SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การเชื่อมต่อเครือข่ายมีอยู่ด้วยกันหลายลักษณะ แต่ลักษณะที่นิยมใช้นั้นมีอยู่ด้วยกัน 4 ลักษณะ ได้แก่
แบบดาว (Star Network)
เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำาแหน่งของเส้นทาง
ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน โทโปโลยี แบบดาว คอมพิวเตอร์จะติดต่อกันได้ใน 1 ครั้ง ต่อ 1 คู่สถานีเท่านั้น เมื่อสถานีใด
ต้องการส่งข้องมูลมันจะส่งข้อมูลไปยังศูนย์กลางสวิทซ์
ก่อน เพื่อบอกให้ศูนย์กลาง สวิตซ์มันสลับตำาแหน่งของคู่สถานีไปยังสถานีที่ต้องการติดต่อด้วย ดังนั้นข้อมูลจึงไม่เกิดการชน
กันเอง ทำาให้การสื่อสารได้รวดเร็ว เมื่อสถานีใดสถานีหนึ่งเสีย ทั้งระบบจึงยังคงใช้งานได้ ในการค้นหาข้อบกพร่องจุดเสียต่างๆ
จึงหาได้ง่ายตามไปด้วย แต่ก็มีข้อเสียที่ว่าต้องใช้งบประมาณสูง ในการติดตั้งครั้งแรก ลักษณะการเชื่อมต่อ เป็นดังรูป
ข้อดี
ติดตั้งและดูแลง่าย
แม้ว่าสายที่เชื่อมต่อไปยังบางโหนดจะขาด โหนดที่เหลืออยู่ก็ยังจะสามารถทำางานได้ ทำาให้ระบบเน็ตเวิร์กยังคงสามารถ
ทำางานได้เป็นปกติ
การมี Central node อยู่ตรงกลางเป็นตัวเชื่อมระบบ ถ้าระบบเกิดทำางานบกพร่องเสียหาย ทำาให้เรารู้ได้ทันทีว่าจะไปแก้
ปัญหาที่ใด
ข้อเสีย
เสียค่าใช้จ่ายมาก ทั้งในด้านของเครื่องที่จะใช้เป็น central node และค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสายเคเบิลในสถานีงาน
การขยายระบบให้ใหญ่ขึ้นทำาได้ยาก เพราะการขยายแต่ละครั้งจะต้องเกี่ยวเนื่องกับโหนดอื่นๆ ทั้งระบบ
เครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางมีราคาแพง
แบบวงแหวน (Ring Network)
ได้ถูกออกแบบให้ใช้ Media Access Units (MAU) ต่อรวมกันแบบเรียงลำาดับเป็นวงแหวน แล้วจึงต่อ คอมพิวเตอร์
(PC) ที่เป็น Workstation หรือ Server เข้ากับ MAU ใน MAU 1 ตัวจะสามารถต่อออกไปได้ถึง 8 สถานี เมื่อสถานีถัดไปนั้นรับ
รู้ว่าต้องรับข้อมูล แล้วมันจึงส่งข้อมูลกลับ เป็นการตอบรับ เมื่อสถานีที่จะส่งข้อมูลได้รัยสัญญาณตอบรับ แล้วมันจึงส่งข้อมูลครั้ง
แรก แล้วมันจะลบข้อมูลออกจากระบบ เพื่อให้ได้ใช้ข้อมูลอื่นๆ ต่อไป ดังนั้นทุกสถานีบน โทโปโลยี วงแหวนจะได้ทำางาน
ทั้งหมดซึ่งจะคอยเป็นผู้รับและผู้ส่งแล้วยังเป็นรีพีทเตอร์ในตัวอีกด้วย ข้อมูลที่ผ่านไปแต่ละสถานี นั้น ข้อมูลที่เป็นตำาแหน่งที่ อยู่
ตรงกับ สถานีใด สถานีนั้นจะรับข้อมูลเก็บไว้ แต่มันจะไม่ลบข้อมูลออกจากระบบ มันยังคงส่งข้อมูลต่อไป ดังนั้นผู้ส่งข้อมูลครั้ง
แรกเท่านั้นที่จะเป็นผู้ลบข้อมูล ออกจากระบบ ครั้นเมื่อสถานีส่ง TOKEN มาถามสถานีถัดไปแล้วแต่กลับไม่ได้รับคำาตอบ สถานี
ส่ง TOKEN จะทวนซำ้าข้อมูลเป็นครั้งที่สอง ถ้ายังคงไม่ได้รับคำาตอบ จึงส่งข้อมูลออกไปได้ เหตุการณ์ดังกล่าวนี้ เป็นอีกแนวทาง
หนึ่งในการแก้ปัญหาที่ไม่ให้ระบบหยุดชะงักการทำางานลงของระบบ เนื่องจากสถานีหนึ่งเกิดการเสียหาย หรือชำารุด ระบบจึงยัง
คงสามารถทำางานต่อไปได้ ลักษณะการเชื่อมต่อ เป็นดังรูป
ข้อดี
ใช้เคเบิลและเนื้อที่ในการติดตั้งน้อย
คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเน็ตเวิร์กมีโอกาสที่จะส่งข้อมูลได้อย่างทัดเทียมกัน
ข้อเสีย
หากโหนดใดโหนดหนึ่งเกิดปัญหาขึ้นจะค้นหาได้ยากว่าต้นเหตุอยู่ที่ไหน และวงแหวนจะขาดออก
แบบบัส (Bus Network)
เป็นลักษณะของการนำาเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อ เป็นระบบเครือข่าย ด้วยสายเคเบิลยาวต่อเนื่องกันไปเรื่อย ๆ โดย
มีคอนเน็คเตอร์ในการเชื่อมต่อ โดยลักษณะของการส่งหรือรับข้อมูล จะเป็นการส่งข้อมูล ทีละเครื่องในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ เท่านั้น
จากนั้นเครื่องปลายทาง ก็จะส่งสัญญาณข้อมูลกลับมา และในการเชื่อมต่อในระบบ Bus นี้จะต้องมี T-Connector ที่เป็น
ตัวกลางในการเชื่อมต่อ และมี Terminator เป็นอุปกรณ์ปิดปลายสายสัญญาณ ของทั้ง
ระบบ ซึ่ง Terminaltor จะคอยเป็นตัวดูดซับสัญญาณไม่ให้มีการไหลกับไป กวนกับระบบสัญญาณอื่นในสาย ซึ่งโดยทั่วไป จะมี
ค่าความต้านทานประมาณ
50 โอห์ม บางครั้งถ้าไม่มี Terminator เราสามารถให้ตัว R ทั่วไปที่ใช้ในอุปกรณ์อิเล็คทรอนิคส์ขนาด 50 โอห์มแทนได้เหมือน
กัน ลักษณะการเชื่อมต่อก็จะเป็นดังรูป
ข้อดี
ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายเคเบิลมากนัก
สามารถขยายระบบได้ง่าย
เสียค่าใช้จ่ายน้อย
ข้อเสีย
อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ดต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมีการขาดที่
ตำาแหน่งใดตำาแหน่งหนึ่ง ก็จะทำาให้เครื่องอื่นส่วนใหญ่หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย
การตรวจหาโหนดเสีย ทำาได้ยากเนื่องจากขณะใดขณะหนึ่งจะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อความ
ออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์จำานวนมากๆ อาจทำาให้เกิดการคับคั่งของเน็ตเวิร์ก ซึ่งจะทำาให้ระบบช้า
ลงได้
แบบผสม (Hybrid Network)
เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ผสมผสานระหว่างรูปแบบต่างๆ หลายๆ แบบเข้าด้วยกัน คือจะมีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ย่อย
หลายๆ เครือข่ายเพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุดในการทำางานเครือข่ายบริเวณกว้างเป็นตัวอย่างเครือข่ายผสมที่พบเห็นกัน
มากที่สุด เครือข่ายแบบนี้จะเชื่อมต่อเครือข่ายเล็ก-ใหญ่ หลากหลายแบบเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายเดียว ซึ่งเครือข่ายที่ถูกเชื่อม
ต่ออาจจะอยู่ห่างกันคนละจังหวัด หรือ อาจจะอยู่คนละประเทศก็เป็นได้
การเข้าถึงระยะไกล
คุณสมบัติเด่นอย่างหนึ่งของเครือข่ายแบบผสมก็คือ ผู้ใช้สามารถเชื่อม ต่อกับเครือข่ายจากระยะไกลเช่น อยู่ที่บ้าน
หรืออยู่ภาคสนามได้
ในการ เชื่อมต่อก็จะได้คอมพิวเตอร์สั่งโมเด็มหมุนสัญญาณให้วิ่งผ่านสาย โทรศัพท์ไปเชื่อมต่อกับเครือข่ายหลังจากการเชื่อม
ต่อผู้ใช้สามารถเข้าไป
เรียกใช้ข้อมูลได้สมือนกับว่ากำาลังใช้เครือข่ายที่บริษัท
การบริหารเครือข่าย
เนื่องจากเครือข่ายผสมเป็นการผสมผสานเครือข่ายหลายแบบเข้าด้วย กัน ซึ่งแต่ละเครือข่ายก็มีรายละเอียดทางเทคนิคแตก
ต่างกันไป
ดังนั้น การบริหารเครือข่ายก็อาจจะยากกว่าเครือข่ายแบบอื่น ๆด้วยเหตุนี้ บริษัทที่มีเครือข่ายผสมขนาดใหญ่ของตัวเองก็มักจะ
ตั้งแผนก
ที่ทำาหน้าที่ดูแลและบริหารเครือข่ายนี้โดยเฉพาะ
ค่าใช้จ่าย
โดยปกติเครือข่ายแบบผสมจะมีราคาแพงกว่าเครือข่ายแบบต่างๆ เพราะ เครือข่ายแบบนี้เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ และมีความ
ซับซ้อนสูง
นอกจาก นี้ยังต้องมีการลงทุนเกี่ยวกับระบบรักษาความปลอดภัยมากกว่า เครือข่ายอื่นอีกด้วย เนื่องจากเป็นการเชื่อมต่อระยะ
ไกล

More Related Content

Viewers also liked

Funciones
FuncionesFunciones
Funcionesuan
 
Apresntaçao da palestra no office impress (2)
Apresntaçao da palestra no office impress (2)Apresntaçao da palestra no office impress (2)
Apresntaçao da palestra no office impress (2)web02
 
#desprocultura #8
#desprocultura #8 #desprocultura #8
#desprocultura #8 Adela VV
 
La educación en el sistema educativo de Jesús Martín Barbero
La educación en el sistema educativo de Jesús Martín BarberoLa educación en el sistema educativo de Jesús Martín Barbero
La educación en el sistema educativo de Jesús Martín Barberodecaminoalconocimiento
 
Lectura k lovell
Lectura k lovellLectura k lovell
Lectura k lovellmarcianit
 
Trabajo sobre los avances tecnicos y la sociedad. miriam y alba 6ºa tema 15
Trabajo sobre  los avances tecnicos y la sociedad. miriam y alba 6ºa tema 15Trabajo sobre  los avances tecnicos y la sociedad. miriam y alba 6ºa tema 15
Trabajo sobre los avances tecnicos y la sociedad. miriam y alba 6ºa tema 15paqui65
 
J:\hoy 6 marzo 2010\diplomados 2010\diseño instruccional cultura general 2010
J:\hoy 6 marzo 2010\diplomados 2010\diseño instruccional cultura general 2010J:\hoy 6 marzo 2010\diplomados 2010\diseño instruccional cultura general 2010
J:\hoy 6 marzo 2010\diplomados 2010\diseño instruccional cultura general 2010Mauricio Ayala
 
Linux ubunto
Linux ubuntoLinux ubunto
Linux ubunto07223383
 
Trujillo
TrujilloTrujillo
TrujilloGMV144
 
ROTA PS - CONSTRUÇÕES E REFORMAS EM GERAL
ROTA PS - CONSTRUÇÕES E REFORMAS EM GERALROTA PS - CONSTRUÇÕES E REFORMAS EM GERAL
ROTA PS - CONSTRUÇÕES E REFORMAS EM GERALROTA PS
 

Viewers also liked (20)

Funciones
FuncionesFunciones
Funciones
 
Lenda de s._martinho[1]
Lenda de s._martinho[1]Lenda de s._martinho[1]
Lenda de s._martinho[1]
 
Apresntaçao da palestra no office impress (2)
Apresntaçao da palestra no office impress (2)Apresntaçao da palestra no office impress (2)
Apresntaçao da palestra no office impress (2)
 
Mi tierra
Mi tierraMi tierra
Mi tierra
 
#desprocultura #8
#desprocultura #8 #desprocultura #8
#desprocultura #8
 
La educación en el sistema educativo de Jesús Martín Barbero
La educación en el sistema educativo de Jesús Martín BarberoLa educación en el sistema educativo de Jesús Martín Barbero
La educación en el sistema educativo de Jesús Martín Barbero
 
Sonhei que fui ao ceu
Sonhei que fui ao ceuSonhei que fui ao ceu
Sonhei que fui ao ceu
 
Tablas
TablasTablas
Tablas
 
Avestruz
AvestruzAvestruz
Avestruz
 
06demarco Oexpresso
06demarco Oexpresso06demarco Oexpresso
06demarco Oexpresso
 
Lectura k lovell
Lectura k lovellLectura k lovell
Lectura k lovell
 
Trabajo sobre los avances tecnicos y la sociedad. miriam y alba 6ºa tema 15
Trabajo sobre  los avances tecnicos y la sociedad. miriam y alba 6ºa tema 15Trabajo sobre  los avances tecnicos y la sociedad. miriam y alba 6ºa tema 15
Trabajo sobre los avances tecnicos y la sociedad. miriam y alba 6ºa tema 15
 
J:\hoy 6 marzo 2010\diplomados 2010\diseño instruccional cultura general 2010
J:\hoy 6 marzo 2010\diplomados 2010\diseño instruccional cultura general 2010J:\hoy 6 marzo 2010\diplomados 2010\diseño instruccional cultura general 2010
J:\hoy 6 marzo 2010\diplomados 2010\diseño instruccional cultura general 2010
 
Educacion
EducacionEducacion
Educacion
 
Linux ubunto
Linux ubuntoLinux ubunto
Linux ubunto
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Trujillo
TrujilloTrujillo
Trujillo
 
Alimentação8ano
Alimentação8anoAlimentação8ano
Alimentação8ano
 
Kump G
Kump GKump G
Kump G
 
ROTA PS - CONSTRUÇÕES E REFORMAS EM GERAL
ROTA PS - CONSTRUÇÕES E REFORMAS EM GERALROTA PS - CONSTRUÇÕES E REFORMAS EM GERAL
ROTA PS - CONSTRUÇÕES E REFORMAS EM GERAL
 

Similar to รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
ลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Smart H Der
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copyครู อินดี้
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายMorn Suwanno
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์T'tle Tanwarat
 
บทที่ 3 : ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
บทที่ 3 : ระบบเครือข่ายและการสื่อสารบทที่ 3 : ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
บทที่ 3 : ระบบเครือข่ายและการสื่อสารTodsapol Aryuyune
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Rijin7
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Sirinat Sansom
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลMareeyalosocity
 

Similar to รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (20)

1
11
1
 
1
11
1
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
บทที่2 datacom
บทที่2 datacomบทที่2 datacom
บทที่2 datacom
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
ลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
รูปร่างเครือข่าย
รูปร่างเครือข่ายรูปร่างเครือข่าย
รูปร่างเครือข่าย
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
รายงาน 1
รายงาน  1 รายงาน  1
รายงาน 1
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3 : ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
บทที่ 3 : ระบบเครือข่ายและการสื่อสารบทที่ 3 : ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
บทที่ 3 : ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 

รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์

  • 1. รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การเชื่อมต่อเครือข่ายมีอยู่ด้วยกันหลายลักษณะ แต่ลักษณะที่นิยมใช้นั้นมีอยู่ด้วยกัน 4 ลักษณะ ได้แก่ แบบดาว (Star Network) เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำาแหน่งของเส้นทาง ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน โทโปโลยี แบบดาว คอมพิวเตอร์จะติดต่อกันได้ใน 1 ครั้ง ต่อ 1 คู่สถานีเท่านั้น เมื่อสถานีใด ต้องการส่งข้องมูลมันจะส่งข้อมูลไปยังศูนย์กลางสวิทซ์ ก่อน เพื่อบอกให้ศูนย์กลาง สวิตซ์มันสลับตำาแหน่งของคู่สถานีไปยังสถานีที่ต้องการติดต่อด้วย ดังนั้นข้อมูลจึงไม่เกิดการชน กันเอง ทำาให้การสื่อสารได้รวดเร็ว เมื่อสถานีใดสถานีหนึ่งเสีย ทั้งระบบจึงยังคงใช้งานได้ ในการค้นหาข้อบกพร่องจุดเสียต่างๆ จึงหาได้ง่ายตามไปด้วย แต่ก็มีข้อเสียที่ว่าต้องใช้งบประมาณสูง ในการติดตั้งครั้งแรก ลักษณะการเชื่อมต่อ เป็นดังรูป ข้อดี ติดตั้งและดูแลง่าย แม้ว่าสายที่เชื่อมต่อไปยังบางโหนดจะขาด โหนดที่เหลืออยู่ก็ยังจะสามารถทำางานได้ ทำาให้ระบบเน็ตเวิร์กยังคงสามารถ ทำางานได้เป็นปกติ การมี Central node อยู่ตรงกลางเป็นตัวเชื่อมระบบ ถ้าระบบเกิดทำางานบกพร่องเสียหาย ทำาให้เรารู้ได้ทันทีว่าจะไปแก้ ปัญหาที่ใด ข้อเสีย เสียค่าใช้จ่ายมาก ทั้งในด้านของเครื่องที่จะใช้เป็น central node และค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสายเคเบิลในสถานีงาน การขยายระบบให้ใหญ่ขึ้นทำาได้ยาก เพราะการขยายแต่ละครั้งจะต้องเกี่ยวเนื่องกับโหนดอื่นๆ ทั้งระบบ เครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางมีราคาแพง แบบวงแหวน (Ring Network) ได้ถูกออกแบบให้ใช้ Media Access Units (MAU) ต่อรวมกันแบบเรียงลำาดับเป็นวงแหวน แล้วจึงต่อ คอมพิวเตอร์ (PC) ที่เป็น Workstation หรือ Server เข้ากับ MAU ใน MAU 1 ตัวจะสามารถต่อออกไปได้ถึง 8 สถานี เมื่อสถานีถัดไปนั้นรับ รู้ว่าต้องรับข้อมูล แล้วมันจึงส่งข้อมูลกลับ เป็นการตอบรับ เมื่อสถานีที่จะส่งข้อมูลได้รัยสัญญาณตอบรับ แล้วมันจึงส่งข้อมูลครั้ง แรก แล้วมันจะลบข้อมูลออกจากระบบ เพื่อให้ได้ใช้ข้อมูลอื่นๆ ต่อไป ดังนั้นทุกสถานีบน โทโปโลยี วงแหวนจะได้ทำางาน ทั้งหมดซึ่งจะคอยเป็นผู้รับและผู้ส่งแล้วยังเป็นรีพีทเตอร์ในตัวอีกด้วย ข้อมูลที่ผ่านไปแต่ละสถานี นั้น ข้อมูลที่เป็นตำาแหน่งที่ อยู่ ตรงกับ สถานีใด สถานีนั้นจะรับข้อมูลเก็บไว้ แต่มันจะไม่ลบข้อมูลออกจากระบบ มันยังคงส่งข้อมูลต่อไป ดังนั้นผู้ส่งข้อมูลครั้ง แรกเท่านั้นที่จะเป็นผู้ลบข้อมูล ออกจากระบบ ครั้นเมื่อสถานีส่ง TOKEN มาถามสถานีถัดไปแล้วแต่กลับไม่ได้รับคำาตอบ สถานี ส่ง TOKEN จะทวนซำ้าข้อมูลเป็นครั้งที่สอง ถ้ายังคงไม่ได้รับคำาตอบ จึงส่งข้อมูลออกไปได้ เหตุการณ์ดังกล่าวนี้ เป็นอีกแนวทาง หนึ่งในการแก้ปัญหาที่ไม่ให้ระบบหยุดชะงักการทำางานลงของระบบ เนื่องจากสถานีหนึ่งเกิดการเสียหาย หรือชำารุด ระบบจึงยัง
  • 2. คงสามารถทำางานต่อไปได้ ลักษณะการเชื่อมต่อ เป็นดังรูป ข้อดี ใช้เคเบิลและเนื้อที่ในการติดตั้งน้อย คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเน็ตเวิร์กมีโอกาสที่จะส่งข้อมูลได้อย่างทัดเทียมกัน ข้อเสีย หากโหนดใดโหนดหนึ่งเกิดปัญหาขึ้นจะค้นหาได้ยากว่าต้นเหตุอยู่ที่ไหน และวงแหวนจะขาดออก แบบบัส (Bus Network) เป็นลักษณะของการนำาเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อ เป็นระบบเครือข่าย ด้วยสายเคเบิลยาวต่อเนื่องกันไปเรื่อย ๆ โดย มีคอนเน็คเตอร์ในการเชื่อมต่อ โดยลักษณะของการส่งหรือรับข้อมูล จะเป็นการส่งข้อมูล ทีละเครื่องในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ เท่านั้น จากนั้นเครื่องปลายทาง ก็จะส่งสัญญาณข้อมูลกลับมา และในการเชื่อมต่อในระบบ Bus นี้จะต้องมี T-Connector ที่เป็น ตัวกลางในการเชื่อมต่อ และมี Terminator เป็นอุปกรณ์ปิดปลายสายสัญญาณ ของทั้ง ระบบ ซึ่ง Terminaltor จะคอยเป็นตัวดูดซับสัญญาณไม่ให้มีการไหลกับไป กวนกับระบบสัญญาณอื่นในสาย ซึ่งโดยทั่วไป จะมี ค่าความต้านทานประมาณ 50 โอห์ม บางครั้งถ้าไม่มี Terminator เราสามารถให้ตัว R ทั่วไปที่ใช้ในอุปกรณ์อิเล็คทรอนิคส์ขนาด 50 โอห์มแทนได้เหมือน กัน ลักษณะการเชื่อมต่อก็จะเป็นดังรูป ข้อดี ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายเคเบิลมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ข้อเสีย อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ดต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมีการขาดที่ ตำาแหน่งใดตำาแหน่งหนึ่ง ก็จะทำาให้เครื่องอื่นส่วนใหญ่หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย การตรวจหาโหนดเสีย ทำาได้ยากเนื่องจากขณะใดขณะหนึ่งจะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อความ
  • 3. ออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์จำานวนมากๆ อาจทำาให้เกิดการคับคั่งของเน็ตเวิร์ก ซึ่งจะทำาให้ระบบช้า ลงได้ แบบผสม (Hybrid Network) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ผสมผสานระหว่างรูปแบบต่างๆ หลายๆ แบบเข้าด้วยกัน คือจะมีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ย่อย หลายๆ เครือข่ายเพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุดในการทำางานเครือข่ายบริเวณกว้างเป็นตัวอย่างเครือข่ายผสมที่พบเห็นกัน มากที่สุด เครือข่ายแบบนี้จะเชื่อมต่อเครือข่ายเล็ก-ใหญ่ หลากหลายแบบเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายเดียว ซึ่งเครือข่ายที่ถูกเชื่อม ต่ออาจจะอยู่ห่างกันคนละจังหวัด หรือ อาจจะอยู่คนละประเทศก็เป็นได้ การเข้าถึงระยะไกล คุณสมบัติเด่นอย่างหนึ่งของเครือข่ายแบบผสมก็คือ ผู้ใช้สามารถเชื่อม ต่อกับเครือข่ายจากระยะไกลเช่น อยู่ที่บ้าน หรืออยู่ภาคสนามได้ ในการ เชื่อมต่อก็จะได้คอมพิวเตอร์สั่งโมเด็มหมุนสัญญาณให้วิ่งผ่านสาย โทรศัพท์ไปเชื่อมต่อกับเครือข่ายหลังจากการเชื่อม ต่อผู้ใช้สามารถเข้าไป เรียกใช้ข้อมูลได้สมือนกับว่ากำาลังใช้เครือข่ายที่บริษัท การบริหารเครือข่าย เนื่องจากเครือข่ายผสมเป็นการผสมผสานเครือข่ายหลายแบบเข้าด้วย กัน ซึ่งแต่ละเครือข่ายก็มีรายละเอียดทางเทคนิคแตก ต่างกันไป ดังนั้น การบริหารเครือข่ายก็อาจจะยากกว่าเครือข่ายแบบอื่น ๆด้วยเหตุนี้ บริษัทที่มีเครือข่ายผสมขนาดใหญ่ของตัวเองก็มักจะ ตั้งแผนก ที่ทำาหน้าที่ดูแลและบริหารเครือข่ายนี้โดยเฉพาะ ค่าใช้จ่าย โดยปกติเครือข่ายแบบผสมจะมีราคาแพงกว่าเครือข่ายแบบต่างๆ เพราะ เครือข่ายแบบนี้เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ และมีความ ซับซ้อนสูง นอกจาก นี้ยังต้องมีการลงทุนเกี่ยวกับระบบรักษาความปลอดภัยมากกว่า เครือข่ายอื่นอีกด้วย เนื่องจากเป็นการเชื่อมต่อระยะ ไกล