SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
1


                                                         02
                                                      อุปสงค

          ความตองการซื้อหรือภาษาเศรษฐศาสตร เรียกวา อุปสงค (Demand)
หมายถึง ปริมาณความตองการซื้อสินคาและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งในระดับ
ราคาที่แตกตางกัน โดยผูซื้อตองมีเงินซื้อไดในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง แตถาไม
สามารถที่จะซื้อหรือไมมีกําลังซื้อ ก็จะไมถือวาเปนอุปสงค
          ในทางเศรษฐศาสตรพบวา ปริมาณสินคาชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผูบริโภค
ตองการจะซื้อมีความสัมพันธในทิศทางตรงกันขามกับระดับราคาสินคานั้น
กลาวคือ เมื่อราคาสินคาสูงขึ้น ปริมาณสินคาที่ผูบริโภคตองการจะซื้อก็จะ
ลดลง และในทางกลับกัน ถาหากราคาสินคาลดต่ําลง ปริมาณสินคาที่
ผูบริโภคตองการจะซื้อก็จะมีเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเรียกวา “กฎของอุปสงค”

กฎของอุปสงค
          กฎของอุปสงค (Law of Demand) คือ เมื่อราคาสินคาและบริการ
สูงขึ้น ปริมาณความตองการสินคาและบริการนั้นจะลดนอยลง ในทางตรงกัน
ขาม เมื่อราคาสินคาและบริการลดลง ปริมาณความตองการสินคาและบริการ
จะสูงมากขึ้น

                                                  P             D
                                                  P             D

                           ราคาสินคา (บาท)

                              50

                              40
                                                           เสนอุปสงคของผูบริโภค
                              30                                  (Demand)

                              20

                              10
                                                                                     ปริมาณสินคา (หนวย)
                                          1       2       3       4       5
2


          นอกจากนี้การที่ผูบริโภคจะซื้อสินคาปริมาณเทาใดนั้นยังขึ้นอยูกับปจจัยมากมายหลายชนิด เชน
          1. ราคาสินคา กลาวคือ เมื่อราคาสินคาสูงขึ้น ผูบริโภคจะตัดสินใจซื้อสินคาดังกลาวลดนอยลง แตถา
หากราคาสินคาลดลง ผูบริโภคจะตัดสินใจซื้อสินคาดังกลาวนั้นเพิ่มมากขึ้น
          2. รายไดของผูบริโภค เชน ถาผูบริโภคมีรายไดเพิ่มมากขึ้น กําลังซื้อของผูบริโภค (อุปสงคตอสินคา)
ก็จะมีมากขึ้น และในทางตรงกันขาม ถารายไดของผูบริโภคลดลง กําลังซื้อของผูบริโภค (อุปสงคตอสินคา) ก็
จะลดลง
          3. ราคาสินคาชนิดอื่นที่เกี่ยวของ หรือสินคาทดแทน เชน ถาผูบริโภคมีความตองการบริโภคไขไก
แลวราคาไขไกนั้นสูงขึ้น แตในขณะเดียวกันถาไขเปดเปนสิ่งที่สามารถใชทดแทนกันได และราคาของไขเปดถูก
กวาไขไก ผูบริโภคอาจตัดสินใจไปเลือกซื้อไขเปดมาบริโภคแทนได เปนตน
          4. ปจจัยอื่นๆ เชน รสนิยมของผูบริโภค การโฆษณา จํานวนประชากร รายไดของผูบริโภคที่จะมีขึ้น
ในอนาคต เปนตน

More Related Content

More from Art Nan

บทคัดย่อ(1)
บทคัดย่อ(1)บทคัดย่อ(1)
บทคัดย่อ(1)Art Nan
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02Art Nan
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01Art Nan
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02Art Nan
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02Art Nan
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01Art Nan
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02Art Nan
 
นางขวัญฤดี กันทเสน01
นางขวัญฤดี  กันทเสน01นางขวัญฤดี  กันทเสน01
นางขวัญฤดี กันทเสน01Art Nan
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)Art Nan
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)Art Nan
 
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทยเอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทยArt Nan
 
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงงประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงงArt Nan
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษาArt Nan
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษาArt Nan
 
คำถามม.5-6
คำถามม.5-6คำถามม.5-6
คำถามม.5-6Art Nan
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาArt Nan
 
การรวมเยอรมัน ค.ศ. 1989
การรวมเยอรมัน ค.ศ. 1989การรวมเยอรมัน ค.ศ. 1989
การรวมเยอรมัน ค.ศ. 1989Art Nan
 

More from Art Nan (20)

บทคัดย่อ(1)
บทคัดย่อ(1)บทคัดย่อ(1)
บทคัดย่อ(1)
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02
 
นางขวัญฤดี กันทเสน01
นางขวัญฤดี  กันทเสน01นางขวัญฤดี  กันทเสน01
นางขวัญฤดี กันทเสน01
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
 
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทยเอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
 
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงงประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
 
คำถามม.5-6
คำถามม.5-6คำถามม.5-6
คำถามม.5-6
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
 
04
0404
04
 
02
0202
02
 
01 (1)
01 (1)01 (1)
01 (1)
 
การรวมเยอรมัน ค.ศ. 1989
การรวมเยอรมัน ค.ศ. 1989การรวมเยอรมัน ค.ศ. 1989
การรวมเยอรมัน ค.ศ. 1989
 

02

  • 1. 1 02 อุปสงค ความตองการซื้อหรือภาษาเศรษฐศาสตร เรียกวา อุปสงค (Demand) หมายถึง ปริมาณความตองการซื้อสินคาและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งในระดับ ราคาที่แตกตางกัน โดยผูซื้อตองมีเงินซื้อไดในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง แตถาไม สามารถที่จะซื้อหรือไมมีกําลังซื้อ ก็จะไมถือวาเปนอุปสงค ในทางเศรษฐศาสตรพบวา ปริมาณสินคาชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผูบริโภค ตองการจะซื้อมีความสัมพันธในทิศทางตรงกันขามกับระดับราคาสินคานั้น กลาวคือ เมื่อราคาสินคาสูงขึ้น ปริมาณสินคาที่ผูบริโภคตองการจะซื้อก็จะ ลดลง และในทางกลับกัน ถาหากราคาสินคาลดต่ําลง ปริมาณสินคาที่ ผูบริโภคตองการจะซื้อก็จะมีเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเรียกวา “กฎของอุปสงค” กฎของอุปสงค กฎของอุปสงค (Law of Demand) คือ เมื่อราคาสินคาและบริการ สูงขึ้น ปริมาณความตองการสินคาและบริการนั้นจะลดนอยลง ในทางตรงกัน ขาม เมื่อราคาสินคาและบริการลดลง ปริมาณความตองการสินคาและบริการ จะสูงมากขึ้น P D P D ราคาสินคา (บาท) 50 40 เสนอุปสงคของผูบริโภค 30 (Demand) 20 10 ปริมาณสินคา (หนวย) 1 2 3 4 5
  • 2. 2 นอกจากนี้การที่ผูบริโภคจะซื้อสินคาปริมาณเทาใดนั้นยังขึ้นอยูกับปจจัยมากมายหลายชนิด เชน 1. ราคาสินคา กลาวคือ เมื่อราคาสินคาสูงขึ้น ผูบริโภคจะตัดสินใจซื้อสินคาดังกลาวลดนอยลง แตถา หากราคาสินคาลดลง ผูบริโภคจะตัดสินใจซื้อสินคาดังกลาวนั้นเพิ่มมากขึ้น 2. รายไดของผูบริโภค เชน ถาผูบริโภคมีรายไดเพิ่มมากขึ้น กําลังซื้อของผูบริโภค (อุปสงคตอสินคา) ก็จะมีมากขึ้น และในทางตรงกันขาม ถารายไดของผูบริโภคลดลง กําลังซื้อของผูบริโภค (อุปสงคตอสินคา) ก็ จะลดลง 3. ราคาสินคาชนิดอื่นที่เกี่ยวของ หรือสินคาทดแทน เชน ถาผูบริโภคมีความตองการบริโภคไขไก แลวราคาไขไกนั้นสูงขึ้น แตในขณะเดียวกันถาไขเปดเปนสิ่งที่สามารถใชทดแทนกันได และราคาของไขเปดถูก กวาไขไก ผูบริโภคอาจตัดสินใจไปเลือกซื้อไขเปดมาบริโภคแทนได เปนตน 4. ปจจัยอื่นๆ เชน รสนิยมของผูบริโภค การโฆษณา จํานวนประชากร รายไดของผูบริโภคที่จะมีขึ้น ในอนาคต เปนตน