SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
Download to read offline
02
                 การรวมเยอรมัน ค.ศ. 1989 (The Reunification of Germany)


          ปญหาเยอรมันหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนการเผชิญหนากันระหวางอภิมหาอํานาจฝาย
ตะวันตกและฝายตะวันออก จนทําใหเยอรมันถูกแบงเปน 2 ประเทศ คือ สาธารณรัฐประชาธิปไตย
เยอรมัน (The Democratic Republic of Germany) หรือเยอรมันตะวันออก และประเทศสหพันธ
สาธารณรัฐเยอรมัน (The Federal Republic of Germany) หรือเยอรมันตะวันตก ตั้งแต ค.ศ. 1949
          ความพยายามรวมเยอรมันทีถูกแบงออกเปน 2 ประเทศใหเปนหนึ่งเดียว ในระยะแรกเยอรมัน
                                     ่
ตะวันตกไดนานโยบายการรวมเยอรมันผูกไวกับนโยบายที่มีตอสหรัฐอเมริกาและยุโรปตะวันตก แต
              ํ
บรรยากาศความตึงเครียดภายใตสงครามเย็นในชวง ทศวรรษที่ 195-1960 ทําใหความหวังในการรวม
เยอรมันเลือนราง จนกระทั่งในทศวรรษที่ 1970 เริ่มเยอรมันตะวันตกเริมฟนฟูความสัมพันธกับสหภาพ
                                                                 ่
โซเวียตและยุโรปตะวันตก แตการรวมเยอรมันก็ยังไมประสบความสําเร็จ สาเหตุสําคัญอยางหนึ่งก็คือ
เยอรมันตะวันออกนั้นมีความสําคัญตอสหภาพโซเวียตทังดานการเมืองและเศรษฐกิจ ประกอบกับผูนํา
                                                    ้                                    
ของเยอรมันตะวันออกไมตองการสูญเสียอํานาจ ทําใหเยอรมันตะวันออกเปนประเทศคอมนิวนิสตแนว
                          
อนุรักษนิยมทีสนับสนุนโซเวียตดวยดีมาโดยตลอด อยางไรก็ตาม ความเปลี่ยนแปลงในสหภาพโซเวียต
                ่
ในสมัยประธานาธิบดีกอรบาชอฟ ตามมาดวยการลมสลายของประเทศคอมมิวนิสตในยุโรปตะวันออก
และความตองการของประชาชนชาวเยอรมันตะวันออกที่ตองการความเปลี่ยนแปลง จุดเริ่มตนในการ
รวมเยอรมันเกิดขึ้น ค.ศ. 1898 เมื่อเกิดการผอนปรนทางพรมแดนของประเทศคอมมิวนิสตในยุโรป
ตะวันออก ไดแก ฮังการี โปแลนด และเชโกสโลวะเกีย ทําใหประชาชนชาวเยอรมันตะวันออกได
หลบหนีเขาไปในเยอรมันตะวันตกโดยผานทางสถานทูตของประเทศดังกลาว ตามมาดวยการ
เดินขบวนของชาวเยอรมันตะวันออกเพื่อใหมีการปฏิรูปเศรษฐกิจและเปลี่ยนแปลงการเมืองใหเปน
ประชาธิปไตย         รัฐบาลเยอรมันตะวันออกไมยับยั้งกระแสความตองการของประชาชนได และใน
วันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 ประชาชนเยอรมันไดชวยกันทุบและทําลายกําแพงเบอรลิน อันเปน
                                                  
สัญลักษณของการแบงแยกเยอรมันลง กอนที่จะมีการประกาศเยอรมันอยางเปนทางการใน ค.ศ. 1990

More Related Content

More from Art Nan

นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01Art Nan
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02Art Nan
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02Art Nan
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01Art Nan
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02Art Nan
 
นางขวัญฤดี กันทเสน01
นางขวัญฤดี  กันทเสน01นางขวัญฤดี  กันทเสน01
นางขวัญฤดี กันทเสน01Art Nan
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)Art Nan
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)Art Nan
 
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทยเอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทยArt Nan
 
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงงประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงงArt Nan
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษาArt Nan
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษาArt Nan
 
คำถามม.5-6
คำถามม.5-6คำถามม.5-6
คำถามม.5-6Art Nan
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาArt Nan
 

More from Art Nan (20)

นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02
 
นางขวัญฤดี กันทเสน01
นางขวัญฤดี  กันทเสน01นางขวัญฤดี  กันทเสน01
นางขวัญฤดี กันทเสน01
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
 
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทยเอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
 
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงงประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
 
คำถามม.5-6
คำถามม.5-6คำถามม.5-6
คำถามม.5-6
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
 
03
0303
03
 
02
0202
02
 
1
11
1
 
04
0404
04
 
02
0202
02
 
01 (1)
01 (1)01 (1)
01 (1)
 

การรวมเยอรมัน ค.ศ. 1989

  • 1. 02 การรวมเยอรมัน ค.ศ. 1989 (The Reunification of Germany) ปญหาเยอรมันหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนการเผชิญหนากันระหวางอภิมหาอํานาจฝาย ตะวันตกและฝายตะวันออก จนทําใหเยอรมันถูกแบงเปน 2 ประเทศ คือ สาธารณรัฐประชาธิปไตย เยอรมัน (The Democratic Republic of Germany) หรือเยอรมันตะวันออก และประเทศสหพันธ สาธารณรัฐเยอรมัน (The Federal Republic of Germany) หรือเยอรมันตะวันตก ตั้งแต ค.ศ. 1949 ความพยายามรวมเยอรมันทีถูกแบงออกเปน 2 ประเทศใหเปนหนึ่งเดียว ในระยะแรกเยอรมัน ่ ตะวันตกไดนานโยบายการรวมเยอรมันผูกไวกับนโยบายที่มีตอสหรัฐอเมริกาและยุโรปตะวันตก แต ํ บรรยากาศความตึงเครียดภายใตสงครามเย็นในชวง ทศวรรษที่ 195-1960 ทําใหความหวังในการรวม เยอรมันเลือนราง จนกระทั่งในทศวรรษที่ 1970 เริ่มเยอรมันตะวันตกเริมฟนฟูความสัมพันธกับสหภาพ ่ โซเวียตและยุโรปตะวันตก แตการรวมเยอรมันก็ยังไมประสบความสําเร็จ สาเหตุสําคัญอยางหนึ่งก็คือ เยอรมันตะวันออกนั้นมีความสําคัญตอสหภาพโซเวียตทังดานการเมืองและเศรษฐกิจ ประกอบกับผูนํา ้  ของเยอรมันตะวันออกไมตองการสูญเสียอํานาจ ทําใหเยอรมันตะวันออกเปนประเทศคอมนิวนิสตแนว  อนุรักษนิยมทีสนับสนุนโซเวียตดวยดีมาโดยตลอด อยางไรก็ตาม ความเปลี่ยนแปลงในสหภาพโซเวียต ่ ในสมัยประธานาธิบดีกอรบาชอฟ ตามมาดวยการลมสลายของประเทศคอมมิวนิสตในยุโรปตะวันออก และความตองการของประชาชนชาวเยอรมันตะวันออกที่ตองการความเปลี่ยนแปลง จุดเริ่มตนในการ รวมเยอรมันเกิดขึ้น ค.ศ. 1898 เมื่อเกิดการผอนปรนทางพรมแดนของประเทศคอมมิวนิสตในยุโรป ตะวันออก ไดแก ฮังการี โปแลนด และเชโกสโลวะเกีย ทําใหประชาชนชาวเยอรมันตะวันออกได หลบหนีเขาไปในเยอรมันตะวันตกโดยผานทางสถานทูตของประเทศดังกลาว ตามมาดวยการ เดินขบวนของชาวเยอรมันตะวันออกเพื่อใหมีการปฏิรูปเศรษฐกิจและเปลี่ยนแปลงการเมืองใหเปน ประชาธิปไตย รัฐบาลเยอรมันตะวันออกไมยับยั้งกระแสความตองการของประชาชนได และใน วันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 ประชาชนเยอรมันไดชวยกันทุบและทําลายกําแพงเบอรลิน อันเปน  สัญลักษณของการแบงแยกเยอรมันลง กอนที่จะมีการประกาศเยอรมันอยางเปนทางการใน ค.ศ. 1990