SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
วิชาการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น (ง32101)
โรงเรียนเรยีนาเชลีวิทยาลัย

ภาษาจาวาเบื้องต้น
ภาษาจาวา (JAVA)

โครงสร้างภาษาจาวา
ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท Sun

ภาษาจาวามี แ นวคิ ด การเขี ย นโปรแกรมแบบเชิ ง วั ต ถุ

Microsystem โดยพัฒนาให้เป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม
เชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming - OOP) และให้

โปรแกรมจะเริ่มต้นโดยการสร้างคลาสจากนั้นจะเขียนคาสั่งต่าง ๆ
ในคลาส ตั ว อย่ างเช่ น ต้อ งการเขี ย นโปรแกรมแสดงข้ อ ความ

สามารถทางานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีสภาพแวดล้อมแตกต่าง

Hello World จะต้องเขียนคาสั่งดังนี้

กันได้โดยไม่ต้องคอมไพล์โปรแกรมใหม่ ซึ่งเรียกคุ ณสมบัตินี้ว่ า
Platform independent และภาษานี้เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย
ในปี 1995
โปรแกรมภาจาวาจะท างานได้ ต้ อ งอาศั ย ระบบซึ่ ง
เปรียบเสมือนระบบปฏิบัติการที่เรียกว่า จาวาแพลตฟอร์ม (JAVA
Platform)
โปรแกรมภาษาจาวา
ภาษาจาวาเป็ น
ภาษาที่เ กิดขึ้ นมาได้ไ ม่นาน
และเป็นภาษาที่ได้รับความ
นิ ย มอย่ า งมากในปั จ จุ บั น
การเขียนโปรแกรมแกรม
ด้วยภาษาจาวานั้ นสามารถ
เขียนโปรแกรมให้รันบน

โปรแกรม Java Application
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ไม่ยึดติดกับแพลตฟอร์มใดๆ นอกจากนี้ยั ง
สามารถรันบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ โปรแกรมภาษาจาวาแบ่ง
ออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. Java Application เป็นโปรแกรมที่พัฒนาให้ทางานบน
เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ โดยอาจติ ด ต่ อ กั บ ผู้ ใ ช้ ท าง
Command Prompt หรืออาจติดต่อกับผู้ใช้แบบ
กราฟิก(Graphical User Interface : GUI)
2. Java Servlet หรือ Java Applet เป็นโปรแกรมที่
พัฒนาให้ทางานบนเครือข่าย

หากต้ อ งการสร้ า งโปรแกรมต้ น ฉบั บ หรื อ Source
Code
จะต้ อ งเขีย นให้ อ ยู่ ใ นรูป แบบโครงสร้ า งของภาษา
จาวาโดยโครงสร้างพื้นฐานของโปรแกรมเป็นดังนี้
public class HelloWorld {
public static void main(String[] args) {
System.out.println("Hello World ! ");
} }
เมธอดแสดงผลทางจอภาพพื้นฐาน
การแสดงผลทางจอภาพเป็นเมธอดแรกที่ต้องศึกษาใน
ภาษาจาวาจะใช้เมธอด print และ println เมธอดทั้งสองนี้จะ
ถูกบรรจุอยู่ในออบเจ็กต์ชื่อ out ซึ่งบรรจุอยู่ในคลาส System
การเรียกใช้เมธอดต่าง ๆ จะใช้เครื่องหมาจุด ( . ) ในการอ้างอิง
เช่น System.out.print
การแสดงผลด้วยเมธอด print
ข้อมูลที่แสดงผลเป็นข้อมูลแบบ String

หรือ println

นั้น

หากต้องการแสดงผล

ข้อมูลจานวนหลายตัวสามารถใช้เครื่องหมาย + ในการเชื่อมต่อ
ข้อมูลได้ ดังนี้
public class TestEx {
public static void main(String[] args) {
System.out.print("This is " + "a string" + 1); } }
วิชาการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น (ง32101)
โรงเรียนเรยีนาเชลีวิทยาลัย

เมธอดรับข้อมูลพื้นฐาน (Class Scanner)

การรับค่าข้อมูลทางคีย์บอร์ดและแสดงผลข้อมูล
ออกทางจอภาพ สาหรับการรับข้อมูลผ่านทางคีย์บอร์ดนั้น
ในภาษาจาวาต้องสร้างออบเจ็กต์ของคลาส Scanner
ตัวแปรออบเจ็กต์ = new ชื่อคลาส(อาร์กิวเมนต์)
Scanner keyboard = new Scanner(System.in);
int number = 0 ;
Scanner keyboard = new Scanner(System.in);
System.out.print("Enter number : ");
number = keyboard.nextInt();
ตั ว แปรคื อ ชื่ อ ที่ ก าหนดขึ้ น ส าหรั บ เก็ บ ข้ อ มู ล ถ้ า หาก
ระบบต้องการเก็บข้อมูลที่รับเข้ามาจากการ input หรือต้องการ
เก็บข้อมูลโดยค่าของข้อมูลสามารถเปลี่ยนแปลงได้ จะต้องจอง
พื้นที่ในหน่วยความจาของคอมพิวเตอร์สาหรับเก็บข้อมูล โดยชื่อ
ตัวแปรจะเป็นตัวแทนตาแหน่งของหน่วยความจา
รูปแบบการประกาศตัวแปรในภาษาจาวา มีดังนี้
รูปแบบ
dataType variableName[, variableName];
ตัวอย่าง int x;
หรื อ ในกรณี ที่ มี ตั ว แปรหลายตั ว แต่ เ ป็ น ข้ อ มู ล ชนิ ด
เดียวกัน int x , y;
การกาหนดค่าเริ่มต้นของตัวแปรใช้เครื่องหมาย ( = ) ดังนี้
รูปแบบ
ตัวแปร = ค่าที่กาหนด;
เช่น int x = 10 ;
หรือในกรณีที่มีตัวแปรหลายตัวแต่เป็นข้อมูลชนิดเดียวกัน
int x = 10 , y = 12;
ชนิดของตัวแปรในภาษาจาวา
1. ข้อมูลพื้นฐาน (primitive data type)
2. ข้อมูลแบบอ้างอิง (reference data type)

 ข้อมูลพื้นฐาน
ประเภท
ข้อมูล
boolean
char
Byte
Short
int
Long
float
double

ขนาด

ช่วงการเก็บข้อมูล

1
2
1
2
4
8
4
8

เก็บค่า true หรือ false
เก็บอักขระแบบ Unicode
-128 ถึง +127
-32,768 ถึง +32,767
-2,147,483,648 ถึง +2,147,483,647
-263 ถึง +263-1
-3.4E+38 ถึง 3.4E+38
-1.7E+308 ถึง 1.7+308

บิต
ไบต์
ไบต์
ไบต์
ไบต์
ไบต์
ไบต์
ไบต์

 ข้อมูลแบบอ้างอิง
String เป็นข้อมูลประเภทข้อความ ตัวอย่างเช่น

String school = “Regina”;
ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์
ตัวดาเนินการ
+
*
/
%

ความหมาย
บวก

ตัวอย่างนิพจน์
total = 19,000 +
1,000;
ลบ
cost = 12,000 –
1,000;
คูณ
tax = 150 * 1.5;
หาร
salePrice = 1000 / 2
(MOD) หาร x = 8%2
เอาเศษ

ค่าของตัวแปร
20,000
11,000
225
500
0

ลาดับของตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์
ลาดับตัวดาเนินการ
- (unary negation)
*/ %
+ -

ตัวอย่าง

5+2*4

ลาดับความสาคัญ
ความสาคัญสูงสุด
ความสาคัญรองลงมาถ้ามีหลายตัวในนิพจน์
เดียวกันจะเรียงจากซ้ายไปขวา
ความสาคั ญ ต่าสุด ถ้ า มีห ลายตัว ในนิพ จน์
เดียวกันจะเรียงจากซ้ายไปขวา

ได้ค่าเป็น

13

** ถ้ามีเครื่องหมาย () จะทาในวงเล็บก่อน เช่น (5 + 2) * 4 ได้ 28

More Related Content

Similar to Unit2 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาจาวา

การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
งานPblที่2
งานPblที่2งานPblที่2
งานPblที่2Naynoyjolii
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C0872671746
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมthanapon51105
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานKEk YourJust'one
 
Java Programming [1/12] : Introduction
Java Programming [1/12] : IntroductionJava Programming [1/12] : Introduction
Java Programming [1/12] : IntroductionIMC Institute
 
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่jamiezaa123
 
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxeruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxssuser07f67b
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++Naowarat Jaikaroon
 
แบบทดสอบข้อสอบ O net
แบบทดสอบข้อสอบ O netแบบทดสอบข้อสอบ O net
แบบทดสอบข้อสอบ O netPawit Chamruang
 

Similar to Unit2 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาจาวา (20)

Know4 3
Know4 3Know4 3
Know4 3
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
Pascal
PascalPascal
Pascal
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
งานPblที่2
งานPblที่2งานPblที่2
งานPblที่2
 
งานPbl 2
งานPbl 2งานPbl 2
งานPbl 2
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
Java Programming [1/12] : Introduction
Java Programming [1/12] : IntroductionJava Programming [1/12] : Introduction
Java Programming [1/12] : Introduction
 
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxeruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Know 1 1
Know 1 1Know 1 1
Know 1 1
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
ภาษาจาวา 1
ภาษาจาวา 1ภาษาจาวา 1
ภาษาจาวา 1
 
แบบทดสอบข้อสอบ O net
แบบทดสอบข้อสอบ O netแบบทดสอบข้อสอบ O net
แบบทดสอบข้อสอบ O net
 

More from IrinApat

Unit2 communication
Unit2 communicationUnit2 communication
Unit2 communicationIrinApat
 
Unit1 ecommercedesign
Unit1 ecommercedesignUnit1 ecommercedesign
Unit1 ecommercedesignIrinApat
 
Unit1 design
Unit1 designUnit1 design
Unit1 designIrinApat
 
Unit1 ecommerce
Unit1 ecommerceUnit1 ecommerce
Unit1 ecommerceIrinApat
 
Html5 overview
Html5 overviewHtml5 overview
Html5 overviewIrinApat
 
Overview (computer)
Overview (computer)Overview (computer)
Overview (computer)IrinApat
 
Unit1 psudocode
Unit1 psudocodeUnit1 psudocode
Unit1 psudocodeIrinApat
 
Unit1 decveloping concept
Unit1 decveloping conceptUnit1 decveloping concept
Unit1 decveloping conceptIrinApat
 
U1 computer language
U1 computer languageU1 computer language
U1 computer languageIrinApat
 
Programming overview M.5
Programming overview M.5Programming overview M.5
Programming overview M.5IrinApat
 

More from IrinApat (10)

Unit2 communication
Unit2 communicationUnit2 communication
Unit2 communication
 
Unit1 ecommercedesign
Unit1 ecommercedesignUnit1 ecommercedesign
Unit1 ecommercedesign
 
Unit1 design
Unit1 designUnit1 design
Unit1 design
 
Unit1 ecommerce
Unit1 ecommerceUnit1 ecommerce
Unit1 ecommerce
 
Html5 overview
Html5 overviewHtml5 overview
Html5 overview
 
Overview (computer)
Overview (computer)Overview (computer)
Overview (computer)
 
Unit1 psudocode
Unit1 psudocodeUnit1 psudocode
Unit1 psudocode
 
Unit1 decveloping concept
Unit1 decveloping conceptUnit1 decveloping concept
Unit1 decveloping concept
 
U1 computer language
U1 computer languageU1 computer language
U1 computer language
 
Programming overview M.5
Programming overview M.5Programming overview M.5
Programming overview M.5
 

Unit2 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาจาวา

  • 1. วิชาการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น (ง32101) โรงเรียนเรยีนาเชลีวิทยาลัย ภาษาจาวาเบื้องต้น ภาษาจาวา (JAVA) โครงสร้างภาษาจาวา ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท Sun ภาษาจาวามี แ นวคิ ด การเขี ย นโปรแกรมแบบเชิ ง วั ต ถุ Microsystem โดยพัฒนาให้เป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming - OOP) และให้ โปรแกรมจะเริ่มต้นโดยการสร้างคลาสจากนั้นจะเขียนคาสั่งต่าง ๆ ในคลาส ตั ว อย่ างเช่ น ต้อ งการเขี ย นโปรแกรมแสดงข้ อ ความ สามารถทางานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีสภาพแวดล้อมแตกต่าง Hello World จะต้องเขียนคาสั่งดังนี้ กันได้โดยไม่ต้องคอมไพล์โปรแกรมใหม่ ซึ่งเรียกคุ ณสมบัตินี้ว่ า Platform independent และภาษานี้เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย ในปี 1995 โปรแกรมภาจาวาจะท างานได้ ต้ อ งอาศั ย ระบบซึ่ ง เปรียบเสมือนระบบปฏิบัติการที่เรียกว่า จาวาแพลตฟอร์ม (JAVA Platform) โปรแกรมภาษาจาวา ภาษาจาวาเป็ น ภาษาที่เ กิดขึ้ นมาได้ไ ม่นาน และเป็นภาษาที่ได้รับความ นิ ย มอย่ า งมากในปั จ จุ บั น การเขียนโปรแกรมแกรม ด้วยภาษาจาวานั้ นสามารถ เขียนโปรแกรมให้รันบน โปรแกรม Java Application เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ไม่ยึดติดกับแพลตฟอร์มใดๆ นอกจากนี้ยั ง สามารถรันบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ โปรแกรมภาษาจาวาแบ่ง ออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. Java Application เป็นโปรแกรมที่พัฒนาให้ทางานบน เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ โดยอาจติ ด ต่ อ กั บ ผู้ ใ ช้ ท าง Command Prompt หรืออาจติดต่อกับผู้ใช้แบบ กราฟิก(Graphical User Interface : GUI) 2. Java Servlet หรือ Java Applet เป็นโปรแกรมที่ พัฒนาให้ทางานบนเครือข่าย หากต้ อ งการสร้ า งโปรแกรมต้ น ฉบั บ หรื อ Source Code จะต้ อ งเขีย นให้ อ ยู่ ใ นรูป แบบโครงสร้ า งของภาษา จาวาโดยโครงสร้างพื้นฐานของโปรแกรมเป็นดังนี้ public class HelloWorld { public static void main(String[] args) { System.out.println("Hello World ! "); } } เมธอดแสดงผลทางจอภาพพื้นฐาน การแสดงผลทางจอภาพเป็นเมธอดแรกที่ต้องศึกษาใน ภาษาจาวาจะใช้เมธอด print และ println เมธอดทั้งสองนี้จะ ถูกบรรจุอยู่ในออบเจ็กต์ชื่อ out ซึ่งบรรจุอยู่ในคลาส System การเรียกใช้เมธอดต่าง ๆ จะใช้เครื่องหมาจุด ( . ) ในการอ้างอิง เช่น System.out.print การแสดงผลด้วยเมธอด print ข้อมูลที่แสดงผลเป็นข้อมูลแบบ String หรือ println นั้น หากต้องการแสดงผล ข้อมูลจานวนหลายตัวสามารถใช้เครื่องหมาย + ในการเชื่อมต่อ ข้อมูลได้ ดังนี้ public class TestEx { public static void main(String[] args) { System.out.print("This is " + "a string" + 1); } }
  • 2. วิชาการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น (ง32101) โรงเรียนเรยีนาเชลีวิทยาลัย เมธอดรับข้อมูลพื้นฐาน (Class Scanner) การรับค่าข้อมูลทางคีย์บอร์ดและแสดงผลข้อมูล ออกทางจอภาพ สาหรับการรับข้อมูลผ่านทางคีย์บอร์ดนั้น ในภาษาจาวาต้องสร้างออบเจ็กต์ของคลาส Scanner ตัวแปรออบเจ็กต์ = new ชื่อคลาส(อาร์กิวเมนต์) Scanner keyboard = new Scanner(System.in); int number = 0 ; Scanner keyboard = new Scanner(System.in); System.out.print("Enter number : "); number = keyboard.nextInt(); ตั ว แปรคื อ ชื่ อ ที่ ก าหนดขึ้ น ส าหรั บ เก็ บ ข้ อ มู ล ถ้ า หาก ระบบต้องการเก็บข้อมูลที่รับเข้ามาจากการ input หรือต้องการ เก็บข้อมูลโดยค่าของข้อมูลสามารถเปลี่ยนแปลงได้ จะต้องจอง พื้นที่ในหน่วยความจาของคอมพิวเตอร์สาหรับเก็บข้อมูล โดยชื่อ ตัวแปรจะเป็นตัวแทนตาแหน่งของหน่วยความจา รูปแบบการประกาศตัวแปรในภาษาจาวา มีดังนี้ รูปแบบ dataType variableName[, variableName]; ตัวอย่าง int x; หรื อ ในกรณี ที่ มี ตั ว แปรหลายตั ว แต่ เ ป็ น ข้ อ มู ล ชนิ ด เดียวกัน int x , y; การกาหนดค่าเริ่มต้นของตัวแปรใช้เครื่องหมาย ( = ) ดังนี้ รูปแบบ ตัวแปร = ค่าที่กาหนด; เช่น int x = 10 ; หรือในกรณีที่มีตัวแปรหลายตัวแต่เป็นข้อมูลชนิดเดียวกัน int x = 10 , y = 12; ชนิดของตัวแปรในภาษาจาวา 1. ข้อมูลพื้นฐาน (primitive data type) 2. ข้อมูลแบบอ้างอิง (reference data type)  ข้อมูลพื้นฐาน ประเภท ข้อมูล boolean char Byte Short int Long float double ขนาด ช่วงการเก็บข้อมูล 1 2 1 2 4 8 4 8 เก็บค่า true หรือ false เก็บอักขระแบบ Unicode -128 ถึง +127 -32,768 ถึง +32,767 -2,147,483,648 ถึง +2,147,483,647 -263 ถึง +263-1 -3.4E+38 ถึง 3.4E+38 -1.7E+308 ถึง 1.7+308 บิต ไบต์ ไบต์ ไบต์ ไบต์ ไบต์ ไบต์ ไบต์  ข้อมูลแบบอ้างอิง String เป็นข้อมูลประเภทข้อความ ตัวอย่างเช่น String school = “Regina”; ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ ตัวดาเนินการ + * / % ความหมาย บวก ตัวอย่างนิพจน์ total = 19,000 + 1,000; ลบ cost = 12,000 – 1,000; คูณ tax = 150 * 1.5; หาร salePrice = 1000 / 2 (MOD) หาร x = 8%2 เอาเศษ ค่าของตัวแปร 20,000 11,000 225 500 0 ลาดับของตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ ลาดับตัวดาเนินการ - (unary negation) */ % + - ตัวอย่าง 5+2*4 ลาดับความสาคัญ ความสาคัญสูงสุด ความสาคัญรองลงมาถ้ามีหลายตัวในนิพจน์ เดียวกันจะเรียงจากซ้ายไปขวา ความสาคั ญ ต่าสุด ถ้ า มีห ลายตัว ในนิพ จน์ เดียวกันจะเรียงจากซ้ายไปขวา ได้ค่าเป็น 13 ** ถ้ามีเครื่องหมาย () จะทาในวงเล็บก่อน เช่น (5 + 2) * 4 ได้ 28