SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
กลุ่มงาน
สังคมสงเคราะห์
โรงพยาบาลพระ
ศรีมหาโพธิ์
 ผู้ป่วยจิตเภทส่วนใหญ่ มีอาการกำาเริบ
จากการ ไม่กินยาต่อเนื่อง ญาติขาด
ความรู้การดูแลผู้ป่วย ขาดทักษะใน
การติดต่อสื่อสารกับผู้ป่วยอย่าง
เหมาะสม มีความคาดหวังต่อตนเอง
และผู้ป่วยในการดูแลผู้ป่วยให้
ประสบผลดี
เนื่องจากญาติ เป็นบุคคลสำาคัญ ใน
การดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้าน การดูแลและ
พัฒนาศักยภาพของญาติ จะช่วยให้ญาติมี
ความรู้ ความเข้าใจ ในประเด็นต่างๆ เช่น
เมื่อญาติมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ
โรคจิตเภทแล้ว
จะส่งผลให้มีแนวทางในการดูแลผู้ป่วย
ได้ถูกต้องและเหมาะสม
การมีกลุ่มญาติ จึงช่วยให้เกิดการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
เสริมสร้างกำาลังใจซึ่งกันและกัน ช่วย
ลดความคาดหวัง ความหนักใจ
ความเครียดของญาติ ได้ฝึกทักษะ
ต่างๆ เพื่อนำาไปใช้ในการดูแลผู้ป่วย
 เพื่อให้ญาติผู้ป่วย
ได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ
โรคจิตเภท ในประเด็น สาเหตุ อาการ
การรักษา และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการ
กำาเริบ
ลดโอกาสกำาเริบ ทำาให้ญาติลดภาระ
ในการดูแลผู้ป่วยจิตเภท
ความสัมพันธ์ระหว่างญาติและผู้ป่วย
ดีขึ้น ส่งผลต่อสุขภาพจิตของครอบครัว
ช่วยให้ญาติลดความเครียด ความ
คับข้องใจ เรียนรู้วิธีคลายเครียดด้วย
 ญาติหรือสมาชิกในครอบครัวของผู้
ป่วยจิตเภทที่รักษาตัวอยู่ที่โรง
พยาบาล ทั้งแบบผู้ป่วยนอกและผู้
ป่วยใน โดยมีคุณสมบัติ ดังนี้
1. มีบทบาทสำาคัญในการดูแลผู้
ป่วยหรือใกล้ชิดกับผู้ป่วยมากที่สุด
2. มีความประสงค์เข้าร่วมกิจกรรม
ด้วยความสมัครใจ
3. สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้
ครบถ้วน ตั้งแต่ต้นจนจบ
 รูปแบบกิจกรรม มี 2 รูปแบบ
1. กลุ่มการเรียนรู้และเสริมสร้าง
กำาลังใจ
2. กิจกรรมกลุ่มเสริมพลังเครือข่าย
ญาติผู้ป่วยจิตเภท
1. กลุ่มการเรียนรู้และเสริมสร้าง
กำาลังใจ
ใช้รูปแบบการจัดกิจกรรมกลุ่ม
แบบมีส่วนร่วม และมีโครงสร้าง
1. การสร้างความสัมพันธ์และแรง
จูงใจ
2. ความรู้เรื่องโรคจิตเภท ( อาการ
และสาเหตุ )
3. ความรู้เรื่องโรคจิตเภท ( การรักษา
และการป้องกัน )
4. ความรู้สึกและความคาดหวังของ
ญาติต่อผู้ป่วยจิตเภท
5. การสื่อสารระหว่างญาติกับผู้ป่วย
6. บทบาทของญาติในการดูแลปรับ
ความรู้เรื่องโรคจิตเภท
อาการ สาเหตุ การรักษา
งญาติในการดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วยจ
 เป็นกลุ่มเปิด สมาชิกสามารถเข้า
ร่วมกิจกรรมกลุ่มในแผนกิจกรรมใด
ก่อนก็ได้ แต่ต้องเข้าร่วมกิจกรรม
อย่างต่อเนื่องต่อไปจนครบ 8 แผน
กิจกรรม จึงจะสามารถประเมินผลได้
 การเข้าร่วมกิจกรรมครั้งแรก ต้อง
ทำาแบบประเมินผลก่อนเข้าร่วม
กิจกรรมทุกคน pre –test ( แบบ
ประเมินความรู้ เจตคติและทักษะใน
การดูแลผู้ป่วย) มีการประเมินผลการ
เข้าร่วมกิจกรรมทุกครั้งหลังจบกลุ่ม
 วัน - เวลา เข้าร่วมกิจกรรม ทุกวัน
อังคาร เวลา 11.00-12.00 น. วันละ 1
แผนกิจกรรม ดำาเนินการตั้งแต่ปี
2555 – ปัจจุบัน
 สถานที่ ห้องกิจกรรมกลุ่ม กลุ่มงาน
สังคมสงเคราะห์ โรงพยาบาลพระ
ศรีมหาโพธิ์ ( เดิมใช้สถานที่ร่วมกับคลินิกรักษ์
จิตอุ่นใจ )
 ใช้รูปแบบการจัดกิจกรรมกลุ่ม
แบบมีส่วนร่วม ประกอบด้วย
1. การแลกเปลี่ยนประสบการณ์
2. การเปิดเผยความรู้สึกต่อสมาชิก
กลุ่ม
3. การประชุมปรึกษาแสดงความคิด
เห็น
4. ผู้นำากลุ่มสรุปและบรรยายประเด็น
สำาคัญ
5. ฝึกปฏิบัติโดยการสวมบทบาท
โครงการพัฒนาศักยภาพญาติ ในการดูแลผู้ป่วย
จิตเภท ด้วยกิจกรรมกลุ่มและการเสริมพลังเครือ
ข่ายญาติ ดำาเนินการเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2556
ณ หอประชุมโรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์
ประกอบด้วย 1. กิจกรรมเปิดใจ 2. กิจกรรมกลุ่มสายใยรักผู้
ป่วยและญาติ 3. กิจกรรมกลุ่มสร้างพลังเครือข่ายญาติ
1. ญาติมีความเข้าใจ ลดความคาดหวัง
ความกังวล มีมุมมองต่อการแก้ไขปัญหาที่
หลากหลาย ตระหนักในบทบาทการดูแลผู้
ป่วยมากขึ้น ได้ฝึกทักษะใหม่ๆ ในการดูแล
ตัวเองและผู้ป่วย ทำาให้ผู้ป่วยลดอัตรา
กำาเริบซำ้า
2. ผู้ป่วยที่ญาติเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มพัฒนา
ศักยภาพญาติฯ มีอัตราการไม่กลับมารักษา
ซำ้าภายใน 1 ปี เป็นไปตามเป้าหมาย ( ร้อย
ละ 90 ) คือ 92.31 , 90.14 , 94.11 ในปี
2555 , 2556 , 2557
94.11
90.14
92.31
 ความเปลี่ยนแปลงที่พบ ( สัมภาษณ์จาก
การถอดบทเรียนและติดตามหลังจากมาเข้า
กลุ่มในแต่ละครั้ง )
ญาติ :
- มีความเข้าใจผู้ป่วย ลดความคาด
หวังที่มีต่อผู้ป่วยได้ ไม่กดดันผู้ป่วย
( จากเดิมที่ญาติต้องการให้ผู้ป่วยช่วย
ทำางาน) จนส่งผลให้บรรยากาศการ
อยู่ด้วยกันระหว่างญาติและผู้ป่วยดีขึ้น
- มีแนวทางในการดูแลผู้ป่วย โดย
เฉพาะการสนับสนุนให้ผู้ป่วย ได้รับการ
- สามารถลดความกังวลให้
แก่ญาติได้ ภายหลังจากที่ญาติมี
ความรู้และ มีทักษะในการจัดการ
กับอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
รู้จักสังเกตอาการผิดปกติที่เกิดขึ้น
- มีทักษะในการสื่อสารกับผู้ป่วย
เหมาะสมมากขึ้น เช่น ไม่ตะคอกใส่ผู้
ป่วยจนผู้ป่วยรู้สึกอับอายเพื่อนบ้าน
ไม่ด่าทอ สามารถบอกดีๆ พูดคุยถึง
ความต้องการของตนได้อย่างตรงไป
ตรงมา
- มีความรู้สึกที่ดีต่อผู้ป่วยมากขึ้น
- ญาติเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแล
ช่วยเหลือผู้ป่วยมากขึ้น ไม่ปล่อยให้
ผู้ป่วยใช้ชีวิตตามลำาพัง / โดดเดี่ยว
เหมือนก่อน โดยญาติจะมารับผู้ป่วย
ไปพักอาศัยอยู่ต่างจังหวัดด้วยกัน
- ญาติมองเห็นประโยชน์ของการ
เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มฯ เนื่องจากญาติ
ได้พบปะกับครอบครัวของผู้ป่วยรา
ยอื่นๆ ได้ระบายความรู้สึก ได้ปรับ
ทุกข์ ได้รับฟังประสบการณ์ การดูแล
ผู้ป่วยของแต่ละครอบครัว ทำาให้
ญาติ / ครอบครัว มีมุมมองที่หลาก
หลาย ได้เรียนรู้เทคนิคใหม่ๆ ไปปรับ
 ผู้ป่วยมีอาการทางจิตสงบ ช่วย
เหลืองานได้ เช่น ล้างถ้วยชาม ปัด
กวาดบ้าน เก็บดอกมะลิให้แม่ร้อย
มาลัยขาย เลี้ยงไก่ เลี้ยงหมู เป็น
พนักงานเก็บค่าโดยสารรถประจำา
ทางอยู่ต่างจังหวัด ขายผัก ขายผ้า
ที่ตลาดนัด ขายต้นไม้ จัดเตรียม
ร้านก๋วยเตี๋ยวช่วยแม่ ช่วยพ่อขับรถ
แม็คโคร ช่วยกรีดยาง เป็นต้น
 ผู้ป่วยได้รับกำาลังใจ จากการที่ญาติ
ญาติ…. “เดี๋ยวนี้ฉันดูแลเขาให้สะอาด
จัดยาให้เขากินไม่เคยลืม ถ้าเขาโมโหก็
พยายามไม่ดุด่าเขา พูดกับเขาดีๆ เขาก็
อ่อนลง หลังจากอบรมไป เขาดีขึ้นมาก ไม่
โมโหแม่อีก ฉันว่าฉันเป็นคนดี
( ไม่ป่วย ) ฉันต้องเข้าใจคน
ป่วย”
พยาบาลประจำาตึกผู้ป่วยใน
ที่ส่งญาติเข้ากลุ่ม…. “ทำาให้
ญาติลดทัศนคติที่ไม่ดีต่อผู้ป่วย
ญาติเข้าใจสาเหตุของการป่วย ร่วม
มือในการดูแลรักษาผู้ป่วย ด้าน
อารมณ์ของญาติ ผ่อนคลาย ไม่
เครียด ด้านการพยาบาล ลดภาระ
การสอนรายบุคคล แพทย์จำาหน่ายผู้
ได้ Psychoeducation เป็นกลุ่ม
ถ้าเป็นกลุ่มปกติจะไม่กล้าถาม ในกลุ่ม
ญาติจะกล้าถามมากกว่า ญาติมีความ
มั่นใจในการดูแล นิ่งขึ้น สามารถ
ดูแลไม่ให้ผู้ป่วยก้าวร้าว มีวิธีการพา
ผู้ป่วยมารับการรักษาหลายช่องทาง
ลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้
ไม่มีการบาดเจ็บ มีกลุ่มที่
คอยSupportจิตใจ ประคับประคอง
กันได้ มีโอกาสพูดในสิ่งที่ไม่สบายใจ
ในการดูแลผู้ป่วย มีกลุ่ม Support
และ Ventilation และญาติมีทักษะ
การสื่อสาร ลดการตำาหนิผู้ป่วย รู้ว่า
ตัวกระตุ้น
 ญาติเป็นบุคคลสำาคัญต่อการหาย
ทุเลาของผู้ป่วยจิตเภท การพัฒนา
ศักยภาพญาติ ส่งผลดีต่อการไม่กลับ
มารักษาซำ้าของผู้ป่วย
 การเรียนรู้และเสริมสร้างกำาลังใจ
แบบมีส่วนร่วม ทำาให้ญาติเรียนรู้ได้
ดี และมีการช่วยเหลือกันแบบเพื่อน
ช่วยเพื่อน ( self help group )
กลุ่มพัฒนาศักยภาพญาติในการดูแลผู้ป่วย เพื่อลดการกำเริบซ้ำของผู้ป่วยจิตเภท

More Related Content

Similar to กลุ่มพัฒนาศักยภาพญาติในการดูแลผู้ป่วย เพื่อลดการกำเริบซ้ำของผู้ป่วยจิตเภท

นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขต
jd18122505
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
Apichat kon
 
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Utai Sukviwatsirikul
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภา1
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภา1แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภา1
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภา1
Thanom Sak
 

Similar to กลุ่มพัฒนาศักยภาพญาติในการดูแลผู้ป่วย เพื่อลดการกำเริบซ้ำของผู้ป่วยจิตเภท (20)

167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
 
นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขต
 
Book club 2
Book club 2Book club 2
Book club 2
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
เจน
เจนเจน
เจน
 
Patient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in CanadaPatient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in Canada
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
07 health wisdom
07 health wisdom07 health wisdom
07 health wisdom
 
Health at home for corporate 2017
Health at home for corporate 2017Health at home for corporate 2017
Health at home for corporate 2017
 
Pochai
PochaiPochai
Pochai
 
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
 
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปีคู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
 
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdfรายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
 
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
 
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
 
Kronggnan kuu
Kronggnan kuuKronggnan kuu
Kronggnan kuu
 
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภา1
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภา1แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภา1
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภา1
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภา1
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภา1แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภา1
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภา1
 

กลุ่มพัฒนาศักยภาพญาติในการดูแลผู้ป่วย เพื่อลดการกำเริบซ้ำของผู้ป่วยจิตเภท