SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
การพัฒนาระบบทดสอบใบขับขี่ภาคปฏิบัติด้วย Virtual Reality
Virtual Reality Driving License Test
การพัฒนาระบบทดสอบใบขับขี่ภาคปฏิบัติด้วย Virtual Reality
Virtual Reality Driving License Test
ศุภกร ยงพิพัฒน์
การค้นคว้าอิสระเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ปีการศึกษา 2558
©2559
ศุภกร ยงพิพัฒน์
สงวนลิขสิทธิ์
ฉ
ศุภกร ยงพิพัฒน์. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ,
พฤศจิกายน 2559, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
การพัฒนาระบบทดสอบใบขับขี่ภาคปฏิบัติด้วย Virtual Reality (43 หน้า)
อาจารย์ที่ปรึกษา: ดร.พัฒนพล เหรียญโมรา
บทคัดย่อ
ระบบการฝึกซ้อมและทดสอบการขับขี่รถยนต์ของประเทศไทยในภาคปฏิบัตินั้นมีปัญหาเรื่อง
ความหนาแน่นของประชาชนที่เข้ามาทดสอบเพื่อจะได้ใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ที่มีจานวนมาก ซึ่งบาง
คนขาดการฝึกซ้อมอย่างเพียงพอ ทาให้ทดสอบไม่ผ่านจึงจาต้องกลับไปฝึกซ้อมแล้วกลับมาทดสอบ
ใหม่ซึ่งในการทดสอบแต่ละครั้งทาใช้เวลาเป็นวัน จนทาให้เกิดผลกระทบต่อผู้เข้ามาทดสอบเพราะ
จาเป็นต้องลางานมาเพื่อทดสอบใบขับขี่ภาคปฏิบัติ จึงเห็นว่าการนาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการ
ฝึกซ้อมสามารถทาได้ในรูปแบบการจาลองเสมือนจริงผ่านระบบการจาลองการขับขี่ภาคปฏิบัติ โดย
ระบบทางานในระบบ PC และใช้อุปกรณ์บังคับการขับขี่และแว่นตาจาลองภาพเสมือนจริงเข้ามาช่วย
เพิ่มความเสมือนจริงให้กับระบบจาลอง และภาพในระบบจาลองมีการจาลองแบบทดสอบตาม
หลักสูตรจริงขึ้นมาเพื่อให้ผู้ทดสอบได้ฝึกหัดเพื่อพัฒนาทักษะตนเองได้โดยไม่จาเป็นต้องใช้รถจริง ๆ
ตัวรถยนต์ที่นามาใช้มีระบบการมองผ่านกระจกมองหลังและกระจกข้างเหมือนรถยนต์จริง ๆ โดย
ระบบได้ถูกพัฒนาขึ้นจากโปรแกรมยูนิตี้ทรีดี เพราะเป็นโปรแกรมสามารถช่วยให้การพัฒนาสาเร็จได้
ครบถ้วนเพราะมีคลังตัวช่วยต่าง ๆ ที่สามารถหยิบใช้ได้อย่างครบถ้วน โดยทางผู้พัฒนาได้ทาแบบ
ประเมินความพึงพอใจโดยเก็บข้อมูลจากประชากรกลุ่มตัวอย่างจานวน 10 คน จากแบบทดสอบ
พบว่าความพึงพอใจของประชากรในกลุ่มทดสอบมีความพึงพอใจในระดับที่ดีเยี่ยม เป็นสิ่งยืนยันถึง
คุณภาพและความเสมือนจริงของการพัฒนาระบบทดสอบใบขับขี่ภาคปฏิบัติด้วยระบบการจาลอง
เสมือนจริง
คำสำคัญ: ระบบภำพเสมือนจริง, ยูนิตี้ทรีดี, อุปกรณ์ขับรถใช้กับคอมพิวเตอร์, แว่นจำลองภำพ
เสมือนจริง, กำรทดสอบใบขับขี่ไทย
ช
Yongpiphat, S. M.S. (Information Technology and Management), November 2016,
Graduate School, Bangkok University.
Virtual Reality Driving License Test (43 pp)
Advisor: Phattanapon Rhienmora, Ph.D.
ABSTRACT
Driving License testing system in Thailand is now facing a problem of an
overwhelming numbers of people who comes in for the test. There are numerous
applicators that failed the test and need to go back for more practices before
entering the test again. Since the test usually take almost all-day for the applicator
to finish to process, therefore, having a effect to many worker that need to be
absent at work or take a day-off in order to attend the test. To solve the issue, we
are to replace a new technology over the driving practice system by using a Virtual
Reality (VR) tools and gadgets together with a Driving Wheel handle that connected
to a computer to enhanced the feeling and real-life driving experience. The Virtual
Reality will be exactly the same with the real driving test for users to practice before
the actual test without using a real car. This Virtual Driving system is developed
under 'Unity3D', which is one of the most famous software that has a great number
of libraries, tools and functions to support the project. Our project developers were
running a demo testing over a group of 10 users and said that they are comfortable
with the demo, with a great satisfaction received from the testing users, the quality
of the Virtual Reality of a Driving License Test System is guaranteed.
Keywords: Virtual Reality, Unity3D, LogitechG29, Oculus Rift, Driving License of
Thailand
ฉ
กิตติกรรมประกาศ
การค้นคว้าอิสระฉบับนี้สาเร็จสาเร็จได้ด้วยความกรุณาจาก ดร.พัฒนพล เหรียญโมรา
อาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิ่งกาญจน์ สุขคณาภิบาล คณะกรรมการ
ค้นคว้าอิสระ ที่ท่านคอยให้ความรู้ในด้านต่าง ๆ และคอยให้คาแนะนาเพิ่มเติม คอยให้คาปรึกษาเมื่อ
พบปัญหาภายในงานที่แก้ไม่ได้จนงานวิจัยสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี รวมถึงการให้ยืมอุปกรณ์ในการทา
โครงการ ผู้วิจัยจึงขอกราบขอบคุณมา ณ โอกาสนี้
ขอขอบคุณทางขอบครอบที่ให้การสนับสนุนและคอยให้คาแนะนา รวมถึงงบประมาณในการ
จัดซื้ออุปกรณ์ต่าง ๆ จึงกราบขอขอบคุณมาไว้ ณ โอกาสนี้
ศุภกร ยงพิพัฒน์
ช
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย ง
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ จ
กิตติกรรมประกาศ ฉ
สารบัญตาราง ฌ
สารบัญภาพ ญ
บทที่ 1 บทนา
1.1 ที่มาและความสาคัญของงาน 1
1.2 วัตถุประสงค์ 1
1.3 สิ่งที่คาดหวัง 1
1.4 ขอบเขตและวิธีการศึกษา 2
1.5 เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา 2
1.6 ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษา 3
1.7 ระยะเวลาที่ใช้ในการดาเนินงาน 4
บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม
2.1 ใบขับขี่รถยนต์ 5
2.2 Virtual Reality 6
2.3 Unity3D 7
2.4 งานที่เกี่ยวข้องเรื่องการจาลองการฝึกขับรถ 10
2.5 สรุป 12
บทที่ 3 สถาปัตยกรรม
3.1 Unity3D 13
3.2 Oculus Rift DK2 14
3.3 Logitech G29 15
3.4 Rewired Asset 16
3.5 IK Driver Asset 17
3.6 เปรียบเทียบ Feature 17
3.7 ขั้นตอนการออกแบบ 18
ซ
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน
4.1 การเริ่มต้นการใช้งานเกม 20
4.2 เกณฑ์การให้คะแนนของแบบการประเมินมีดังนี้ 29
4.3 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน 29
4.4 สรุปผลการทาแบบสอบถามความพึงพอใจ 31
บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน
5.1 สรุปผลการออกแบบโปรแกรมเกม 33
5.2 สรุปผลการดาเนินงาน 33
5.3 อภิปรายผลการทดสอบ 33
5.4 ปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาของระบบเกม 34
5.5ข้อเสนอแนะและการพัฒนาต่อ 34
บรรณานุกรม 36
ภาคผนวก ก หนังสือยินยอมเข้าร่วมการวิจัย 38
ภาคผนวก ข แบบสอบถามความพึงพอใจ 40
ประวัติผู้เขียน 43
เอกสารข้อตกลงว่าด้วยการอนุญาตให้ใช้สิทธิ์ในรายงานการค้นคว้าอิสระ
ฌ
สารบัญตาราง
หน้า
ตารางที่ 1.1: ตารางระยะเวลาการดาเนินงาน 4
ตารางที่ 3.1: เครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับพัฒนาระบบ 14
ตารางที่ 3.2: เครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับใช้งานระบบ 15
ตารางที่ 3.3: ความต้องการของระบบ 15
ตารางที่ 3.4: ความต้องการของระบบ 16
ตารางที่ 3.5: ความสามารถการทางานของเกม 16
ตารางที่ 3.6: ตารางเปรียบเทียบ Feature 18
ตารางที่ 4.1: ตารางแสดงระดับความพึงพอใจ 30
ตารางที่ 4.2: ตารางแสดงระดับการประเมิน 30
ตารางที่ 4.3: ตารางสรุปผลการประเมิน 32
ญ
สารบัญภาพ
หน้า
ภาพที่ 2.1: Overview Unity3D 8
ภาพที่ 2.2: ภาพโปรแกรม Unity3D 9
ภาพที่ 2.3: Setting Virtual Reality 9
ภาพที่ 2.4: ภาพเกม Gran turismo 5 10
ภาพที่ 2.5: ภาพเกม Project Cars 11
ภาพที่ 2.6: ภาพเกม City car 11
ภาพที่ 3.1ซ ภาพสภาปัตยกรรมระบบ 13
ภาพที่ 3.2: ภาพ Oculus Rift DK2 14
ภาพที่ 3.3: ภาพอุปกรร์ Logitech G 29 15
ภาพที่ 3.4: ภาพหน้าจอ Rewired Asset 16
ภาพที่ 3.5: ภาพ IK Driver 17
ภาพที่ 3.6: ภาพหน้าจอหน้าเริ่มต้น 18
ภาพที่ 3.7: ภาพหน้าจอส่วน Free Driving 19
ภาพที่ 3.8: ภาพหน้าจอการทดสอบ 19
ภาพที่ 4.1: รูป Icon การ Run เริ่มต้นโปรแกรม 20
ภาพที่ 4.2: รูปหน้า Start Menu 21
ภาพที่ 4.3: รูปหน้าการทางาน Free Run Mode 22
ภาพที่ 4.4: ภาพการทางาน Pause Mode 22
ภาพที่ 4.5: ภาพการทางาน Driving Test Mode 23
ภาพที่ 4.6: ภาพ Traffic Cone 24
ภาพที่ 4.7: ภาพ Box 25
ภาพที่ 4.8: ภาพการทดสอบจอดชิดเส้นไหล่ทาง 25
ภาพที่ 4.9: ภาพการทดสอบถอยรถเข้าซอง 26
ภาพที่ 4.10: ภาพการทดสอบการเดินหน้าและถอยหลัง 26
ภาพที่ 4.11: ภาพการทางานระบบ You Win 27
ภาพที่ 4.12: ภาพการทางานระบบ Game Over 29
ภาพที่ 4.13: ภาพการทางานระบบ Pause Mode 29
1
บทที่ 1
บทนา
1.1 ที่มาและความสาคัญของงาน
เนื่องจากผู้ที่เริ่มหัดขับรถยนต์เริ่มแรกจะเกิดความกลัวในการขับออกถนนจริงและไม่มี
ประสบการณ์อาจทาให้ผู้อื่นเกิดอันตรายบนท้องถนน จนทาให้ผู้หัดขับเกิดเป็นความกลัวในใจจน
อาจจะไม่สามารถหัดขับได้อีกเลยและหากไปศึกษากับสถาบันฝึกสอนขับรถยนต์มีค่าใช้จ่ายที่แพงโดย
มีข้อจากัดในการเรียนเป็นรายชั่วโมง เมื่อเริ่มที่จะฝึกหัดเป็นพร้อมที่จะไปสอบที่กรมขนส่ง ก็เกิด
ปัญหาที่ไม่สามารถนาผู้ทดสอบไปทดสอบยังสถานที่จริงได้เนื่องจากผู้ต้องการทดสอบใบขับขี่มีจานวน
มากเกิน จึงจากัดพื้นที่ขึ้นมาเพื่อทดสอบได้เพียงแค่ท่ามาตรฐานเพื่อทดสอบใบขับขี่และระบบจาลอง
ทั่วไปจะเน้นในด้านการขับขี่แบบแข่งขันไม่มีที่ใช้เพื่อทาให้เกิดจิตสานึกในการขับขี่อย่างถูกระเบียบ
ตามกฎหมายและในระบบของตัวเกมต่าง ๆ จะมีการทดสอบใบขับขี่ในหลักสูตรของทางฝั่งยุโรปที่เป็น
พื้นฐานสากล แต่ในระบบของไทยทาออกมาจึงทาขึ้นมาเพื่อใช้กับระบบทดสอบใบขับขี่ของไทยเพื่อใช้
ในการพัฒนาระบบใบขับขี่ไทยต่อไปในภายภาคหน้า
จึงมีความคิดที่จะนาเทคโนโลยีที่มีอยู่อย่างระบบภาพเสมือนจริงเข้ามาช่วยให้ผู้หัดขับขี่เกิด
ความมั่นใจในการขับขี่ โดยนาระบบ Virtual Reality เข้ามาทาเป็นระบบเกมเพื่อหัดขับขี่ในโลก
เสมือนจริง ประกอบกับระบบควบคุมด้วย Car Controller โดยมีการจาลองพื้นที่ทดสอบและถนน
จริงขึ้นมาเพื่อทดสอบและหัดขับขี่
1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อใช้ในการฝึกซ้อมเพื่อสอบใบขับขี่ภาคปฏิบัติ
1.2.2 เพื่อเพิ่มความมั่นใจให้กับผู้ทดสอบ
1.2.3 เพื่อลดต้นทุนในการฝึกซ้อมการขับขี่
1.2.4 เพื่อเพิ่มโอกาสและความมั่นใจให้ผู้ทดสอบ
1.3 สิ่งที่คาดหวัง
1.3.1 ได้ระบบจาลองการขับขี่รถยนต์ที่ใช้ฝึกหัดขับขี่รถยนต์ได้
1.3.2 ได้ระบบเกมที่มีความเสมือนจริง
1.3.3 ทาให้ผู้ฝึกหัดมีความมั่นใจในการขับขี่
1.3.4 ลดอุบัติเหตุบนท้องถนน
2
1.4 ขอบเขตและวิธีการศึกษา
1.4.1 ขอบเขตการทางานของ Software
1) บังคับทิศทางโดยใช้ Game Controller
2) บังคับรถยนต์แบบอิสระใน City World
3) มองรอบทิศทาง 360 องศา
4) บังคับรถยนต์ระบบเกียร์ออโตเมติก
5) ทดสอบรูปแบบที่ 1 จอดเทียบเส้น
6) ทดสอบรูปแบบที่ 2 ถอยรถยนต์เข้าซอง
7) ทดสอบรูปแบบที่ 3 เดินหน้า-ถอยหลัง
1.4.2 วิธีการศึกษา
ค้นคว้าบทความที่เกี่ยวข้อง
1) Unity 3D
2) Virtual Reality
3) Car traffic
4) Car controller
5) Car variable
1.4.3 เก็บข้อมูลจากสถานที่ทดสอบ
1) สอบถามข้อมูลจากพนักงานสอบใบขับขี่
2) ประมาณสภาพถนนและขนาดของถนน
3) เก็บภาพและส่วนประกอบของอาคารรอบๆถนน
1.5 เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา
1.5.1 รายละเอียดของซอฟต์แวร์
1) Window 10 for development
2) Window 8.1 for testing
3) Unity 3D version.5.0
4) Rewired Asset
5) Visual Studio
6) SketchUp 2016
7) Oculus Runtime
3
1.5.2 รายละเอียดฮาร์ดแวร์
1) Oculus Rift
2) Logitech G29
3) PC for run
1.6 ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษา
1) ได้รับ Software Game ระบบทดสอบใบขับขี่
2) ได้รับการพัฒนาร่วมกับระบบ Virtual Reality
4
4
1.7 ระยะเวลาที่ใช้ในการดาเนินงาน
ตารางที่ 1.1: ระยะเวลาการดาเนินงาน
5
บทที่ 2
การทบทวนวรรณกรรม
2.1 ใบขับขี่รถยนต์
2.1.1 การทดสอบใบขับขี่
การทาการทดสอบเพื่อได้มาซึ่งใบขับขี่ตามกฎหมายของประเทศเพื่อจะได้ขับขี่รถยนต์ได้
ถูกต้องตามกฎหมายของประเทศเพื่อยืนยันว่าบุคคลนี้มีสิทธิถูกต้องตามกฎหมายของประเทศในการ
ใช้รถยนต์บนถนนของประเทศนั้น ๆ หากเกิดอุบัติเหตุสามารถยืนยันตัวบุคคลได้จากใบขับขี่เพื่อจะ
ได้มาซึ่งใบขับขี่จาเป็นต้องทาการทดสอบต่าง ๆ ตามที่กรมขนส่งทางบกได้กาหนดไว้ ซึ่งใบขับขี่มี
หลากหลายประเภท (กมล พิพัฒน์ชัยกุล, 2552)
2.1.2 ประเภทของใบขับขี่
2.1.2.1 ใบขับขี่รถยนต์ส่วนบุคคล
2.1.2.2 ใบขับขี่รถยนต์สามล้อส่วนบุคคล
2.1.2.3 ใบขับขี่รถยนต์สาธารณะ
2.1.2.4 ใบขับขี่รถยนต์สามล้อสาธารณะ
2.1.2.5 ใบอนุญาตขับขี่จักรยานยนต์ส่วนบุคคล
2.1.2.6 ใบอนุญาตขับรถบดถนน
2.1.2.7 ใบอนุญาตขับรถระหว่างประเทศ
2.1.3 การทดสอบสมรรถภาพ
2.2.1.1 ทดสอบสายตาบอดสี
2.2.1.2 ทดสอบสายตาทางลึก
2.2.1.3 ทดสอบสายตาทางกว้าง
2.2.1.4 ทดสอบการใช้เท้า
6
2.1.4 การทดสอบข้อเขียน
การทดสอบข้อเขียนหรือการสอบวัดความรู้ในเรื่องการจราจรซึ่งเนื้อหาที่สอบจะ
เกี่ยวข้องกับสัญลักษณ์ป้ายจราจรและการดูแลรักษารถยนต์เบื้องต้น โดยมีข้อสอบ 50 ข้อ โดยต้องทา
ได้ 45 ข้อขึ้นไป (กมล พิพัฒน์ชัยกุล, 2552)
2.1.5 การทดสอบภาคปฏิบัติ
2.1.5.1 การทดสอบใบขับขี่ภาคปฏิบัติรถยนต์เกียร์ออโต้เมติก
การทดสอบภาคปฏิบัติเป็นการทดสอบความสามารถของผู้ขับขี่สาหรับเกียร์ออโต้
โดยจะมีท่าสอบพื้นฐานทั้งหมด3ท่าด้วยกันคือ
- การจอดเทียบเส้นข้างถนน
- การถอยรถเข้าซอง
- การเดินหน้าและถอยหลัง
2.1.5.2 การทดสอบใบขับขี่ภาคปฏิบัติรถยนต์เกียร์ธรรมดา
การทดสอบภาคปฏิบัติเป็นการทดสอบความสามารถของผู้ขับขี่สาหรับเกียร์ธรรมดา
จะมีการทดสอบแตกต่างเพิ่มขึ้นจากเกียร์ออโต้มาอีกอย่างหนึ่งคือการขับรถขึ้นสะพานและพักเบรก
มือและขับต่อไม่ให้ดับ (กมล พิพัฒน์ชัยกุล, 2552)
จึงตัดสินใจทาระบบเกมทดสอบและฝึกหัดการขับขี่รถยนต์ และเป็นระบบที่ควรจะมี
เกิดขึ้นในประเทศไทยเพื่อพัฒนาระบบทดสอบใบขับขี่โดยจะมีการออกแบบระบบเป็นฐานการ
ทดสอบท่ามาตรฐาน 3 ท่า คือ การขับขี่เดินหน้าและถอยหลัง, การจอดรถเข้าซอง, การขับเดินหน้า
เทียบเส้นข้างทาง ซึ่งช่วยสร้างความมั่นใจว่าสามารถเข้ามาช่วยการทดสอบจริงได้ ด้วยการนา
Virtual Reality เข้ามาช่วยแทนที่จะทาเป็นตัวเกมที่มองผ่านจอภาพธรรมดา
2.2 Virtual Reality
Virtual Reality หรือ ที่เรียกกันว่า VR นั้น ได้ถูกคนพบโดย ไมรอน ครูเกอร์ (Myron
Krueger) หมายถึงการใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกร่วมกับฮาร์ดแวร์พิเศษ เพื่อทาให้ผู้ใช้รู้สึกว่าเหมือนเข้า
ไปอยู่ในสภาพแวดล้อมนั้นจริง ๆ โดย VR นั้นจะป้อนข้อมูลตรงกับประสาทการมองเห็นของมนุษย์อีก
ทั้ง VR ยังสามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ (Lempereur, Pudlo, Gorce & Lepoutre, 2003) อีก
ทั้งยังช่วยในการใช้ในระบบการสอนและการฝึกอบรมเรื่องสภาพแวดล้อมต่างในระบบจราจรร่วมทั้ง
ทาให้เกิดระบบจาลองขึ้นมาเพื่อใช้เพิ่มสมาธิให้ผู้ขับขี่ในขณะขับขี่ (Nemec, Wlosok, Fasuga,
2014) เพื่อช่วยให้เกิดความเหมือนจริงมากที่สุดเพราะ VR นั้นส่วนใหญ่ออกมาในรูปแบบเกม หรือ
จาพวกใช้ในการฝึกฝน ตัวอย่างเช่นการฝึกหัดบิน เป็นต้น ในโลกเหมือนจริงนี้ยังมีออกมาอย่าง
7
ต่อเนื่องในรูปแบบเกมที่เป็นไปต่าง ๆ นา ๆ เช่นบทบาทสมมุติเป็นตัวละคร ทาให้เราเข้าไปอยู่ในโลก
เหมือนจริงนั้น ๆ ผ่านตัวเกม Console หรือบน PC ตาม โดยอุปกรณ์ชิ้นแรกมีชื่อว่า “Sword of
Damocles” ถูกสร้างขึ้นในปี ค.ศ.1968 ใช้งานเบื้องต้นในการจาลองการบินโดยมีอุปกรณ์สวมหัว
และครอบตา เพื่อให้นักบินได้ทาการฝึกซ้อมการบินให้คล่องก่อนที่จะมีการบินจริง โดยการสร้างและ
วิจัยอุปกรณ์ขึ้นมาจากผลงานของ Ivan Sutherland โดยต่อมาตามบริษัทใหญ่อยาก Microsoft,
Facebook, Google, HTC ต่างให้ความสนใจในอุปกรณ์ด้าน VR จึงได้มีการพัฒนาอุปกรณ์หลัก ๆ
ของ VR ขึ้นมา (Oller, 2010) อีกทั้งยังมีกลุ่มผู้วิจัยที่ให้ความสนใจในการนา VR เข้าไปพัฒนางาน
อย่างเช่นงานการพัฒนาผู้ขับขี่ขั้นสูง ADAS มีการจาลองสภาพแวดล้อมผ่านเซ็นเซอร์และนามา
ประยุกต์ใช้กับ VR เพื่อเพิ่มความเสมือนจริงซึ่งสามารถใช้งานผ่านคอมพิวเตอร์หลายเครื่องพร้อม ๆ
กันอีกด้วย (Gruyer, Choi, Boussard & D’Andrea-Novel, 2014) โดยมีรายละเอียดของอุปกรณ์
ดังต่อไปนี้
2.2.1 Oculus หรือ แว่น VR ต่าง ๆ
2.2.1.1 แว่น Virtual Reality ใช้กับ Smart Phone
- Samsung Gear VR
- Google Cardboard
2.2.1.2 แว่น Virtual Reality ใช้กับ Computer หรือ Game Console
- Oculus Rift
- Sony VR (Project Morpheus)
- HTC VIVE
2.2.2 เกม Controller
- Logitech G27, G29
- Thrust Master T150
- Speed Link
2.3 Unity3D
2.3.1 Unity3D
Unity3D คือ Tool ชนิดหนึ่งที่สามารถช่วยให้ผู้พัฒนานิยมนามาช่วยในการพัฒนา เกม ไม่
ว่าจะเป็น 2D หรือ 3D ก็ตามเพราะ Tool ตัวนี้สามารถพัฒนาออกมาได้ทั้งรูปแบบ Window, OS X
รวมทั้ง Android ซึ่งมีเวอร์ชั่นฟรีให้ทดลองใช้อีกทั้งสามารถทาให้ผู้เริ่มใช้งานสามารถพัฒนาเกมขึ้นมา
กอย่างเช่นเกมสาหรับเด็กได้โดยง่ายและสามารถศึกษาได้ง่ายจากข้อมูลที่มีอยู่ในแหล่งต่าง ๆ (Lim,
8
Han & Guen, 2014) โดยการทาเป็นเกม 3D อีกทั้งยังสามารถใช้ทาเป็นระบบ AR ได้อีกด้วยมีผู้วิจัย
ได้นามาสร้างระบบเกี่ยวกับการรักษาโลกอ้วนในวัยเด็กโดยใช้ระบบ AR ใช้งานในมือถือใช้อีกด้วย
(Kim, Suk, Kang, Jung, Laine & Westlin, 2014) และอีกทั้งยังสามารถนามาทาระบบฟื้นฟูอาการ
ปวดเรื้อรังได้อีกด้วยโดยการนามาใช้งานรวมกับอุปกรณ์ Kinect ของ Xbox ซึ่งนามาจับการ
เคลื่อนไหวของผู้ป่วยรวมถึงการทาการบาบัดฟื้นฟูให้ผู้ป่วยรวมถึงการติดตามผลในระยะยาว
(Schönauer, Pintaric, Kaufmann, Jansen-Kosterink & Vollenbroek-Hutten, 2011) รวมทั้ง
การพัฒนาต่างด้านกราฟฟิกสามารถใช้งานรวมกับโปรแกรมต่าง ๆ อย่างเช่น AutoCAD, MultiGen,
SkecthUP ที่สามารถนามาช่วยในการสร้างฉากต่าง ๆ ให้มีความเสมือนจริงโดยมีความสเถียรถึงแม้ว่า
จะนามาจากโปรแกรมที่แตกต่างกันก็ตาม (Lu, Xue & Chen, 2011) จึงเหมาะกับผู้เริ่มต้นพัฒนา
เพราะมี Code ที่จาเป็นอยู่แล้วให้เพื่อปรับตั้งค่าในการใช้งานโดยภาษาที่ใช้ จะเป็น C# Script หรือ
Java Script ในการใช้กาหนดคาสั่งต่าง ๆ (Norton, 2013) รวมไปถึงการนา C# Script มากาหนด
Add-on ต่าง ๆ ให้กับ GUI ในการควบคุมระบบให้กับตัวเกมหรือระบบจาลองต่าง ๆ ได้อีกด้วยผ่าน
ฟังชั่นต่าง ๆ หรือการกาหนดขั้นตอนการทางานของ GUI ด้วย Unity3D (Sagredo-Olivenza,
Flórez-Puga, Gómez-Martín & González-Calero, 2015)
ภาพที่ 2.1: Overview Unity3D
ที่มา: Unity3D. (n.d.). Retrieved from https://unity3d.com/unity/engine-features.
9
2.3.2 ความสามารถของUnity3D
ปัจจุบัน Unity3D ได้พัฒนามาถึง Version 5.0 ซึ่งเป็นเวอร์ชั่นล่าสุด มีการเพิ่มช่องทางใน
การเชื่อมต่อกับ Oculus Rift โดยมีการออก Manual สาหรับการพัฒนาและใช้เชื่อมต่อกับทาง
อุปกรณ์ดังกล่าว ณ ตอนนี้ความนิยมของ Unity3D ทาให้ผู้พัฒนาทางด้านเกมต่าง ๆ หันมาใช้
ซอฟแวร์ตัวนี้เพราะสามารถสร้างออกมาได้หลาย ๆ แบบ แล้วสร้างในแพลทฟอร์ม เช่น Web, PC,
Mac, iOS, Android, Windows Phone, Blackberry, Xbox, PlayStation
ภาพที่ 2.2: ภาพโปรแกรม Unity3D
2.3.3 การเชื่อมต่อ Virtual Reality ใน Unity3D
โปรแกรมUnity3D ในมีการพัฒนาใน Version 5.0 ให้มีการเชื่อมต่อ Virtual Reality ได้
โดยงานโดยการ Setting เพียงแค่การทาเครื่องหมายถูกในช่อง Virtual Reality Supported ตาม
ภาพด้านล่าง Project setting>player>virtual Reality Supported
ภาพที่ 2.3: Setting Virtual reality
10
2.4 งานที่เกี่ยวข้องเรื่องการจาลองการฝึกขับรถ
2.4.1 Gran Turismo 5 เป็นเกมที่จาลองการขับขี่ในรูปแบบการขับขี่รถแข่งในสนามแข่ง
โดยมีการเชื่อมต่อกับระบบ Car Controller และสามารถใช้รวมกับแว่น Virtual Reality ได้ แต่ขอ
จากัดของเกมที่ใช้เพื่อการแข่งขันจึงไม่มีระบบทดสอบหรือฝึกหัดการขับขี่
ภาพที่ 2.4: ภาพเกม Gran turismo 5
ที่มา: Gran turismo 5. (n.d.). Retrieved from https://iedeiblog.com/tag/gran-turismo-5/.
2.4.2 Project Cars เป็นเกมขับขี่รถยนต์ที่เข้ามาในระบบ Game Console PlayStation 4
ที่มีความเสมือนจริงที่เกิดจากภาพบนจอ ไม่สามารถเชื่อมต่อกับระบบ Virtual Reality และไม่มี
ระบบฝึกหัดขับขี่
11
ภาพที่ 2.5: ภาพเกม Project Cars
ที่มา: Project cars. (n.d.). Retrieved from http://www.gamespot.com/project-cars/.
2.4.3 City Car ถือว่าเป็นเกมที่มีความครบถ้วนของความเสมือนจริง จุดประสงค์ของเกม
City car ทาขึ้นเพื่อใช้ทดสอบและฝึกหัดขับขี่รถยนต์โดยเฉพาะ โดยระบบเกมสามารถเชื่อมต่อกับ
แว่น Virtual Reality ได้และต่ออุปกรณ์ขับขี่อย่าง Car Controller และยังมีรูปแบบทดสอบการขับขี่
แต่ไม่มีระบบของประเทศไทย จะมีแต่ในรูปแบบสากลทั่วไป
ภาพที่ 2.6: ภาพเกม City car
12
2.5 สรุป
โดยสรุปแล้วเหตุผลที่เลือกใช้ Unity3Dในการพัฒนานั้น เพราะสามารถศึกษาได้ง่ายเพราะมี
ผู้เชี่ยวชาญออกมาให้ความรูปหลายช่องทาง และอีกทั้งยังมีการออก รูปแบบ Code ต่าง ๆ สาเร็จรูป
โดยอ้างอิงจากเว็บไซต์หลักของ Unity 3D นั้นเอง ทั้งนี้ยังมี Asset Store ที่ใหญ่พอสาหรับมือใหม่ที่
จะเลือกสรรวัตถุที่ต้องการนามาใช้โดยไม่ต้องสร้างขึ้นมาเอง
13
บทที่ 3
สถาปัตยกรรม
3.1 Unity3D
ภาพที่ 3.1: ภาพสถาปัตยกรรมระบบ
ตารางที่ 3.1: เครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับพัฒนาระบบ
ประเภทของระบบ ความต้องการของระบบ
Operation System Windows 7 SP1+, 8, 10; Mac OS X 10.8+.
Graphics processing unit Graphics card with DX9 (shader model
2.0) capabilities. Anything made since
2004 should work.
Computer processing unit Quad core intel or AMD
RAM 4GB or 8GB
Input
Files.FBX
Files.JPG,.BMP
Development
C# Coding
Rewired Input
IK Driver
Driving License
Game Simulation
14
ตารางที่ 3.2: เครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับใช้งานระบบ
ประเภทของระบบ ความต้องการของระบบ
Operation System Windows 7 SP1+, 8, 10; Mac OS X 10.8+.
Graphics processing unit Graphics card with DX9 (shader model
2.0) capabilities. Anything made since
2004 should work.
Computer processing unit CPU: SSE2 instruction set support.
RAM 4GB or 8GB
3.2 Oculus Rift DK2
ภาพที่ 3.2: ภาพ Oculus Rift DK2
ที่มา: Oculus Rift. (n.d.). Retrieved from http://www.vrheadsets3d.com/oculus-
rift/oculus-rift-news/second-life-ready-for-oculus-rift-dk2/.
ตารางที่ 3.3: ความต้องการของระบบ
ประเภทของระบบ ความต้องการของระบบ
Operation System Windows 7 SP1 64 bit or newer
Video Card NVIDIA GTX 970 / AMD R9 290 equivalent
or greater
Video Output Compatible HDMI 1.3 video output
USB Ports 3x USB 3.0 ports plus 1x USB 2.0 port
Computer processing unit Intel i5-4590 equivalent or greater
Memory 8GB+ RAM
15
3.3 Logitech G29
ภาพที่ 3.3: ภาพอุปกรณ์ Logitech G 29
ที่มา: Logitech G29. (2558, 14 กรกฏาคม). สืบค้นจาก http://www.gump.in.th/web/
product/detail.php?ProductId=2392.
ตารางที่ 3.4: ความต้องการของระบบ
ประเภทของระบบ ความต้องการของระบบ
Operation System Windows® 8.1, Windows 8 or Windows 7
Powered USB Port Internet connection and 150MB hard
drive space (for optional software
download)
Games that support Logitech® force
feedback racing wheel
16
ตารางที่ 3.5: ความสามารถการทางานของเกม
รายการ ความสามารถ
My project สามารถเชื่อมอุปกรณ์ขับขี่ Car Controller
สามารถเชื่อมต่อกับ VR Gear
สามารถวิ่งแบบ Free Run
สามารถเข้ารูปแบบการทดสอบใบขับขี่ไทย
3.4 Rewired Asset
Rewired Asset เป็น Asset Plug-In ภายใน Unity3D ที่มีความสามารถในการช่วย
Mapping อุปกรณ์บังคับต่าง ๆ สามารถใช้งาน Mapping ในการทางานแบบ Individual และ
Multiplayer ได้ ซึ่งสามารถทาให้ผู้พัฒนานั้นทางานได้งานขึ้นผ่าน Asset นี้ โดยการทางานผ่าน
Rewired Input Manager ตามภาพด้านล่าง
ภาพที่ 3.4: ภาพหน้าจอ Rewired Asset
17
3.5 IK Driver Asset
IK Driver เป็น Asset จาก Asset Store เพื่อนามาใช้เพิ่มตัวละครให้มีการขยับแขนขาตาม
การบังคับของการขับขี่โดยการกาหนดจุด Object ผ่าน C# Script ที่มากับ Asset โดยใช่จุด Object
ต่างๆนามาวางในจุดที่เป็นพวงมาลัยในการระบุแขนซ้ายและแขนขวาให้จับพวงมาลัยรวมทั้งกาหนด
วงเลี้ยวของพวงมาลัย ต่อมาในการกาหนดขาซ้ายและขวาเมื่อมีการเดินหน้ารถให้ขาขวาเหยียบที่
คันเร่งส่วนเวลาเบรคให้ขาขวาเหยียบที่แป้นเบรค
ภาพที่ 3.5: ภาพ IK Driver Asset
3.6 เปรียบเทียบ Feature
ตารางที่ 3.6: ตารางเปรียบเทียบ Feature
รายการเกม เชื่อมต่อVR
เชื่อมต่อ
Controller
Free Run
Map
Driving
Test
Thai
Driving
License
My Project     
GT5     
City Car     
Project Car     
18
3.7 ขั้นตอนการออกแบบ
1) ออกแบบหน้าเริ่มต้น โดยมีให้เลือกรูปแบบการเข้าเกม โดยมี
- Free Driving
- Testing Driving License
- Exit
ภาพที่ 3.6: ภาพหน้าจอหน้าเริ่มต้น
2) เมื่อเข้าสู่ระบบ Free Driving จะสามารถเริ่มต้นการฝึกหัดขับขี่ได้อย่างอิสระในถนน
ที่จาลองขึ้นมาในโลกเสมือนจริง โดยกาหนดเส้นทางถนนเป็นเส้น เลียบทางด่วนเอกมัยรามอินทรา
ภาพที่ 3.7: ภาพหน้าจอส่วน Free Driving
19
3) หน้าจอ Testing Driving License มีการจาลองการทดสอบเป็น 3 ท่าการทดสอบ
ดังนี้
3.1) เดินหน้าจอดเทียบเส้น
3.2) การถอยจอดเข้าซอง
3.3) การเดินหน้าถอยหลัง
ภาพที่ 3.8: ภาพหน้าจอการทดสอบ
20
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
จากที่ผู้ดาเนินงานได้สร้างโปรแกรมเกมขึ้นมาเพื่อทาการทดลองตามแผนงานที่ได้วางไว้จะ
สามารถอธิบายผลการดาเนินงานโครงงานได้ดังนี้
4.1 การเริ่มต้นการใช้งานเกม
4.1.1 ขั้นตอนที่ 1 การเริ่มต้นการใช้งานโดยการคลิกที่ไฟล์ Driving License
Simulation.exe เพื่อเริ่มต้นการทางานของระบบ แล้วรอการเปิดระบบ
ภาพที่ 4.1: รูป Icon การ Run เริ่มต้นโปรแกรม
4.1.2 ขั้นตอนที่ 2 จากการเริ่มโปรแกรมเกม โปรแกรมจะแสดงหน้าจอ Start Menu ขึ้นโดย
มี ปุ่มการใช้งานดังต่อไปนี้
- Free Run Mode
- Driving Test Mode
- Exit
ภาพที่ 4.2: รูปหน้า Start Menu
21
4.1.3 ใช้งาน Free Run Mode เมื่อกดเข้าที่ Free Run Mode จะแสดง Free Run Mode
4.1.3.1 วิธีการบังคับสามารถ บังคับได้ 2 โหมด
- Keyboard Control มีปุ่มการใช้งานดังนี้
ปุ่มการทางาน คาสั่งการทางาน
W เดินหน้า
S ถอยหลัง
A เลี้ยวซ้าย
D เลี้ยวขวา
Space Bar หยุดรถ
- Logitech G29
-
ปุ่มการทางาน คาสั่งการทางาน
Wheel บังคับเลี้ยว ซ้าย-ขวา
Accelerator เดินหน้า
Reverse Accelerator ถอยหลัง
Brake หยุดรถ
ภาพที่ 4.3: รูปหน้าการทางาน Free Run Mode
22
4.1.3.2 การใช้งาน Pause Mode ใช้งานโดยการกดปุ่ม Escape จะหยุดเกมทั้ง
หมดแล้วแสดงหน้า Pause Menu ภายในหน้า Pause Menu มีปุ่มการใช้งานดังต่อไปนี้
ปุ่มการใช้งาน คาสั่งการทางาน
Resume กลับเข้าสู้การใช้งาน Free Run Mode
Restart เริ่มต้นการใช้งาน Free Run Mode ใหม่
Main Menu กลับสู่หน้า Main Menu
Exit ออกจากโปรแกรม
ภาพที่ 4.4: ภาพการทางาน Pause Mode
23
4.1.4 ขั้นตอนที่ 5 การใช้งานในโหมด Driving License Mode เมื่อกดเข้าใช้งาน Driving
License Mode ผ่านหน้า Start Menu จะแสดงหน้า Driving License Mode
4.1.4.1 วิธีการบังคับสามารถ บังคับได้ 2 โหมด
- Keyboard Control มีปุ่มการใช้งานดังนี้
ปุ่มการทางาน คาสั่งการทางาน
W เดินหน้า
S ถอยหลัง
A เลี้ยวซ้าย
D เลี้ยวขวา
Space Bar หยุดรถ
- Logitech G29 มีปุ้มการทางานดังนี้
ปุ่มการทางาน คาสั่งการทางาน
Wheel บังคับเลี้ยว ซ้าย-ขวา
Accelerator เดินหน้า
Reverse Accelerator ถอยหลัง
Brake หยุดรถ
4.1.4.2สิ่งที่แสดงบนหน้าจอ มีดังนี้
User Interface รายละเอียด
Score: 0 แสดงคะแนน
00.00 แสดงเวลาในการทางาน
24
ภาพที่ 4.5: ภาพการทางาน Driving Test Mode
4.1.4.3 การนับคะแนนจะนับเพิ่มและลบคะแนนผ่าน Game Object ดังนี้
Game Object รายละเอียด
Traffic Cone ลดคะแนน 10 คะแนน
Box เพิ่มคะแนน 20 คะแนน
ภาพที่ 4.6: ภาพ Traffic Cone
25
ภาพที่ 4.7: ภาพ Box
คะแนนความสามารถ
ผ่านการทดสอบทั้งหมด คะแนนที่ได้ 70-100 คะแนน
ไม่ผ่านการทดสอบ คะแนนที่ได้ 0-69 คะแนน
4.1.4.4 การทดสอบจอดชิดเส้นไหล่ทาง ต้องทาการจอดชิดเส้นไหล่ทางและเก็บ
กล่องจานวน 2 กล่อง ฐานนี้ มีคะแนนทั้งหมด 40 คะแนน จะถือว่าผ่านการทดสอบในท่านี้
ภาพที่ 4.8: ภาพการทดสอบจอดชิดเส้นไหล่ทาง
26
4.1.4.5 การทดสอบถอยรถเข้าซอง ต้องทาการถอยจอดเข้าซองและเก็บกล่อง
จานวน 2 กล่อง ฐานนี้ มีคะแนนทั้งหมด 40 คะแนน รวมจากท่าแรกต้องมีคะแนน 80 คะแนนถึงจะ
ผ่านในท่านี้
ภาพที่ 4.9: ภาพการทดสอบถอยรถเข้าซอง
4.1.4.5 การทดสอบเดินหน้าถอยหลัง ต้องทาการเดินหน้าและถอยหลังและเก็บ
กล่องจานวน 1 กล่อง ฐานนี้ มีคะแนนทั้งหมด 20 คะแนน คะแนนรวมในท่านี้ต้องมี 100 คะแนนถึง
จะผ่านในท่านี้
ภาพที่ 4.10: ภาพการทดสอบการเดินหน้าและถอยหลัง
27
4.1.4.6 การสิ้นสุดเกม ต้องบังคับรถยนต์เข้าสู่เส้น Finish เพื่อสิ้นสุดการทดสอบโดย
เมื่อเข้าเส้น Finish จะแสดงหน้า Interface ดังนี้
User Interface รายละเอียด
You Win แสดงว่าสิ้นสุดการทดสอบ
Your Score แสดงคะแนนที่ได้ทั้งหมด
Retry เริ่มต้นการทดสอบใหม่
Main Menu กลับสู่หน้า Main Menu
ภาพที่ 4.11: ภาพการทางานระบบ You Win
4.1.4.7 การสิ้นสุดเกม Game Over เมื่อคะแนนน้อยกว่า 0 คะแนน จะแสดงหน้า
Interface ดังต่อไปนี้
User Interface รายละเอียด
Game Over แสดงว่าสิ้นสุดการทดสอบ
Retry เริ่มต้นการทดสอบใหม่
Main Menu กลับสู่หน้า Main Menu
28
ภาพที่ 4.12: ภาพการทางานระบบ Game Over
4.1.4.8 การใช้งาน Pause Mode ใช้งานโดยการกดปุ่ม Escape จะหยุดเกมทั้ง
หมดแล้วแสดงหน้า
Pause Menu ภายในหน้า Pause Menu มีปุ่มการใช้งานดังต่อไปนี้
ปุ่มการใช้งาน คาสั่งการทางาน
Resume กลับเข้าสู้การใช้งาน Free Run Mode
Restart เริ่มต้นการใช้งาน Free Run Mode ใหม่
Main Menu กลับสู่หน้า Main Menu
Exit ออกจากโปรแกรม
ภาพที่ 4.13: ภาพการทางานระบบ Pause Mode
29
4.2 เกณฑ์การให้คะแนนของแบบการประเมินมีดังนี้
ตารางที่ 4.1: ตารางแสดงระดับผลความพึงพอใจ
ระดับการประเมิน ระดับความพึงพอใจ
มากที่สุด มีความพึงพอใจในตัวเกมมากที่สุด
มาก มีความพึงพอใจในตัวเกมมาก
ปานกลาง มีความพึงพอใจในตัวเกมปานกลาง
น้อย มีความพึงพอใจในตัวเกมน้อย
น้อยที่สุด มีความพึงพอใจในตัวเกมน้อยที่สุด
ตารางที่ 4.2: ตารางแสดงระดับผลการประเมิน
คะแนนความพึงพอใจ ผลการประเมิน
4.50-5.00 มากที่สุด
3.50-4.49 มาก
2.50-3.49 ปานกลาง
1.50-2.49 น้อย
0.00-1.49 น้อยที่สุด
4.3 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
การประเมินจะใช้การสรุปการประเมินโดยใช้ค่าเฉลี่ยเป็นตัวแทนในการประเมินในกลุ่มผู้
ทดสอบ เพื่อให้ได้ข้อมูลของค่าเฉลี่ยของกลุ่มผู้ทดสอบ โดยใช้การหาค่าแบบค่าเฉลี่ยเชิงคณิตศาสตร์
ซึ่งมีวิธีการหาค่าเฉลี่ยโดยการนาผลรวมของค่าประเมินทั้งหมดในหัวข้อนั้น ๆ มารวมกันและหารด้วย
จานวนข้อมูลทั้งหมด โดยมีสมการดังต่อไปนี้
30
การหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็นการหาค่าการกระจายตัวกันของข้อมูลที่ได้มาซึ่งมีค่า
กระจายออกจากค่าเฉลี่ยของข้อมูลถ้าค่ายิ่งมากจะแสดงว่ามีการแปรปรวนของข้อมูลหรือการกระจาย
ของข้อมูลสูง ซึ่งมีสมการหาค่าดังต่อไปนี้
สรุปผลความพึงพอใจของการใช้งานระบบ Driving License Test Simulation
จากการเก็บข้อมูลจากผู้ใช้งานรวบรวมจากแบบประเมินความพึงพอใจจากบุคลที่ขับรถเป็น
และขับรถไม่เป็นทั้งหมด จากกลุ่มทดลอง
จานวน 10 คน
ชาย 6 คน
หญิง 4 คน
ขับขี่รถยนต์เป็น 9 คน
ขับขี่รถยนต์ไม่เป็น 1 คน
ตารางที่ 4.3: ตารางสรุปผลการประเมิน
รายละเอียด
ระดับความพึงพอใจ
5 4 3 2 1
31
1. ความสมจริงด้านภาพและเสียงของระบบจาลอง
1.1 ส่วนประกอบภายในตัวรถมีความสมจริง 4.5±0.5
1.2 สภาพแวดล้อมภายนอกรถมีความ
สมจริง
4.4±0.49
1.3 เสียงเครื่องยนต์ระหว่างขับขี่มีความ
สมจริง
4.2±0.4
2. ความสมจริงของการจาลองการขับขี่
2.1 การบังคับทิศทางด้วยพวงมาลัยมีความ
สมจริง
4.6±0.49
2.2 การตอบสนองของภาพจากการหมุน
และเคลื่อนศีรษะไปในทิศทางต่างๆมีความ
รวดเร็ว สมจริง
4.4±0.49
3. ความสมจริงของบททดสอบ
3.1 การทดสอบจอดชิดเส้น 4.4±0.66
3.2 การทดสอบถอยเข้าซอง 4.3±0.46
3.3 การเดินหน้าและถอยหลัง 4.6±0.49
4. ศักยภาพในการนาไปฝึกทดสอบจริง
4.1 สามารถใช้ฝึกการควบคุมรถยนต์
เบื้องต้น (เดินหน้า ถอยหลัง เลี้ยว)
4.8±0.4
4.2 สามารถใช้ในการเตรียมตัวก่อนสอบ
ใบขับขี่ภาคปฏิบัติ
4.5±0.5
4.3 สามารถช่วยพัฒนาทักษะการขับขี่บน
ท้องถนนจริง
4.2±0.75
4.4 สามารถช่วยลดอุบัติเหตุบนท้องถนนได้ 3.9±0.75
4.4 สรุปผลการทาแบบสอบถามความพึงพอใจ
จากผลการทาแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้จานวน 10 คน เป็นชาย 6 คน หญิง 4 คน
เคยขับขี่รถยนต์มาแล้ว 9 คน ไม่เคยขับขี่ 1 คน โดยสรุปผลค่าเฉลี่ยแล้ว ตามค่าเฉลี่ยที่ได้จากการทา
แบบสอบถามได้ผลสรุปมาดังนี้ ด้านความสมจริงด้านภาพและเสียงของระบบจาลอง ผลออกมาใน
ส่วนของตัวรถและส่วนประกอบของรถอยู่ได้ระดับมีความพึงพอใจมากที่สุด สภาพแวดล้อมและเสียง
เครื่องยนต์อยู่ในระดับมีความพึงพอใจมาก ต่อมาในส่วนของความสมจริงของการจาลองการขับขี่เรื่อง
32
การบังคับทิศทางด้วยพวงมาลัยมีความสมจริงมีความพึงพอใจมากที่สุด ส่วนการตอบสนองของการ
หมุนและเคลื่อนที่ของภาพมีความสมจริงมีความพึงพอใจมาก ความสมจริงของบททดสอบด่าน
ทดสอบจอดชิดเส้นและถอยเข้าซองมีความพึงพอใจมาก ส่วนการเดินหน้าถอยหลังมีความสมจริง
มากที่สุด สุดท้ายด้านศักยภาพในการนาไปฝึกทดสอบจริงสรุปได้ว่าสามารถใช้ฝึกการควบคุมเบื้องต้น
และใช้ในการเตรียมตัวก่อนสอบใบขับขี่ได้มากที่สุด ส่วนในการพัฒนานั้น สามารถช่วยพัฒนาการขับ
ขี่และช่วยลดอุบัติเหตุได้มาก
33
บทที่ 5
สรุปผลการดาเนินงาน
5.1 สรุปผลการออกแบบโปรแกรมเกม
มีการเปลี่ยนแปลงจากเดิมดังนี้
1) การบังคับ Player
- ปรับเปลี่ยนคาสั่งการทางาน โดย C# Script ที่ใช้ในการเคลื่อนที่ Player และ
กาหนดให้สามารถบังคับ Player ได้ทั้ง Keyboard และ Logitech G29
2) ระบบนับคะแนน
- เพิ่มระบบนับคะแนนให้มีทั้งคะแนนบวก และ ลบคะแนน
3) การจบเกม
- ปรับเปลี่ยนจากเดิมที่ใช้การปิดระบบเกมเป็นการจบเกมเป็นเพิ่มคาสั่ง You win
และ Game Over
5.2 สรุปผลการดาเนินงาน
จากการทดสอบระบบเกม ผู้พัฒนาสามารถระบุได้ว่าผู้ใช้งานสามารถใช้งานเกมได้ทุกระบบ
การใช้งานที่ได้มีระบุไว้ในข้างต้น ได้แก่
1) การขับขี่แบบ Free Run Mode
2) การทดสอบการขับขี่โดยระบบ Driving Test License Mode
3) การใช้ระบบ Pause Mode
4) ระบบนับคะแนน
5) ระบบนับเวลา
6) ระบบการจบเกมด้วย You Win และ Game over
7) ระบบ Virtual Reality และ อุปกรณ์ขับขี่ Logitech G29
5.3 อภิปรายผลการทดสอบ
จากแบบสอบถามการพึงพอใจจากผู้ใช้งานสรุปได้ว่าความสมจริงทั้งด้านภาพและเสียงมี
ความเหมือนจริงและสวยงามเหมือนตัวรถยนต์จริง ๆ และสภาพแวดล้อมต่าง ๆ รวมทั้งเสียง
เครื่องยนต์ทาให้ผู้ใช้มีความพึงพอใจหลังจากการใช้งานระบบจาลองการขับขี่ ต่อมาในส่วนความ
สมจริงของการจาลองการขับขี่ สามารถบังคับทิศทางด้วยพวงมาลัยและมีการตอบสนองจากการหมุน
34
และเคลื่อนที่ของมุมมองจากการหันของศีรษะมีความสมจริงมากที่สุดสามารถนาไปใช้ในการจาลอง
การขับขี่จริงได้ ส่วนของความสมจริงของบททดสอบนั้นทั้งสามท่ามีความสมจริงมากสามารถนาไป
ฝึกหัดการทดสอบเพื่อเตรียมตัวในการทดสอบจริงได้ โดยมีการกาหนดคะแนนผ่านและไม่ผ่านอย่าง
ชัดเจนในการทดสอบทาให้สามารถประเมินความสามารถของผู้ฝึกหัดได้ และสามารถเพิ่มศักยภาพ
ให้กับผู้ใช้เพื่อนาไปฝึกทดสอบเบื้องต้นและช่วยพัฒนาทักษะการขับขี่บนท้องถนนจริงและสามารถ
ช่วยลดอุบัติเหตุบนท้องถนนจริงได้ในระดับหนึ่ง แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นบนท้องถนนจริงเกิด
งานการประมาทของผู้ขับขี่ในขณะนั้นไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้ หากผู้ขับขี่ไม่เคารพกฏจราจร
ก็จะไม่สามารถลดการเกิดอุบัติเหตุได้
5.4 ปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาของระบบเกม
5.4.1 ปัญหาของระบบ
- การขับขี่แบบ Free Run Mode
การขับขี่แบบ Free Run Mode ยังไม่สามารถใช้งานได้เต็มที่ 100% เพราะว่าตัว ถนนและตัวอาคาร
ตกแต่งสภาพแวดล้อมยังทาไม่ครบทุกจุด
- ระบบนับเวลายังไม่สามารถทาให้การนับเวลานั้นหยุดได้หลังจากการจบเกมแล้ว
และการกดRestart
5.4.2 แนวทางในการแก้ไขปัญหา
- ทาการออกแบบถนนและตัวอาคารเพิ่มให้ตรงตามแผนที่วางไว้ทาการปรับเปลี่ยน
Script และกาหนดให้การนับเวลาหยุดหลังจากจบเกมแล้วรวมทั้งการกด Restart
5.5 ข้อเสนอแนะและการพัฒนาต่อ
5.5.1 ข้อเสนอแนะ
1) มีรถยนต์ลักษณะต่าง ๆ ให้เลือกมากขึ้น
2) มีการขับขี่แบบอิสระและมีเหตุการณ์ฉุกเฉินเกิดขึ้น
3) มีการพัฒนาต่อเพื่อนาไปใช้ในการทดสอบจริง
5.5.2 แนวทางการพัฒนาต่อในอนาคต
1) ระบบ Free Run
- เพิ่มระบบ Car AI และสัญญาณไฟจราจร
- สามารถใช้งานได้ในรูปแบบเกียร์ Manual
- เข้าร่วมทดสอบได้หลายคนพร้อมกัน (Multi-Player)
35
2) ระบบทดสอบใบขับขี่
- เพิ่มการทดสอบเพิ่มเติม เพื่อช่วยเพิ่มทักษะให้กับผู้ฝึกหัด
- เพิ่มระบบการเบรคและระบบการขับขี่ให้สมจริงมากขึ้น
36
บรรณานุกรม
Logitech G29. (2558, 14 กรกฏาคม). สืบค้นจาก http://www.gump.in.th/web/product/
detail.php?ProductId=2392.
Davis, B. A., Bryla, K., & Benton, P. A. (2015). Oculus rift in action. Retrieved from
http://manning-content.s3.amazonaws.com/download/0/05b4e77-1259-4201-
9728-58ef46911f28/OculusRift_ch13.pdf.
Gran turismo 5. (n.d.). Retrieved from https://iedeiblog.com/tag/gran-turismo-5/.
Gruyer, D., Choi, S., Boussard, C., D’Andrea-Novel, B. (2014). From virtual to reality,
how to prototype, test and evaluate new ADAS. IEEE Intelligent Vehicles
Symposium Proceedings, (pp. 261-267). N.P.: n.p.
Kim, S. L., Suk, H J., Kang, J. H., Jung, J. M., Laine, T., & Westlin, J. (2014). Using Unity
3D to facilitate mobile augmented reality game development. In Internet of
Things (WF-IoT), 2014 IEEE World Forum on. N.P.: n.p.
Lempereur, M., Pudlo, P., Gorce, P., & Lepoutre, F.-X. (2003). Optimization approach
for the simulation of car accessibility movement. In Systems, Man and
Cybernetics, IEEE International Conference on Vol. 1 (pp. 843-848). N.P.: n.p.
Lim, C. J., Han, W. D., & Guen, J. Y. (2014). Educational game making-tool
development using Unity3D engine: Birth of game. Journal of Korea Game
Society, 14, 29-38.
Lu, G. P., Xue, G. H., & Chen, Z. (2011). Design and Implementation of Virtual
Interactive Scene Based on Unity 3D. In Advanced Materials Research Vols.
317-319 (pp. 2162-2167). N.P.: n.p.
Nemec, M., Wlosok, J., & Fasuga, R. (2014). Virtual 3D simulation of a car in traffic. In
IEEE 12th IEEE International Conference on Emerging eLearning Technologies
and Applications (ICETA), (pp. 349-354). N.P.: n.p.
Norton, T. (2013). Learning C# by developing game with Unity 3D. Birmingham: PackT.
Oculus Rift. (n.d.). Retrieved from http://www.vrheadsets3d.com/oculus-rift/oculus-
rift-news/second-life-ready-for-oculus-rift-dk2/.
37
Oller, R. (2010). Augmented reality. Retrieved from
http://www.123seminarsonly.com/Seminar-Reports/021/44664310-
Augmented-Reality.pdf.
Project cars. (n.d.). Retrieved from http://www.gamespot.com/project-cars/.
Sagredo-Olivenza, I., Flórez-Puga, G., Gómez-Martín, M. A., & González-Calero, P.
(2015). Supporting the construction of a GUI component. International
Journal of Creative Interfaces and Computer Graphics, 18.
Schönauer, C., Pintaric, T., Kaufmann, H., Jansen-Kosterink, S., & Vollenbroek-Hutten,
M. (2011). Chronic pain rehabilitation with a serious game using multimodal
input. In Virtual Rehabilitation (ICVR), 2011 International Conference on. N.P.:
n.p.
Unity3D. (n.d.). Retrieved from https://unity3d.com/unity/engine-features.
38
ภาคผนวก ก
หนังสือยินยอมเข้าร่วมการวิจัย
39
หนังสือแสดงเจตนายินยอมเข้าร่วมการวิจัย
(Informed Consent Form)
วันที่................. เดือน.................... พ.ศ................
ข้าพเจ้า............................................................................... อายุ......................ปี
ขอแสดงเจตนายินยอมเข้าร่วมโครงการวิจัยเรื่อง “ทัวร์โลกเสมือนของมหาวิทยาลัย
กรุงเทพ”
ข้าพเจ้าได้รับทราบรายละเอียดเกี่ยวกับที่มาและจุดมุ่งหมายของโครงการวิจัยฯ และข้อมูล
ของผู้เข้าร่วมโครงการจะถูกเก็บรักษาไว้เป็นรายบุคคลโดยไม่เปิดเผยต่อสาธารณะ โดยจะมีเพียงการ
รายงานผลการวิจัยต่อคณะอาจารย์
ผู้ทาวิจัยได้ชี้แจงรายละเอียดขั้นตอนต่าง ๆ ที่จะต้องปฏิบัติในการทดลองใช้แอพพลิเคชั่นฯ
เพื่อนาผลการทดลองปฏิบัติไปวิเคราะห์และสรุปผลต่อไป
ข้าพเจ้ายินดีที่ได้เข้าร่วมโครงการและลงชื่อไว้เป็นหลักฐานเพื่อใช้ประโยชน์ต่องานวิจัยต่อไป
ลงชื่อ..............................................ผู้เข้าร่วมการวิจัย
(........................................................)
40
ภาคผนวก ข
แบบทดสอบความพึงพอใจ
41
แบบการสอบถามความพึงพอใจ
เพศ ชาย หญิง
ความสามารถในการขับขี่รถยนต์ เคยขับขี่มาก่อน
ไม่เคยขับขี่มาก่อน
รายละเอียด
ระดับความพึงพอใจ
5 4 3 2 1
1. ความสมจริงด้านภาพและเสียงของระบบจาลอง
1.1 ส่วนประกอบภายในตัวรถมีความสมจริง
1.2 สภาพแวดล้อมภายนอกรถมีความสมจริง
1.3 เสียงเครื่องยนต์ระหว่างขับขี่มีความสมจริง
2. ความสมจริงของการจาลองการขับขี่
2.1 การบังคับทิศทางด้วยพวงมาลัยมีความ
สมจริง
2.2 การตอบสนองของภาพจากการหมุนและ
เคลื่อนศีรษะไปในทิศทางต่างๆมีความรวดเร็ว
สมจริง
3. ความสมจริงของบททดสอบ
3.1 การทดสอบจอดชิดเส้น
3.2 การทดสอบถอยเข้าซอง
3.3 การเดินหน้าและถอยหลัง
4. ศักยภาพในการนาไปฝึกทดสอบจริง
4.1 สามารถใช้ฝึกการควบคุมรถยนต์เบื้องต้น
(เดินหน้า ถอยหลัง เลี้ยว)
4.2 สามารถใช้ในการเตรียมตัวก่อนสอบใบขับขี่
ภาคปฏิบัติ
4.3 สามารถช่วยพัฒนาทักษะการขับขี่บนท้อง
ถนนจริง
4.4 สามารถช่วยลดอุบัติเหตุบนท้องถนนได้
42
ข้อเสนอแนะ
________________________________________________________________
________________________________________________________________
________________________________________________________________
43
ประวัติผู้เขียน
ชื่อ – นามสกุล : นายศุภกร ยงพิพัฒน์
อีเมล : supakorn.yong@bumail.net
ประวัติการศึกษา : ระดับประถม โรงเรียนสมิทธิโชติ
ระดับมัธยม โรงเรียนสตรีวิทยา 2
ระดับปริญญาตรี สาขาการจัดการโลจิสติกส์
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
วิจัย Supakorn yong
วิจัย Supakorn yong

More Related Content

Similar to วิจัย Supakorn yong

คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osคู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osNisachol Poljorhor
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ lek_za_za
 
ใบงานท 8
ใบงานท   8ใบงานท   8
ใบงานท 8Milk MK
 
Computer Project 2
Computer Project 2Computer Project 2
Computer Project 2ssuserbdfc38
 
Projectm6 2-2556 (เสร จ)
Projectm6 2-2556 (เสร จ)Projectm6 2-2556 (เสร จ)
Projectm6 2-2556 (เสร จ)adaxxrose
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานsasitorn256
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
น.ส.ก งกาญจน_ กร__มใจ ม.65 เลขท__21
น.ส.ก  งกาญจน_  กร__มใจ ม.65 เลขท__21น.ส.ก  งกาญจน_  กร__มใจ ม.65 เลขท__21
น.ส.ก งกาญจน_ กร__มใจ ม.65 เลขท__21Kroekphon Sapywarobon
 
โครงการส่ง
 โครงการส่ง โครงการส่ง
โครงการส่ง23082537
 

Similar to วิจัย Supakorn yong (20)

Presentation 3
Presentation 3Presentation 3
Presentation 3
 
641 1
641 1641 1
641 1
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osคู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
 
650 1
650 1650 1
650 1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Activity4_naka
Activity4_nakaActivity4_naka
Activity4_naka
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
ใบงานท 8
ใบงานท   8ใบงานท   8
ใบงานท 8
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Computer Project 2
Computer Project 2Computer Project 2
Computer Project 2
 
Projectm6 2-2556 (เสร จ)
Projectm6 2-2556 (เสร จ)Projectm6 2-2556 (เสร จ)
Projectm6 2-2556 (เสร จ)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
น.ส.ก งกาญจน_ กร__มใจ ม.65 เลขท__21
น.ส.ก  งกาญจน_  กร__มใจ ม.65 เลขท__21น.ส.ก  งกาญจน_  กร__มใจ ม.65 เลขท__21
น.ส.ก งกาญจน_ กร__มใจ ม.65 เลขท__21
 
โครงการส่ง
 โครงการส่ง โครงการส่ง
โครงการส่ง
 

วิจัย Supakorn yong

  • 2. การพัฒนาระบบทดสอบใบขับขี่ภาคปฏิบัติด้วย Virtual Reality Virtual Reality Driving License Test ศุภกร ยงพิพัฒน์ การค้นคว้าอิสระเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปีการศึกษา 2558
  • 4.
  • 5. ฉ ศุภกร ยงพิพัฒน์. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ, พฤศจิกายน 2559, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. การพัฒนาระบบทดสอบใบขับขี่ภาคปฏิบัติด้วย Virtual Reality (43 หน้า) อาจารย์ที่ปรึกษา: ดร.พัฒนพล เหรียญโมรา บทคัดย่อ ระบบการฝึกซ้อมและทดสอบการขับขี่รถยนต์ของประเทศไทยในภาคปฏิบัตินั้นมีปัญหาเรื่อง ความหนาแน่นของประชาชนที่เข้ามาทดสอบเพื่อจะได้ใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ที่มีจานวนมาก ซึ่งบาง คนขาดการฝึกซ้อมอย่างเพียงพอ ทาให้ทดสอบไม่ผ่านจึงจาต้องกลับไปฝึกซ้อมแล้วกลับมาทดสอบ ใหม่ซึ่งในการทดสอบแต่ละครั้งทาใช้เวลาเป็นวัน จนทาให้เกิดผลกระทบต่อผู้เข้ามาทดสอบเพราะ จาเป็นต้องลางานมาเพื่อทดสอบใบขับขี่ภาคปฏิบัติ จึงเห็นว่าการนาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการ ฝึกซ้อมสามารถทาได้ในรูปแบบการจาลองเสมือนจริงผ่านระบบการจาลองการขับขี่ภาคปฏิบัติ โดย ระบบทางานในระบบ PC และใช้อุปกรณ์บังคับการขับขี่และแว่นตาจาลองภาพเสมือนจริงเข้ามาช่วย เพิ่มความเสมือนจริงให้กับระบบจาลอง และภาพในระบบจาลองมีการจาลองแบบทดสอบตาม หลักสูตรจริงขึ้นมาเพื่อให้ผู้ทดสอบได้ฝึกหัดเพื่อพัฒนาทักษะตนเองได้โดยไม่จาเป็นต้องใช้รถจริง ๆ ตัวรถยนต์ที่นามาใช้มีระบบการมองผ่านกระจกมองหลังและกระจกข้างเหมือนรถยนต์จริง ๆ โดย ระบบได้ถูกพัฒนาขึ้นจากโปรแกรมยูนิตี้ทรีดี เพราะเป็นโปรแกรมสามารถช่วยให้การพัฒนาสาเร็จได้ ครบถ้วนเพราะมีคลังตัวช่วยต่าง ๆ ที่สามารถหยิบใช้ได้อย่างครบถ้วน โดยทางผู้พัฒนาได้ทาแบบ ประเมินความพึงพอใจโดยเก็บข้อมูลจากประชากรกลุ่มตัวอย่างจานวน 10 คน จากแบบทดสอบ พบว่าความพึงพอใจของประชากรในกลุ่มทดสอบมีความพึงพอใจในระดับที่ดีเยี่ยม เป็นสิ่งยืนยันถึง คุณภาพและความเสมือนจริงของการพัฒนาระบบทดสอบใบขับขี่ภาคปฏิบัติด้วยระบบการจาลอง เสมือนจริง คำสำคัญ: ระบบภำพเสมือนจริง, ยูนิตี้ทรีดี, อุปกรณ์ขับรถใช้กับคอมพิวเตอร์, แว่นจำลองภำพ เสมือนจริง, กำรทดสอบใบขับขี่ไทย
  • 6. ช Yongpiphat, S. M.S. (Information Technology and Management), November 2016, Graduate School, Bangkok University. Virtual Reality Driving License Test (43 pp) Advisor: Phattanapon Rhienmora, Ph.D. ABSTRACT Driving License testing system in Thailand is now facing a problem of an overwhelming numbers of people who comes in for the test. There are numerous applicators that failed the test and need to go back for more practices before entering the test again. Since the test usually take almost all-day for the applicator to finish to process, therefore, having a effect to many worker that need to be absent at work or take a day-off in order to attend the test. To solve the issue, we are to replace a new technology over the driving practice system by using a Virtual Reality (VR) tools and gadgets together with a Driving Wheel handle that connected to a computer to enhanced the feeling and real-life driving experience. The Virtual Reality will be exactly the same with the real driving test for users to practice before the actual test without using a real car. This Virtual Driving system is developed under 'Unity3D', which is one of the most famous software that has a great number of libraries, tools and functions to support the project. Our project developers were running a demo testing over a group of 10 users and said that they are comfortable with the demo, with a great satisfaction received from the testing users, the quality of the Virtual Reality of a Driving License Test System is guaranteed. Keywords: Virtual Reality, Unity3D, LogitechG29, Oculus Rift, Driving License of Thailand
  • 7. ฉ กิตติกรรมประกาศ การค้นคว้าอิสระฉบับนี้สาเร็จสาเร็จได้ด้วยความกรุณาจาก ดร.พัฒนพล เหรียญโมรา อาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิ่งกาญจน์ สุขคณาภิบาล คณะกรรมการ ค้นคว้าอิสระ ที่ท่านคอยให้ความรู้ในด้านต่าง ๆ และคอยให้คาแนะนาเพิ่มเติม คอยให้คาปรึกษาเมื่อ พบปัญหาภายในงานที่แก้ไม่ได้จนงานวิจัยสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี รวมถึงการให้ยืมอุปกรณ์ในการทา โครงการ ผู้วิจัยจึงขอกราบขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณทางขอบครอบที่ให้การสนับสนุนและคอยให้คาแนะนา รวมถึงงบประมาณในการ จัดซื้ออุปกรณ์ต่าง ๆ จึงกราบขอขอบคุณมาไว้ ณ โอกาสนี้ ศุภกร ยงพิพัฒน์
  • 8. ช สารบัญ หน้า บทคัดย่อภาษาไทย ง บทคัดย่อภาษาอังกฤษ จ กิตติกรรมประกาศ ฉ สารบัญตาราง ฌ สารบัญภาพ ญ บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญของงาน 1 1.2 วัตถุประสงค์ 1 1.3 สิ่งที่คาดหวัง 1 1.4 ขอบเขตและวิธีการศึกษา 2 1.5 เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา 2 1.6 ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษา 3 1.7 ระยะเวลาที่ใช้ในการดาเนินงาน 4 บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม 2.1 ใบขับขี่รถยนต์ 5 2.2 Virtual Reality 6 2.3 Unity3D 7 2.4 งานที่เกี่ยวข้องเรื่องการจาลองการฝึกขับรถ 10 2.5 สรุป 12 บทที่ 3 สถาปัตยกรรม 3.1 Unity3D 13 3.2 Oculus Rift DK2 14 3.3 Logitech G29 15 3.4 Rewired Asset 16 3.5 IK Driver Asset 17 3.6 เปรียบเทียบ Feature 17 3.7 ขั้นตอนการออกแบบ 18
  • 9. ซ สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 4.1 การเริ่มต้นการใช้งานเกม 20 4.2 เกณฑ์การให้คะแนนของแบบการประเมินมีดังนี้ 29 4.3 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน 29 4.4 สรุปผลการทาแบบสอบถามความพึงพอใจ 31 บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน 5.1 สรุปผลการออกแบบโปรแกรมเกม 33 5.2 สรุปผลการดาเนินงาน 33 5.3 อภิปรายผลการทดสอบ 33 5.4 ปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาของระบบเกม 34 5.5ข้อเสนอแนะและการพัฒนาต่อ 34 บรรณานุกรม 36 ภาคผนวก ก หนังสือยินยอมเข้าร่วมการวิจัย 38 ภาคผนวก ข แบบสอบถามความพึงพอใจ 40 ประวัติผู้เขียน 43 เอกสารข้อตกลงว่าด้วยการอนุญาตให้ใช้สิทธิ์ในรายงานการค้นคว้าอิสระ
  • 10. ฌ สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1.1: ตารางระยะเวลาการดาเนินงาน 4 ตารางที่ 3.1: เครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับพัฒนาระบบ 14 ตารางที่ 3.2: เครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับใช้งานระบบ 15 ตารางที่ 3.3: ความต้องการของระบบ 15 ตารางที่ 3.4: ความต้องการของระบบ 16 ตารางที่ 3.5: ความสามารถการทางานของเกม 16 ตารางที่ 3.6: ตารางเปรียบเทียบ Feature 18 ตารางที่ 4.1: ตารางแสดงระดับความพึงพอใจ 30 ตารางที่ 4.2: ตารางแสดงระดับการประเมิน 30 ตารางที่ 4.3: ตารางสรุปผลการประเมิน 32
  • 11. ญ สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 2.1: Overview Unity3D 8 ภาพที่ 2.2: ภาพโปรแกรม Unity3D 9 ภาพที่ 2.3: Setting Virtual Reality 9 ภาพที่ 2.4: ภาพเกม Gran turismo 5 10 ภาพที่ 2.5: ภาพเกม Project Cars 11 ภาพที่ 2.6: ภาพเกม City car 11 ภาพที่ 3.1ซ ภาพสภาปัตยกรรมระบบ 13 ภาพที่ 3.2: ภาพ Oculus Rift DK2 14 ภาพที่ 3.3: ภาพอุปกรร์ Logitech G 29 15 ภาพที่ 3.4: ภาพหน้าจอ Rewired Asset 16 ภาพที่ 3.5: ภาพ IK Driver 17 ภาพที่ 3.6: ภาพหน้าจอหน้าเริ่มต้น 18 ภาพที่ 3.7: ภาพหน้าจอส่วน Free Driving 19 ภาพที่ 3.8: ภาพหน้าจอการทดสอบ 19 ภาพที่ 4.1: รูป Icon การ Run เริ่มต้นโปรแกรม 20 ภาพที่ 4.2: รูปหน้า Start Menu 21 ภาพที่ 4.3: รูปหน้าการทางาน Free Run Mode 22 ภาพที่ 4.4: ภาพการทางาน Pause Mode 22 ภาพที่ 4.5: ภาพการทางาน Driving Test Mode 23 ภาพที่ 4.6: ภาพ Traffic Cone 24 ภาพที่ 4.7: ภาพ Box 25 ภาพที่ 4.8: ภาพการทดสอบจอดชิดเส้นไหล่ทาง 25 ภาพที่ 4.9: ภาพการทดสอบถอยรถเข้าซอง 26 ภาพที่ 4.10: ภาพการทดสอบการเดินหน้าและถอยหลัง 26 ภาพที่ 4.11: ภาพการทางานระบบ You Win 27 ภาพที่ 4.12: ภาพการทางานระบบ Game Over 29 ภาพที่ 4.13: ภาพการทางานระบบ Pause Mode 29
  • 12. 1 บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญของงาน เนื่องจากผู้ที่เริ่มหัดขับรถยนต์เริ่มแรกจะเกิดความกลัวในการขับออกถนนจริงและไม่มี ประสบการณ์อาจทาให้ผู้อื่นเกิดอันตรายบนท้องถนน จนทาให้ผู้หัดขับเกิดเป็นความกลัวในใจจน อาจจะไม่สามารถหัดขับได้อีกเลยและหากไปศึกษากับสถาบันฝึกสอนขับรถยนต์มีค่าใช้จ่ายที่แพงโดย มีข้อจากัดในการเรียนเป็นรายชั่วโมง เมื่อเริ่มที่จะฝึกหัดเป็นพร้อมที่จะไปสอบที่กรมขนส่ง ก็เกิด ปัญหาที่ไม่สามารถนาผู้ทดสอบไปทดสอบยังสถานที่จริงได้เนื่องจากผู้ต้องการทดสอบใบขับขี่มีจานวน มากเกิน จึงจากัดพื้นที่ขึ้นมาเพื่อทดสอบได้เพียงแค่ท่ามาตรฐานเพื่อทดสอบใบขับขี่และระบบจาลอง ทั่วไปจะเน้นในด้านการขับขี่แบบแข่งขันไม่มีที่ใช้เพื่อทาให้เกิดจิตสานึกในการขับขี่อย่างถูกระเบียบ ตามกฎหมายและในระบบของตัวเกมต่าง ๆ จะมีการทดสอบใบขับขี่ในหลักสูตรของทางฝั่งยุโรปที่เป็น พื้นฐานสากล แต่ในระบบของไทยทาออกมาจึงทาขึ้นมาเพื่อใช้กับระบบทดสอบใบขับขี่ของไทยเพื่อใช้ ในการพัฒนาระบบใบขับขี่ไทยต่อไปในภายภาคหน้า จึงมีความคิดที่จะนาเทคโนโลยีที่มีอยู่อย่างระบบภาพเสมือนจริงเข้ามาช่วยให้ผู้หัดขับขี่เกิด ความมั่นใจในการขับขี่ โดยนาระบบ Virtual Reality เข้ามาทาเป็นระบบเกมเพื่อหัดขับขี่ในโลก เสมือนจริง ประกอบกับระบบควบคุมด้วย Car Controller โดยมีการจาลองพื้นที่ทดสอบและถนน จริงขึ้นมาเพื่อทดสอบและหัดขับขี่ 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพื่อใช้ในการฝึกซ้อมเพื่อสอบใบขับขี่ภาคปฏิบัติ 1.2.2 เพื่อเพิ่มความมั่นใจให้กับผู้ทดสอบ 1.2.3 เพื่อลดต้นทุนในการฝึกซ้อมการขับขี่ 1.2.4 เพื่อเพิ่มโอกาสและความมั่นใจให้ผู้ทดสอบ 1.3 สิ่งที่คาดหวัง 1.3.1 ได้ระบบจาลองการขับขี่รถยนต์ที่ใช้ฝึกหัดขับขี่รถยนต์ได้ 1.3.2 ได้ระบบเกมที่มีความเสมือนจริง 1.3.3 ทาให้ผู้ฝึกหัดมีความมั่นใจในการขับขี่ 1.3.4 ลดอุบัติเหตุบนท้องถนน
  • 13. 2 1.4 ขอบเขตและวิธีการศึกษา 1.4.1 ขอบเขตการทางานของ Software 1) บังคับทิศทางโดยใช้ Game Controller 2) บังคับรถยนต์แบบอิสระใน City World 3) มองรอบทิศทาง 360 องศา 4) บังคับรถยนต์ระบบเกียร์ออโตเมติก 5) ทดสอบรูปแบบที่ 1 จอดเทียบเส้น 6) ทดสอบรูปแบบที่ 2 ถอยรถยนต์เข้าซอง 7) ทดสอบรูปแบบที่ 3 เดินหน้า-ถอยหลัง 1.4.2 วิธีการศึกษา ค้นคว้าบทความที่เกี่ยวข้อง 1) Unity 3D 2) Virtual Reality 3) Car traffic 4) Car controller 5) Car variable 1.4.3 เก็บข้อมูลจากสถานที่ทดสอบ 1) สอบถามข้อมูลจากพนักงานสอบใบขับขี่ 2) ประมาณสภาพถนนและขนาดของถนน 3) เก็บภาพและส่วนประกอบของอาคารรอบๆถนน 1.5 เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา 1.5.1 รายละเอียดของซอฟต์แวร์ 1) Window 10 for development 2) Window 8.1 for testing 3) Unity 3D version.5.0 4) Rewired Asset 5) Visual Studio 6) SketchUp 2016 7) Oculus Runtime
  • 14. 3 1.5.2 รายละเอียดฮาร์ดแวร์ 1) Oculus Rift 2) Logitech G29 3) PC for run 1.6 ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษา 1) ได้รับ Software Game ระบบทดสอบใบขับขี่ 2) ได้รับการพัฒนาร่วมกับระบบ Virtual Reality
  • 16. 5 บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม 2.1 ใบขับขี่รถยนต์ 2.1.1 การทดสอบใบขับขี่ การทาการทดสอบเพื่อได้มาซึ่งใบขับขี่ตามกฎหมายของประเทศเพื่อจะได้ขับขี่รถยนต์ได้ ถูกต้องตามกฎหมายของประเทศเพื่อยืนยันว่าบุคคลนี้มีสิทธิถูกต้องตามกฎหมายของประเทศในการ ใช้รถยนต์บนถนนของประเทศนั้น ๆ หากเกิดอุบัติเหตุสามารถยืนยันตัวบุคคลได้จากใบขับขี่เพื่อจะ ได้มาซึ่งใบขับขี่จาเป็นต้องทาการทดสอบต่าง ๆ ตามที่กรมขนส่งทางบกได้กาหนดไว้ ซึ่งใบขับขี่มี หลากหลายประเภท (กมล พิพัฒน์ชัยกุล, 2552) 2.1.2 ประเภทของใบขับขี่ 2.1.2.1 ใบขับขี่รถยนต์ส่วนบุคคล 2.1.2.2 ใบขับขี่รถยนต์สามล้อส่วนบุคคล 2.1.2.3 ใบขับขี่รถยนต์สาธารณะ 2.1.2.4 ใบขับขี่รถยนต์สามล้อสาธารณะ 2.1.2.5 ใบอนุญาตขับขี่จักรยานยนต์ส่วนบุคคล 2.1.2.6 ใบอนุญาตขับรถบดถนน 2.1.2.7 ใบอนุญาตขับรถระหว่างประเทศ 2.1.3 การทดสอบสมรรถภาพ 2.2.1.1 ทดสอบสายตาบอดสี 2.2.1.2 ทดสอบสายตาทางลึก 2.2.1.3 ทดสอบสายตาทางกว้าง 2.2.1.4 ทดสอบการใช้เท้า
  • 17. 6 2.1.4 การทดสอบข้อเขียน การทดสอบข้อเขียนหรือการสอบวัดความรู้ในเรื่องการจราจรซึ่งเนื้อหาที่สอบจะ เกี่ยวข้องกับสัญลักษณ์ป้ายจราจรและการดูแลรักษารถยนต์เบื้องต้น โดยมีข้อสอบ 50 ข้อ โดยต้องทา ได้ 45 ข้อขึ้นไป (กมล พิพัฒน์ชัยกุล, 2552) 2.1.5 การทดสอบภาคปฏิบัติ 2.1.5.1 การทดสอบใบขับขี่ภาคปฏิบัติรถยนต์เกียร์ออโต้เมติก การทดสอบภาคปฏิบัติเป็นการทดสอบความสามารถของผู้ขับขี่สาหรับเกียร์ออโต้ โดยจะมีท่าสอบพื้นฐานทั้งหมด3ท่าด้วยกันคือ - การจอดเทียบเส้นข้างถนน - การถอยรถเข้าซอง - การเดินหน้าและถอยหลัง 2.1.5.2 การทดสอบใบขับขี่ภาคปฏิบัติรถยนต์เกียร์ธรรมดา การทดสอบภาคปฏิบัติเป็นการทดสอบความสามารถของผู้ขับขี่สาหรับเกียร์ธรรมดา จะมีการทดสอบแตกต่างเพิ่มขึ้นจากเกียร์ออโต้มาอีกอย่างหนึ่งคือการขับรถขึ้นสะพานและพักเบรก มือและขับต่อไม่ให้ดับ (กมล พิพัฒน์ชัยกุล, 2552) จึงตัดสินใจทาระบบเกมทดสอบและฝึกหัดการขับขี่รถยนต์ และเป็นระบบที่ควรจะมี เกิดขึ้นในประเทศไทยเพื่อพัฒนาระบบทดสอบใบขับขี่โดยจะมีการออกแบบระบบเป็นฐานการ ทดสอบท่ามาตรฐาน 3 ท่า คือ การขับขี่เดินหน้าและถอยหลัง, การจอดรถเข้าซอง, การขับเดินหน้า เทียบเส้นข้างทาง ซึ่งช่วยสร้างความมั่นใจว่าสามารถเข้ามาช่วยการทดสอบจริงได้ ด้วยการนา Virtual Reality เข้ามาช่วยแทนที่จะทาเป็นตัวเกมที่มองผ่านจอภาพธรรมดา 2.2 Virtual Reality Virtual Reality หรือ ที่เรียกกันว่า VR นั้น ได้ถูกคนพบโดย ไมรอน ครูเกอร์ (Myron Krueger) หมายถึงการใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกร่วมกับฮาร์ดแวร์พิเศษ เพื่อทาให้ผู้ใช้รู้สึกว่าเหมือนเข้า ไปอยู่ในสภาพแวดล้อมนั้นจริง ๆ โดย VR นั้นจะป้อนข้อมูลตรงกับประสาทการมองเห็นของมนุษย์อีก ทั้ง VR ยังสามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ (Lempereur, Pudlo, Gorce & Lepoutre, 2003) อีก ทั้งยังช่วยในการใช้ในระบบการสอนและการฝึกอบรมเรื่องสภาพแวดล้อมต่างในระบบจราจรร่วมทั้ง ทาให้เกิดระบบจาลองขึ้นมาเพื่อใช้เพิ่มสมาธิให้ผู้ขับขี่ในขณะขับขี่ (Nemec, Wlosok, Fasuga, 2014) เพื่อช่วยให้เกิดความเหมือนจริงมากที่สุดเพราะ VR นั้นส่วนใหญ่ออกมาในรูปแบบเกม หรือ จาพวกใช้ในการฝึกฝน ตัวอย่างเช่นการฝึกหัดบิน เป็นต้น ในโลกเหมือนจริงนี้ยังมีออกมาอย่าง
  • 18. 7 ต่อเนื่องในรูปแบบเกมที่เป็นไปต่าง ๆ นา ๆ เช่นบทบาทสมมุติเป็นตัวละคร ทาให้เราเข้าไปอยู่ในโลก เหมือนจริงนั้น ๆ ผ่านตัวเกม Console หรือบน PC ตาม โดยอุปกรณ์ชิ้นแรกมีชื่อว่า “Sword of Damocles” ถูกสร้างขึ้นในปี ค.ศ.1968 ใช้งานเบื้องต้นในการจาลองการบินโดยมีอุปกรณ์สวมหัว และครอบตา เพื่อให้นักบินได้ทาการฝึกซ้อมการบินให้คล่องก่อนที่จะมีการบินจริง โดยการสร้างและ วิจัยอุปกรณ์ขึ้นมาจากผลงานของ Ivan Sutherland โดยต่อมาตามบริษัทใหญ่อยาก Microsoft, Facebook, Google, HTC ต่างให้ความสนใจในอุปกรณ์ด้าน VR จึงได้มีการพัฒนาอุปกรณ์หลัก ๆ ของ VR ขึ้นมา (Oller, 2010) อีกทั้งยังมีกลุ่มผู้วิจัยที่ให้ความสนใจในการนา VR เข้าไปพัฒนางาน อย่างเช่นงานการพัฒนาผู้ขับขี่ขั้นสูง ADAS มีการจาลองสภาพแวดล้อมผ่านเซ็นเซอร์และนามา ประยุกต์ใช้กับ VR เพื่อเพิ่มความเสมือนจริงซึ่งสามารถใช้งานผ่านคอมพิวเตอร์หลายเครื่องพร้อม ๆ กันอีกด้วย (Gruyer, Choi, Boussard & D’Andrea-Novel, 2014) โดยมีรายละเอียดของอุปกรณ์ ดังต่อไปนี้ 2.2.1 Oculus หรือ แว่น VR ต่าง ๆ 2.2.1.1 แว่น Virtual Reality ใช้กับ Smart Phone - Samsung Gear VR - Google Cardboard 2.2.1.2 แว่น Virtual Reality ใช้กับ Computer หรือ Game Console - Oculus Rift - Sony VR (Project Morpheus) - HTC VIVE 2.2.2 เกม Controller - Logitech G27, G29 - Thrust Master T150 - Speed Link 2.3 Unity3D 2.3.1 Unity3D Unity3D คือ Tool ชนิดหนึ่งที่สามารถช่วยให้ผู้พัฒนานิยมนามาช่วยในการพัฒนา เกม ไม่ ว่าจะเป็น 2D หรือ 3D ก็ตามเพราะ Tool ตัวนี้สามารถพัฒนาออกมาได้ทั้งรูปแบบ Window, OS X รวมทั้ง Android ซึ่งมีเวอร์ชั่นฟรีให้ทดลองใช้อีกทั้งสามารถทาให้ผู้เริ่มใช้งานสามารถพัฒนาเกมขึ้นมา กอย่างเช่นเกมสาหรับเด็กได้โดยง่ายและสามารถศึกษาได้ง่ายจากข้อมูลที่มีอยู่ในแหล่งต่าง ๆ (Lim,
  • 19. 8 Han & Guen, 2014) โดยการทาเป็นเกม 3D อีกทั้งยังสามารถใช้ทาเป็นระบบ AR ได้อีกด้วยมีผู้วิจัย ได้นามาสร้างระบบเกี่ยวกับการรักษาโลกอ้วนในวัยเด็กโดยใช้ระบบ AR ใช้งานในมือถือใช้อีกด้วย (Kim, Suk, Kang, Jung, Laine & Westlin, 2014) และอีกทั้งยังสามารถนามาทาระบบฟื้นฟูอาการ ปวดเรื้อรังได้อีกด้วยโดยการนามาใช้งานรวมกับอุปกรณ์ Kinect ของ Xbox ซึ่งนามาจับการ เคลื่อนไหวของผู้ป่วยรวมถึงการทาการบาบัดฟื้นฟูให้ผู้ป่วยรวมถึงการติดตามผลในระยะยาว (Schönauer, Pintaric, Kaufmann, Jansen-Kosterink & Vollenbroek-Hutten, 2011) รวมทั้ง การพัฒนาต่างด้านกราฟฟิกสามารถใช้งานรวมกับโปรแกรมต่าง ๆ อย่างเช่น AutoCAD, MultiGen, SkecthUP ที่สามารถนามาช่วยในการสร้างฉากต่าง ๆ ให้มีความเสมือนจริงโดยมีความสเถียรถึงแม้ว่า จะนามาจากโปรแกรมที่แตกต่างกันก็ตาม (Lu, Xue & Chen, 2011) จึงเหมาะกับผู้เริ่มต้นพัฒนา เพราะมี Code ที่จาเป็นอยู่แล้วให้เพื่อปรับตั้งค่าในการใช้งานโดยภาษาที่ใช้ จะเป็น C# Script หรือ Java Script ในการใช้กาหนดคาสั่งต่าง ๆ (Norton, 2013) รวมไปถึงการนา C# Script มากาหนด Add-on ต่าง ๆ ให้กับ GUI ในการควบคุมระบบให้กับตัวเกมหรือระบบจาลองต่าง ๆ ได้อีกด้วยผ่าน ฟังชั่นต่าง ๆ หรือการกาหนดขั้นตอนการทางานของ GUI ด้วย Unity3D (Sagredo-Olivenza, Flórez-Puga, Gómez-Martín & González-Calero, 2015) ภาพที่ 2.1: Overview Unity3D ที่มา: Unity3D. (n.d.). Retrieved from https://unity3d.com/unity/engine-features.
  • 20. 9 2.3.2 ความสามารถของUnity3D ปัจจุบัน Unity3D ได้พัฒนามาถึง Version 5.0 ซึ่งเป็นเวอร์ชั่นล่าสุด มีการเพิ่มช่องทางใน การเชื่อมต่อกับ Oculus Rift โดยมีการออก Manual สาหรับการพัฒนาและใช้เชื่อมต่อกับทาง อุปกรณ์ดังกล่าว ณ ตอนนี้ความนิยมของ Unity3D ทาให้ผู้พัฒนาทางด้านเกมต่าง ๆ หันมาใช้ ซอฟแวร์ตัวนี้เพราะสามารถสร้างออกมาได้หลาย ๆ แบบ แล้วสร้างในแพลทฟอร์ม เช่น Web, PC, Mac, iOS, Android, Windows Phone, Blackberry, Xbox, PlayStation ภาพที่ 2.2: ภาพโปรแกรม Unity3D 2.3.3 การเชื่อมต่อ Virtual Reality ใน Unity3D โปรแกรมUnity3D ในมีการพัฒนาใน Version 5.0 ให้มีการเชื่อมต่อ Virtual Reality ได้ โดยงานโดยการ Setting เพียงแค่การทาเครื่องหมายถูกในช่อง Virtual Reality Supported ตาม ภาพด้านล่าง Project setting>player>virtual Reality Supported ภาพที่ 2.3: Setting Virtual reality
  • 21. 10 2.4 งานที่เกี่ยวข้องเรื่องการจาลองการฝึกขับรถ 2.4.1 Gran Turismo 5 เป็นเกมที่จาลองการขับขี่ในรูปแบบการขับขี่รถแข่งในสนามแข่ง โดยมีการเชื่อมต่อกับระบบ Car Controller และสามารถใช้รวมกับแว่น Virtual Reality ได้ แต่ขอ จากัดของเกมที่ใช้เพื่อการแข่งขันจึงไม่มีระบบทดสอบหรือฝึกหัดการขับขี่ ภาพที่ 2.4: ภาพเกม Gran turismo 5 ที่มา: Gran turismo 5. (n.d.). Retrieved from https://iedeiblog.com/tag/gran-turismo-5/. 2.4.2 Project Cars เป็นเกมขับขี่รถยนต์ที่เข้ามาในระบบ Game Console PlayStation 4 ที่มีความเสมือนจริงที่เกิดจากภาพบนจอ ไม่สามารถเชื่อมต่อกับระบบ Virtual Reality และไม่มี ระบบฝึกหัดขับขี่
  • 22. 11 ภาพที่ 2.5: ภาพเกม Project Cars ที่มา: Project cars. (n.d.). Retrieved from http://www.gamespot.com/project-cars/. 2.4.3 City Car ถือว่าเป็นเกมที่มีความครบถ้วนของความเสมือนจริง จุดประสงค์ของเกม City car ทาขึ้นเพื่อใช้ทดสอบและฝึกหัดขับขี่รถยนต์โดยเฉพาะ โดยระบบเกมสามารถเชื่อมต่อกับ แว่น Virtual Reality ได้และต่ออุปกรณ์ขับขี่อย่าง Car Controller และยังมีรูปแบบทดสอบการขับขี่ แต่ไม่มีระบบของประเทศไทย จะมีแต่ในรูปแบบสากลทั่วไป ภาพที่ 2.6: ภาพเกม City car
  • 23. 12 2.5 สรุป โดยสรุปแล้วเหตุผลที่เลือกใช้ Unity3Dในการพัฒนานั้น เพราะสามารถศึกษาได้ง่ายเพราะมี ผู้เชี่ยวชาญออกมาให้ความรูปหลายช่องทาง และอีกทั้งยังมีการออก รูปแบบ Code ต่าง ๆ สาเร็จรูป โดยอ้างอิงจากเว็บไซต์หลักของ Unity 3D นั้นเอง ทั้งนี้ยังมี Asset Store ที่ใหญ่พอสาหรับมือใหม่ที่ จะเลือกสรรวัตถุที่ต้องการนามาใช้โดยไม่ต้องสร้างขึ้นมาเอง
  • 24. 13 บทที่ 3 สถาปัตยกรรม 3.1 Unity3D ภาพที่ 3.1: ภาพสถาปัตยกรรมระบบ ตารางที่ 3.1: เครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับพัฒนาระบบ ประเภทของระบบ ความต้องการของระบบ Operation System Windows 7 SP1+, 8, 10; Mac OS X 10.8+. Graphics processing unit Graphics card with DX9 (shader model 2.0) capabilities. Anything made since 2004 should work. Computer processing unit Quad core intel or AMD RAM 4GB or 8GB Input Files.FBX Files.JPG,.BMP Development C# Coding Rewired Input IK Driver Driving License Game Simulation
  • 25. 14 ตารางที่ 3.2: เครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับใช้งานระบบ ประเภทของระบบ ความต้องการของระบบ Operation System Windows 7 SP1+, 8, 10; Mac OS X 10.8+. Graphics processing unit Graphics card with DX9 (shader model 2.0) capabilities. Anything made since 2004 should work. Computer processing unit CPU: SSE2 instruction set support. RAM 4GB or 8GB 3.2 Oculus Rift DK2 ภาพที่ 3.2: ภาพ Oculus Rift DK2 ที่มา: Oculus Rift. (n.d.). Retrieved from http://www.vrheadsets3d.com/oculus- rift/oculus-rift-news/second-life-ready-for-oculus-rift-dk2/. ตารางที่ 3.3: ความต้องการของระบบ ประเภทของระบบ ความต้องการของระบบ Operation System Windows 7 SP1 64 bit or newer Video Card NVIDIA GTX 970 / AMD R9 290 equivalent or greater Video Output Compatible HDMI 1.3 video output USB Ports 3x USB 3.0 ports plus 1x USB 2.0 port Computer processing unit Intel i5-4590 equivalent or greater Memory 8GB+ RAM
  • 26. 15 3.3 Logitech G29 ภาพที่ 3.3: ภาพอุปกรณ์ Logitech G 29 ที่มา: Logitech G29. (2558, 14 กรกฏาคม). สืบค้นจาก http://www.gump.in.th/web/ product/detail.php?ProductId=2392. ตารางที่ 3.4: ความต้องการของระบบ ประเภทของระบบ ความต้องการของระบบ Operation System Windows® 8.1, Windows 8 or Windows 7 Powered USB Port Internet connection and 150MB hard drive space (for optional software download) Games that support Logitech® force feedback racing wheel
  • 27. 16 ตารางที่ 3.5: ความสามารถการทางานของเกม รายการ ความสามารถ My project สามารถเชื่อมอุปกรณ์ขับขี่ Car Controller สามารถเชื่อมต่อกับ VR Gear สามารถวิ่งแบบ Free Run สามารถเข้ารูปแบบการทดสอบใบขับขี่ไทย 3.4 Rewired Asset Rewired Asset เป็น Asset Plug-In ภายใน Unity3D ที่มีความสามารถในการช่วย Mapping อุปกรณ์บังคับต่าง ๆ สามารถใช้งาน Mapping ในการทางานแบบ Individual และ Multiplayer ได้ ซึ่งสามารถทาให้ผู้พัฒนานั้นทางานได้งานขึ้นผ่าน Asset นี้ โดยการทางานผ่าน Rewired Input Manager ตามภาพด้านล่าง ภาพที่ 3.4: ภาพหน้าจอ Rewired Asset
  • 28. 17 3.5 IK Driver Asset IK Driver เป็น Asset จาก Asset Store เพื่อนามาใช้เพิ่มตัวละครให้มีการขยับแขนขาตาม การบังคับของการขับขี่โดยการกาหนดจุด Object ผ่าน C# Script ที่มากับ Asset โดยใช่จุด Object ต่างๆนามาวางในจุดที่เป็นพวงมาลัยในการระบุแขนซ้ายและแขนขวาให้จับพวงมาลัยรวมทั้งกาหนด วงเลี้ยวของพวงมาลัย ต่อมาในการกาหนดขาซ้ายและขวาเมื่อมีการเดินหน้ารถให้ขาขวาเหยียบที่ คันเร่งส่วนเวลาเบรคให้ขาขวาเหยียบที่แป้นเบรค ภาพที่ 3.5: ภาพ IK Driver Asset 3.6 เปรียบเทียบ Feature ตารางที่ 3.6: ตารางเปรียบเทียบ Feature รายการเกม เชื่อมต่อVR เชื่อมต่อ Controller Free Run Map Driving Test Thai Driving License My Project      GT5      City Car      Project Car     
  • 29. 18 3.7 ขั้นตอนการออกแบบ 1) ออกแบบหน้าเริ่มต้น โดยมีให้เลือกรูปแบบการเข้าเกม โดยมี - Free Driving - Testing Driving License - Exit ภาพที่ 3.6: ภาพหน้าจอหน้าเริ่มต้น 2) เมื่อเข้าสู่ระบบ Free Driving จะสามารถเริ่มต้นการฝึกหัดขับขี่ได้อย่างอิสระในถนน ที่จาลองขึ้นมาในโลกเสมือนจริง โดยกาหนดเส้นทางถนนเป็นเส้น เลียบทางด่วนเอกมัยรามอินทรา ภาพที่ 3.7: ภาพหน้าจอส่วน Free Driving
  • 30. 19 3) หน้าจอ Testing Driving License มีการจาลองการทดสอบเป็น 3 ท่าการทดสอบ ดังนี้ 3.1) เดินหน้าจอดเทียบเส้น 3.2) การถอยจอดเข้าซอง 3.3) การเดินหน้าถอยหลัง ภาพที่ 3.8: ภาพหน้าจอการทดสอบ
  • 31. 20 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน จากที่ผู้ดาเนินงานได้สร้างโปรแกรมเกมขึ้นมาเพื่อทาการทดลองตามแผนงานที่ได้วางไว้จะ สามารถอธิบายผลการดาเนินงานโครงงานได้ดังนี้ 4.1 การเริ่มต้นการใช้งานเกม 4.1.1 ขั้นตอนที่ 1 การเริ่มต้นการใช้งานโดยการคลิกที่ไฟล์ Driving License Simulation.exe เพื่อเริ่มต้นการทางานของระบบ แล้วรอการเปิดระบบ ภาพที่ 4.1: รูป Icon การ Run เริ่มต้นโปรแกรม 4.1.2 ขั้นตอนที่ 2 จากการเริ่มโปรแกรมเกม โปรแกรมจะแสดงหน้าจอ Start Menu ขึ้นโดย มี ปุ่มการใช้งานดังต่อไปนี้ - Free Run Mode - Driving Test Mode - Exit ภาพที่ 4.2: รูปหน้า Start Menu
  • 32. 21 4.1.3 ใช้งาน Free Run Mode เมื่อกดเข้าที่ Free Run Mode จะแสดง Free Run Mode 4.1.3.1 วิธีการบังคับสามารถ บังคับได้ 2 โหมด - Keyboard Control มีปุ่มการใช้งานดังนี้ ปุ่มการทางาน คาสั่งการทางาน W เดินหน้า S ถอยหลัง A เลี้ยวซ้าย D เลี้ยวขวา Space Bar หยุดรถ - Logitech G29 - ปุ่มการทางาน คาสั่งการทางาน Wheel บังคับเลี้ยว ซ้าย-ขวา Accelerator เดินหน้า Reverse Accelerator ถอยหลัง Brake หยุดรถ ภาพที่ 4.3: รูปหน้าการทางาน Free Run Mode
  • 33. 22 4.1.3.2 การใช้งาน Pause Mode ใช้งานโดยการกดปุ่ม Escape จะหยุดเกมทั้ง หมดแล้วแสดงหน้า Pause Menu ภายในหน้า Pause Menu มีปุ่มการใช้งานดังต่อไปนี้ ปุ่มการใช้งาน คาสั่งการทางาน Resume กลับเข้าสู้การใช้งาน Free Run Mode Restart เริ่มต้นการใช้งาน Free Run Mode ใหม่ Main Menu กลับสู่หน้า Main Menu Exit ออกจากโปรแกรม ภาพที่ 4.4: ภาพการทางาน Pause Mode
  • 34. 23 4.1.4 ขั้นตอนที่ 5 การใช้งานในโหมด Driving License Mode เมื่อกดเข้าใช้งาน Driving License Mode ผ่านหน้า Start Menu จะแสดงหน้า Driving License Mode 4.1.4.1 วิธีการบังคับสามารถ บังคับได้ 2 โหมด - Keyboard Control มีปุ่มการใช้งานดังนี้ ปุ่มการทางาน คาสั่งการทางาน W เดินหน้า S ถอยหลัง A เลี้ยวซ้าย D เลี้ยวขวา Space Bar หยุดรถ - Logitech G29 มีปุ้มการทางานดังนี้ ปุ่มการทางาน คาสั่งการทางาน Wheel บังคับเลี้ยว ซ้าย-ขวา Accelerator เดินหน้า Reverse Accelerator ถอยหลัง Brake หยุดรถ 4.1.4.2สิ่งที่แสดงบนหน้าจอ มีดังนี้ User Interface รายละเอียด Score: 0 แสดงคะแนน 00.00 แสดงเวลาในการทางาน
  • 35. 24 ภาพที่ 4.5: ภาพการทางาน Driving Test Mode 4.1.4.3 การนับคะแนนจะนับเพิ่มและลบคะแนนผ่าน Game Object ดังนี้ Game Object รายละเอียด Traffic Cone ลดคะแนน 10 คะแนน Box เพิ่มคะแนน 20 คะแนน ภาพที่ 4.6: ภาพ Traffic Cone
  • 36. 25 ภาพที่ 4.7: ภาพ Box คะแนนความสามารถ ผ่านการทดสอบทั้งหมด คะแนนที่ได้ 70-100 คะแนน ไม่ผ่านการทดสอบ คะแนนที่ได้ 0-69 คะแนน 4.1.4.4 การทดสอบจอดชิดเส้นไหล่ทาง ต้องทาการจอดชิดเส้นไหล่ทางและเก็บ กล่องจานวน 2 กล่อง ฐานนี้ มีคะแนนทั้งหมด 40 คะแนน จะถือว่าผ่านการทดสอบในท่านี้ ภาพที่ 4.8: ภาพการทดสอบจอดชิดเส้นไหล่ทาง
  • 37. 26 4.1.4.5 การทดสอบถอยรถเข้าซอง ต้องทาการถอยจอดเข้าซองและเก็บกล่อง จานวน 2 กล่อง ฐานนี้ มีคะแนนทั้งหมด 40 คะแนน รวมจากท่าแรกต้องมีคะแนน 80 คะแนนถึงจะ ผ่านในท่านี้ ภาพที่ 4.9: ภาพการทดสอบถอยรถเข้าซอง 4.1.4.5 การทดสอบเดินหน้าถอยหลัง ต้องทาการเดินหน้าและถอยหลังและเก็บ กล่องจานวน 1 กล่อง ฐานนี้ มีคะแนนทั้งหมด 20 คะแนน คะแนนรวมในท่านี้ต้องมี 100 คะแนนถึง จะผ่านในท่านี้ ภาพที่ 4.10: ภาพการทดสอบการเดินหน้าและถอยหลัง
  • 38. 27 4.1.4.6 การสิ้นสุดเกม ต้องบังคับรถยนต์เข้าสู่เส้น Finish เพื่อสิ้นสุดการทดสอบโดย เมื่อเข้าเส้น Finish จะแสดงหน้า Interface ดังนี้ User Interface รายละเอียด You Win แสดงว่าสิ้นสุดการทดสอบ Your Score แสดงคะแนนที่ได้ทั้งหมด Retry เริ่มต้นการทดสอบใหม่ Main Menu กลับสู่หน้า Main Menu ภาพที่ 4.11: ภาพการทางานระบบ You Win 4.1.4.7 การสิ้นสุดเกม Game Over เมื่อคะแนนน้อยกว่า 0 คะแนน จะแสดงหน้า Interface ดังต่อไปนี้ User Interface รายละเอียด Game Over แสดงว่าสิ้นสุดการทดสอบ Retry เริ่มต้นการทดสอบใหม่ Main Menu กลับสู่หน้า Main Menu
  • 39. 28 ภาพที่ 4.12: ภาพการทางานระบบ Game Over 4.1.4.8 การใช้งาน Pause Mode ใช้งานโดยการกดปุ่ม Escape จะหยุดเกมทั้ง หมดแล้วแสดงหน้า Pause Menu ภายในหน้า Pause Menu มีปุ่มการใช้งานดังต่อไปนี้ ปุ่มการใช้งาน คาสั่งการทางาน Resume กลับเข้าสู้การใช้งาน Free Run Mode Restart เริ่มต้นการใช้งาน Free Run Mode ใหม่ Main Menu กลับสู่หน้า Main Menu Exit ออกจากโปรแกรม ภาพที่ 4.13: ภาพการทางานระบบ Pause Mode
  • 40. 29 4.2 เกณฑ์การให้คะแนนของแบบการประเมินมีดังนี้ ตารางที่ 4.1: ตารางแสดงระดับผลความพึงพอใจ ระดับการประเมิน ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มีความพึงพอใจในตัวเกมมากที่สุด มาก มีความพึงพอใจในตัวเกมมาก ปานกลาง มีความพึงพอใจในตัวเกมปานกลาง น้อย มีความพึงพอใจในตัวเกมน้อย น้อยที่สุด มีความพึงพอใจในตัวเกมน้อยที่สุด ตารางที่ 4.2: ตารางแสดงระดับผลการประเมิน คะแนนความพึงพอใจ ผลการประเมิน 4.50-5.00 มากที่สุด 3.50-4.49 มาก 2.50-3.49 ปานกลาง 1.50-2.49 น้อย 0.00-1.49 น้อยที่สุด 4.3 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน การประเมินจะใช้การสรุปการประเมินโดยใช้ค่าเฉลี่ยเป็นตัวแทนในการประเมินในกลุ่มผู้ ทดสอบ เพื่อให้ได้ข้อมูลของค่าเฉลี่ยของกลุ่มผู้ทดสอบ โดยใช้การหาค่าแบบค่าเฉลี่ยเชิงคณิตศาสตร์ ซึ่งมีวิธีการหาค่าเฉลี่ยโดยการนาผลรวมของค่าประเมินทั้งหมดในหัวข้อนั้น ๆ มารวมกันและหารด้วย จานวนข้อมูลทั้งหมด โดยมีสมการดังต่อไปนี้
  • 41. 30 การหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็นการหาค่าการกระจายตัวกันของข้อมูลที่ได้มาซึ่งมีค่า กระจายออกจากค่าเฉลี่ยของข้อมูลถ้าค่ายิ่งมากจะแสดงว่ามีการแปรปรวนของข้อมูลหรือการกระจาย ของข้อมูลสูง ซึ่งมีสมการหาค่าดังต่อไปนี้ สรุปผลความพึงพอใจของการใช้งานระบบ Driving License Test Simulation จากการเก็บข้อมูลจากผู้ใช้งานรวบรวมจากแบบประเมินความพึงพอใจจากบุคลที่ขับรถเป็น และขับรถไม่เป็นทั้งหมด จากกลุ่มทดลอง จานวน 10 คน ชาย 6 คน หญิง 4 คน ขับขี่รถยนต์เป็น 9 คน ขับขี่รถยนต์ไม่เป็น 1 คน ตารางที่ 4.3: ตารางสรุปผลการประเมิน รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ 5 4 3 2 1
  • 42. 31 1. ความสมจริงด้านภาพและเสียงของระบบจาลอง 1.1 ส่วนประกอบภายในตัวรถมีความสมจริง 4.5±0.5 1.2 สภาพแวดล้อมภายนอกรถมีความ สมจริง 4.4±0.49 1.3 เสียงเครื่องยนต์ระหว่างขับขี่มีความ สมจริง 4.2±0.4 2. ความสมจริงของการจาลองการขับขี่ 2.1 การบังคับทิศทางด้วยพวงมาลัยมีความ สมจริง 4.6±0.49 2.2 การตอบสนองของภาพจากการหมุน และเคลื่อนศีรษะไปในทิศทางต่างๆมีความ รวดเร็ว สมจริง 4.4±0.49 3. ความสมจริงของบททดสอบ 3.1 การทดสอบจอดชิดเส้น 4.4±0.66 3.2 การทดสอบถอยเข้าซอง 4.3±0.46 3.3 การเดินหน้าและถอยหลัง 4.6±0.49 4. ศักยภาพในการนาไปฝึกทดสอบจริง 4.1 สามารถใช้ฝึกการควบคุมรถยนต์ เบื้องต้น (เดินหน้า ถอยหลัง เลี้ยว) 4.8±0.4 4.2 สามารถใช้ในการเตรียมตัวก่อนสอบ ใบขับขี่ภาคปฏิบัติ 4.5±0.5 4.3 สามารถช่วยพัฒนาทักษะการขับขี่บน ท้องถนนจริง 4.2±0.75 4.4 สามารถช่วยลดอุบัติเหตุบนท้องถนนได้ 3.9±0.75 4.4 สรุปผลการทาแบบสอบถามความพึงพอใจ จากผลการทาแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้จานวน 10 คน เป็นชาย 6 คน หญิง 4 คน เคยขับขี่รถยนต์มาแล้ว 9 คน ไม่เคยขับขี่ 1 คน โดยสรุปผลค่าเฉลี่ยแล้ว ตามค่าเฉลี่ยที่ได้จากการทา แบบสอบถามได้ผลสรุปมาดังนี้ ด้านความสมจริงด้านภาพและเสียงของระบบจาลอง ผลออกมาใน ส่วนของตัวรถและส่วนประกอบของรถอยู่ได้ระดับมีความพึงพอใจมากที่สุด สภาพแวดล้อมและเสียง เครื่องยนต์อยู่ในระดับมีความพึงพอใจมาก ต่อมาในส่วนของความสมจริงของการจาลองการขับขี่เรื่อง
  • 43. 32 การบังคับทิศทางด้วยพวงมาลัยมีความสมจริงมีความพึงพอใจมากที่สุด ส่วนการตอบสนองของการ หมุนและเคลื่อนที่ของภาพมีความสมจริงมีความพึงพอใจมาก ความสมจริงของบททดสอบด่าน ทดสอบจอดชิดเส้นและถอยเข้าซองมีความพึงพอใจมาก ส่วนการเดินหน้าถอยหลังมีความสมจริง มากที่สุด สุดท้ายด้านศักยภาพในการนาไปฝึกทดสอบจริงสรุปได้ว่าสามารถใช้ฝึกการควบคุมเบื้องต้น และใช้ในการเตรียมตัวก่อนสอบใบขับขี่ได้มากที่สุด ส่วนในการพัฒนานั้น สามารถช่วยพัฒนาการขับ ขี่และช่วยลดอุบัติเหตุได้มาก
  • 44. 33 บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน 5.1 สรุปผลการออกแบบโปรแกรมเกม มีการเปลี่ยนแปลงจากเดิมดังนี้ 1) การบังคับ Player - ปรับเปลี่ยนคาสั่งการทางาน โดย C# Script ที่ใช้ในการเคลื่อนที่ Player และ กาหนดให้สามารถบังคับ Player ได้ทั้ง Keyboard และ Logitech G29 2) ระบบนับคะแนน - เพิ่มระบบนับคะแนนให้มีทั้งคะแนนบวก และ ลบคะแนน 3) การจบเกม - ปรับเปลี่ยนจากเดิมที่ใช้การปิดระบบเกมเป็นการจบเกมเป็นเพิ่มคาสั่ง You win และ Game Over 5.2 สรุปผลการดาเนินงาน จากการทดสอบระบบเกม ผู้พัฒนาสามารถระบุได้ว่าผู้ใช้งานสามารถใช้งานเกมได้ทุกระบบ การใช้งานที่ได้มีระบุไว้ในข้างต้น ได้แก่ 1) การขับขี่แบบ Free Run Mode 2) การทดสอบการขับขี่โดยระบบ Driving Test License Mode 3) การใช้ระบบ Pause Mode 4) ระบบนับคะแนน 5) ระบบนับเวลา 6) ระบบการจบเกมด้วย You Win และ Game over 7) ระบบ Virtual Reality และ อุปกรณ์ขับขี่ Logitech G29 5.3 อภิปรายผลการทดสอบ จากแบบสอบถามการพึงพอใจจากผู้ใช้งานสรุปได้ว่าความสมจริงทั้งด้านภาพและเสียงมี ความเหมือนจริงและสวยงามเหมือนตัวรถยนต์จริง ๆ และสภาพแวดล้อมต่าง ๆ รวมทั้งเสียง เครื่องยนต์ทาให้ผู้ใช้มีความพึงพอใจหลังจากการใช้งานระบบจาลองการขับขี่ ต่อมาในส่วนความ สมจริงของการจาลองการขับขี่ สามารถบังคับทิศทางด้วยพวงมาลัยและมีการตอบสนองจากการหมุน
  • 45. 34 และเคลื่อนที่ของมุมมองจากการหันของศีรษะมีความสมจริงมากที่สุดสามารถนาไปใช้ในการจาลอง การขับขี่จริงได้ ส่วนของความสมจริงของบททดสอบนั้นทั้งสามท่ามีความสมจริงมากสามารถนาไป ฝึกหัดการทดสอบเพื่อเตรียมตัวในการทดสอบจริงได้ โดยมีการกาหนดคะแนนผ่านและไม่ผ่านอย่าง ชัดเจนในการทดสอบทาให้สามารถประเมินความสามารถของผู้ฝึกหัดได้ และสามารถเพิ่มศักยภาพ ให้กับผู้ใช้เพื่อนาไปฝึกทดสอบเบื้องต้นและช่วยพัฒนาทักษะการขับขี่บนท้องถนนจริงและสามารถ ช่วยลดอุบัติเหตุบนท้องถนนจริงได้ในระดับหนึ่ง แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นบนท้องถนนจริงเกิด งานการประมาทของผู้ขับขี่ในขณะนั้นไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้ หากผู้ขับขี่ไม่เคารพกฏจราจร ก็จะไม่สามารถลดการเกิดอุบัติเหตุได้ 5.4 ปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาของระบบเกม 5.4.1 ปัญหาของระบบ - การขับขี่แบบ Free Run Mode การขับขี่แบบ Free Run Mode ยังไม่สามารถใช้งานได้เต็มที่ 100% เพราะว่าตัว ถนนและตัวอาคาร ตกแต่งสภาพแวดล้อมยังทาไม่ครบทุกจุด - ระบบนับเวลายังไม่สามารถทาให้การนับเวลานั้นหยุดได้หลังจากการจบเกมแล้ว และการกดRestart 5.4.2 แนวทางในการแก้ไขปัญหา - ทาการออกแบบถนนและตัวอาคารเพิ่มให้ตรงตามแผนที่วางไว้ทาการปรับเปลี่ยน Script และกาหนดให้การนับเวลาหยุดหลังจากจบเกมแล้วรวมทั้งการกด Restart 5.5 ข้อเสนอแนะและการพัฒนาต่อ 5.5.1 ข้อเสนอแนะ 1) มีรถยนต์ลักษณะต่าง ๆ ให้เลือกมากขึ้น 2) มีการขับขี่แบบอิสระและมีเหตุการณ์ฉุกเฉินเกิดขึ้น 3) มีการพัฒนาต่อเพื่อนาไปใช้ในการทดสอบจริง 5.5.2 แนวทางการพัฒนาต่อในอนาคต 1) ระบบ Free Run - เพิ่มระบบ Car AI และสัญญาณไฟจราจร - สามารถใช้งานได้ในรูปแบบเกียร์ Manual - เข้าร่วมทดสอบได้หลายคนพร้อมกัน (Multi-Player)
  • 46. 35 2) ระบบทดสอบใบขับขี่ - เพิ่มการทดสอบเพิ่มเติม เพื่อช่วยเพิ่มทักษะให้กับผู้ฝึกหัด - เพิ่มระบบการเบรคและระบบการขับขี่ให้สมจริงมากขึ้น
  • 47. 36 บรรณานุกรม Logitech G29. (2558, 14 กรกฏาคม). สืบค้นจาก http://www.gump.in.th/web/product/ detail.php?ProductId=2392. Davis, B. A., Bryla, K., & Benton, P. A. (2015). Oculus rift in action. Retrieved from http://manning-content.s3.amazonaws.com/download/0/05b4e77-1259-4201- 9728-58ef46911f28/OculusRift_ch13.pdf. Gran turismo 5. (n.d.). Retrieved from https://iedeiblog.com/tag/gran-turismo-5/. Gruyer, D., Choi, S., Boussard, C., D’Andrea-Novel, B. (2014). From virtual to reality, how to prototype, test and evaluate new ADAS. IEEE Intelligent Vehicles Symposium Proceedings, (pp. 261-267). N.P.: n.p. Kim, S. L., Suk, H J., Kang, J. H., Jung, J. M., Laine, T., & Westlin, J. (2014). Using Unity 3D to facilitate mobile augmented reality game development. In Internet of Things (WF-IoT), 2014 IEEE World Forum on. N.P.: n.p. Lempereur, M., Pudlo, P., Gorce, P., & Lepoutre, F.-X. (2003). Optimization approach for the simulation of car accessibility movement. In Systems, Man and Cybernetics, IEEE International Conference on Vol. 1 (pp. 843-848). N.P.: n.p. Lim, C. J., Han, W. D., & Guen, J. Y. (2014). Educational game making-tool development using Unity3D engine: Birth of game. Journal of Korea Game Society, 14, 29-38. Lu, G. P., Xue, G. H., & Chen, Z. (2011). Design and Implementation of Virtual Interactive Scene Based on Unity 3D. In Advanced Materials Research Vols. 317-319 (pp. 2162-2167). N.P.: n.p. Nemec, M., Wlosok, J., & Fasuga, R. (2014). Virtual 3D simulation of a car in traffic. In IEEE 12th IEEE International Conference on Emerging eLearning Technologies and Applications (ICETA), (pp. 349-354). N.P.: n.p. Norton, T. (2013). Learning C# by developing game with Unity 3D. Birmingham: PackT. Oculus Rift. (n.d.). Retrieved from http://www.vrheadsets3d.com/oculus-rift/oculus- rift-news/second-life-ready-for-oculus-rift-dk2/.
  • 48. 37 Oller, R. (2010). Augmented reality. Retrieved from http://www.123seminarsonly.com/Seminar-Reports/021/44664310- Augmented-Reality.pdf. Project cars. (n.d.). Retrieved from http://www.gamespot.com/project-cars/. Sagredo-Olivenza, I., Flórez-Puga, G., Gómez-Martín, M. A., & González-Calero, P. (2015). Supporting the construction of a GUI component. International Journal of Creative Interfaces and Computer Graphics, 18. Schönauer, C., Pintaric, T., Kaufmann, H., Jansen-Kosterink, S., & Vollenbroek-Hutten, M. (2011). Chronic pain rehabilitation with a serious game using multimodal input. In Virtual Rehabilitation (ICVR), 2011 International Conference on. N.P.: n.p. Unity3D. (n.d.). Retrieved from https://unity3d.com/unity/engine-features.
  • 50. 39 หนังสือแสดงเจตนายินยอมเข้าร่วมการวิจัย (Informed Consent Form) วันที่................. เดือน.................... พ.ศ................ ข้าพเจ้า............................................................................... อายุ......................ปี ขอแสดงเจตนายินยอมเข้าร่วมโครงการวิจัยเรื่อง “ทัวร์โลกเสมือนของมหาวิทยาลัย กรุงเทพ” ข้าพเจ้าได้รับทราบรายละเอียดเกี่ยวกับที่มาและจุดมุ่งหมายของโครงการวิจัยฯ และข้อมูล ของผู้เข้าร่วมโครงการจะถูกเก็บรักษาไว้เป็นรายบุคคลโดยไม่เปิดเผยต่อสาธารณะ โดยจะมีเพียงการ รายงานผลการวิจัยต่อคณะอาจารย์ ผู้ทาวิจัยได้ชี้แจงรายละเอียดขั้นตอนต่าง ๆ ที่จะต้องปฏิบัติในการทดลองใช้แอพพลิเคชั่นฯ เพื่อนาผลการทดลองปฏิบัติไปวิเคราะห์และสรุปผลต่อไป ข้าพเจ้ายินดีที่ได้เข้าร่วมโครงการและลงชื่อไว้เป็นหลักฐานเพื่อใช้ประโยชน์ต่องานวิจัยต่อไป ลงชื่อ..............................................ผู้เข้าร่วมการวิจัย (........................................................)
  • 52. 41 แบบการสอบถามความพึงพอใจ เพศ ชาย หญิง ความสามารถในการขับขี่รถยนต์ เคยขับขี่มาก่อน ไม่เคยขับขี่มาก่อน รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ 5 4 3 2 1 1. ความสมจริงด้านภาพและเสียงของระบบจาลอง 1.1 ส่วนประกอบภายในตัวรถมีความสมจริง 1.2 สภาพแวดล้อมภายนอกรถมีความสมจริง 1.3 เสียงเครื่องยนต์ระหว่างขับขี่มีความสมจริง 2. ความสมจริงของการจาลองการขับขี่ 2.1 การบังคับทิศทางด้วยพวงมาลัยมีความ สมจริง 2.2 การตอบสนองของภาพจากการหมุนและ เคลื่อนศีรษะไปในทิศทางต่างๆมีความรวดเร็ว สมจริง 3. ความสมจริงของบททดสอบ 3.1 การทดสอบจอดชิดเส้น 3.2 การทดสอบถอยเข้าซอง 3.3 การเดินหน้าและถอยหลัง 4. ศักยภาพในการนาไปฝึกทดสอบจริง 4.1 สามารถใช้ฝึกการควบคุมรถยนต์เบื้องต้น (เดินหน้า ถอยหลัง เลี้ยว) 4.2 สามารถใช้ในการเตรียมตัวก่อนสอบใบขับขี่ ภาคปฏิบัติ 4.3 สามารถช่วยพัฒนาทักษะการขับขี่บนท้อง ถนนจริง 4.4 สามารถช่วยลดอุบัติเหตุบนท้องถนนได้
  • 54. 43 ประวัติผู้เขียน ชื่อ – นามสกุล : นายศุภกร ยงพิพัฒน์ อีเมล : supakorn.yong@bumail.net ประวัติการศึกษา : ระดับประถม โรงเรียนสมิทธิโชติ ระดับมัธยม โรงเรียนสตรีวิทยา 2 ระดับปริญญาตรี สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ