบบโดยใช้เค้าโครงมโนภาพของ เรือนแก้ว ราวกันตก ซึ่งทาจากโลหะออกแบบเป็นลวดลายที่วิจิตรและอ่อนช้อย จาลองมา จากดอกบัวและกลีบบัวเสาโครงสร้างใต้แผ่นพื้นตกแต่งด้วยลวดลาย ที่จาลองจาก ดอกบัวใช้วัสดุที่มีน้าหนักเบา มีคุณสมบัติช่วยสะท้อนแสงลงสู่ผิวจราจรใต้ทาง ยกระดับ ช่วยเพิ่มความสว่างบริเวณใต้ทางยกระดับและประหยัดไฟฟ้าในเวลา กลางคืน
  • 8. สิ่งพิเศษสุดของสะพานพระราม 8 ที่สะพานอื่นในกรุงเทพมหานครยังไม่มีก็คือ ที่ปลายยอดเสาสูงของตัวสะพานจะมีจุดชมทิวทัศน์ ซึ่งมีโครงสร้างโลหะกรุกระจก ลักษณะคล้ายดอกบัว สูงจากพื้นดินถึง 165 เมตร หรือสูงเท่าตึก 60 ชั้น พื้นที่ 35 ตารางเมตร จุคนได้ครั้งละเกือบ 50 คนซึ่งจะเปิดให้บริการกับประชาชนทั่วไปด้วย แต่การก่อสร้างส่วนนี้จะแล้วเสร็จภายหลังพร้อม ๆ กับลิฟต์ของคนพิการซึ่งอยู่หัว มุม 2 ฝั่งแม่น้า ประมาณเดือนกันยายนเนื่องจากโครงสร้างเสาสูงเป็น แบบตัว Y คว่าการขึ้นลงจุดชมทิวทัศน์จึงต้องติดตั้งลิฟต์ทั้งในแนวเฉียงและแนวดิ่ง โดยเป็น แนวเฉียงจากพื้นดิน 80 เมตรก่อน จากนั้นจึงเป็นแนวดิ่งอีก 155 เมตร แต่ บรรทุกได้เที่ยวละประมาณ 5 คน ใช้เวลาขึ้น-ลง 2-3 นาที นอกจากนี้ยังมีลิฟต์ ธรรมดาอยู่คนละด้านเพื่อใช้สาหรับเจ้าหน้าที่ในการดูแลและตรวจตราสะพาน
  • 9. ผลกระทบจากการก่อสร้าง อย่างไรก็ตาม การก่อสร้างสะพานพระราม 8 ก็มีผลกระทบกับคนกลุ่มหนึ่งซึ่ง เป็นชุมชนรายรอบการก่อสร้างต้องสละถิ่นฐานที่เคยอยู่เพื่อส่วนรวม แต่ใช่ว่า สะพานเสร็จแล้ว ชุมชนจะเลือนหายไปเหลือแค่ความทรงจา กรุงเทพมหานครยัง ตระหนักในเรื่องนี้ แม้ไม่อาจทาให้ฟื้นกลับให้เหมือนเดิม แต่อย่างน้อยพื้นที่ที่เคย เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยจะถูกนามาจาลองไว้ โดยจะเข้าไปปรับปรุงพื้นที่ 50 ไร่ บริเวณ สะพานพระราม 8 เพื่อก่อสร้างสวนสาธารณะขนาดใหญ่ ซึ่งรวมถึงพิพิธภัณฑ์ของ รัชกาลที่ 8 พระราชกรณียกิจของกษัตริย์ไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ และพิพิธภัณฑ์ ที่แสดงถึงวิถีชีวิตดั้งเดิมของประชาชนในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ อาทิ ชุมชนบ้านปูน โรงงานสุราบางยี่ขัน ซึ่งให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นผู้ออกแบบ รายละเอียด
  • 10. สะพานพระราม 8 เป็นสะพานขึงแบบอสมมาตรเสาเดี่ยว3ระนาบที่ยาว ที่สุดในโลกกล่าวคือ ขึงด้วยเคเบิลระนาบคู่บริเวณตัวสะพาน (Main Bridge) จานวน 28 คู่ และขึงด้วยเคเบิลระนาบเดียวช่วงหลังสะพาน (Back Span) ่ จานวน 28 เคเบิล สะพานมีความยาวทั้งสิ้น 475 เมตร โดยมีช่วงตัวสะพาน ยาว 300 เมตร (ซึ่งนับว่ายาวที่สุดในโลกในสะพานที่มีลักษณะนี้) และช่วงหลัง สะพานยาว 175 เมตร เปรียบเทียบกับสะพาน Nový Mostข้ามแม่น้าดานูบ ในประเทศสโลวาเกีย ช่วงกลางสะพานยาว 303 เมตร และความยาวทั้งหมด รวมทั้งสิ้น 430.8 เมตร