SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง 33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2558
ชื่อโครงงาน ตาคุณ ตาฉันสำาคัญไฉน
ชื่อผู้ทำาโครงงาน
นางสาวสุทธิดา พีระภาสกร เลขที่27 ชั้นม.6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดำาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการ
ศึกษา 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทำาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวสุทธิดา พีระภาสกร เลขที่27
คำาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อ
ไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ตาคุณ ตาฉันสำาคัญไฉน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
My eyes your eyes.
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทำาโครงงาน นางสาวสุทธิดา พีระภาสกร
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม นางสาวนลินี อภัยวงค์
ระยะเวลาดำาเนินงาน 1 เดือน
ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และ
เหตุผล ของการทำาโครงงาน)
เนื่องจากร่างกายของคนเราประกอบด้วยอวัยวะต่างๆมากมาย ดวงตา
ของคนเราก็เป็นอวัยวะส่วนหนึ่งของร่างกายที่มีความสำาคัญ เพราะดวงตา
ของคนเราคือส่วนที่สามารถมองเห็นสิ่งต่างๆได้ ดวงตาประกอบด้วยเนื้อเยื่อ
หลายชนิดซึ่งแต่ละชนิดก็ทำาหน้าที่แตกต่างกัน ทั้งเพื่อการมองเห็นและเพื่อ
ป้องกันดวงตา ดวงตาของเรานั้นมีองค์ประกอบมากมาย ซึ่งองค์ประกอบของ
ดวงตานั้นมีความสำาคัญมากเพราะถ้าส่วนใดส่วนหนึ่งเสียไปอาจทำาให้
ตาบอดได้ ตาของคนเรามีความบอบบางมากจึงมีส่วนที่ทำาให้เกิดโรคต่างๆ
โรคที่เห็นโดยทั่วไปได้แก่ โรคตาแดง โรคต้อหิน โรคต้อกระจก โรคภูมิแพ้
ดวงตา๚ล๚ โรคต่างๆของดวงตาเหล่านี้ต่างก็มีวิธีป้องกันและการรักษา แต่
ถ้าไม่อยากให้โรคพวกนี้เกิดขึ้นกับดวงตาของเรานั้นต้องดูแลเอาใจใส่อย่าง
ถูกวิธีและเป็นสมำ่าเสมอ
3
ดิฉันเลือกทำำโครงงำนเรื่องนี้เนื่องจำกอยำกให้ทุกคนตระหนักถึงควำม
สำำคัญของดวงตำให้มำกขึ้น เพรำะดวงตำนั้นสำมำรถทำำให้เรำดำำเนินชีวิต
ประจำำวันได้อย่ำงสะดวกสบำย และเมื่อได้ศึกษำเรื่องนี้แล้วจะทำำให้รู้องค์
ประกอบของดวงตำ โรคของดวงตำและมีวิธีป้องกันและวิธีแก้ไข
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องกำรในกำรทำำโครงงำน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อให้คนมีควำมรู้ใหม่ๆเกี่ยวกับดวงตำ
2. เพื่อให้รู้จักโรคต่ำงๆเกี่ยวกับดวงตำ
3. เพื่อให้รู้จักวิธีแก้ไขและวิธีป้องกันโรค
4. เพื่อตระหนักถึงควำมสำำคัญของดวงตำ
ขอบเขตโครงงำน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำำกัดของกำร
ทำำโครงงำน)
โครงงำนคอมพิวเตอร์เรื่องตำคุณ ตำฉันสำำคัญไฉน เป็นโครงงำนเพื่อ
ศึกษำ โดยจะศึกษำเกี่ยวกับภำพรวมของดวงตำ ได้แก่ ควำมหมำยของตำ
องค์ประกอบของตำ โรคของดวงตำและวิธีป้องกันและรักษำ
หลักกำรและทฤษฎี (ควำมรู้ หลักกำร หรือทฤษฎีที่สนับสนุนกำรทำำ
โครงงำน)
ตำ คือ อวัยวะที่ทำำหน้ำที่รับแสงสะท้อนของร่ำงกำย ทำำให้สำมำรถมอง
เห็นและรับรู้สิ่งต่ำงๆรอบตัวได้ ดวงตำของสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่จะอยู่ด้ำนหน้ำ
ภำยในเบ้ำตำบริเวณกะโหลก เช่น มนุษย์ ดวงตำของมนุษย์มีทิศทำงกำรมอง
ไปทำงด้ำนหน้ำ มองได้ 180 องศำ ดวงตำของคนมี 2 ดวง อยู่ด้ำนหน้ำของ
ใบหน้ำเพื่อกำรมองเห็นแบบสำมมิติ ตำแต่ละดวงจะสำมำรถรับภำพที่มี
บริเวณที่ซ้อนทับกันได้ เพื่อให้สมองรับรู้ถึงควำมลึกหรือเป็นสำมมิติขอภำพ
และยังมีโครงสร้ำงหรือองค์ประกอบของตำ ดังนี้
1. ขอบตำหรือหนังตำ (Eyelids) คือ ผิวหนังบริเวณขอบในสุดของ
ช่องลูกตำ (Palpebral Aperture) เป็นผิวหนังส่วนที่บำงที่สุดของร่ำงกำย
และไวต่อควำมรู้สึก ทำำหน้ำที่ปกป้องลูกตำจำกสิ่งแปลกปลอม
2. ขนตำ (Eyelashes) ทำำหน้ำที่ป้องกันฝุ่นละอองไม่ให้เข้ำสู่ตำ
3. เยื่อบุตำขำว (Conjunctiva) มีประโยชน์คือทำำให้ลูกตำมีควำมเรียบ
ลื่นขณะกระพริบตำ
4. ม่ำนตำ (Iris) มีลักษณะเป็นแผ่นเนื้อเยื่อทึบแสง ประกอบด้วยเม็ดสี
(Pigment) จำำนวนมำก เป็นส่วนที่ทำำให้ตำมีสีต่ำงๆ
5. กระจกตำ (Cornea) เป็นอวัยวะส่วนสำำคัญมีอักษรใส ไม่มีเส้นเลือด
มีหน้ำทีในกำรหักเหแสง
4
6. เลนส์ตำ (Crystalline Lens) เป็นส่วนที่มีหน้ำที่หักเหแสงและ
โฟกัสภำพ มีลักษณะคล้ำยเลนส์นูนทั้งด้ำนหน้ำและด้ำนหลัง
7. เส้นเอ็นยึดเลนส์ตำ (Suspensory Ligaments) เป็นเส้นเอ็นเล็กๆที่
เหนียว ทำำหน้ำที่ยึดเลนส์ตำให้อยู่ในตำำแหน่งปกติ
8. กล้ำมเนื้อปรับเลนส์ตำ (Ciliary Body) เป็นส่วนฐำนของม่ำนตำ
(Iris) ทำำหน้ำที่ช่วยในกระบวนกำรเพ่ง
9. นำ้ำวุ้นช่องลูกตำหน้ำ (Aqueous Humor) มีลักษณะเป็นของเหลวใส
(Liquid) คล้ำยนำ้ำ อยู่ระหว่ำงกระจกตำกับเลนส์ตำ
10. นำ้ำวุ้นช่องลูกตำหลัง (Vitreous Humor) มีลักษณะเป็นของเหลว
ใส มีควำมหนืดคล้ำยเจล อยู่หลังเลนส์ตำ ช่วยรักษำรูปทรงของลูกตำ
(Eyeball) ให้อยู่ในสภำวะปกติ
11. ตำขำว (Sclera) เป็นชั้นที่มีควำมหนำ เหนียวและแข็งแรง มีหน้ำที่
รักษำรูปทรงลูกตำและปกป้องโครงสร้ำงตำภำยในทั้งหมด
12. โครอยด์ (Choroid) เป็นชั้นบำง ๆ สีนำ้ำตำลเข้มถึงดำำ ประกอบด้วย
เส้นเลือด (Vascular) เป็นจำำนวนมำกอยู่กึ่งกลำงระหว่ำงตำขำวกับจอ
รับภำพ
13. จอรับภำพหรือจอประสำทตำ (Retina) คืออวัยวะที่ทำำหน้ำที่รับ
ภำพคล้ำยกับฟิล์มในกล้องถ่ำยรูป เป็นชั้นที่อยู่ภำยในสุด มีลักษณะ
เป็นแผ่นบำงและใส
14. ออพติค ดิสด์ (Optic Disc) เป็นส่วนหัวของเส้นประสำท มีลักษณะ
กลมหรือเรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ“จุดบอดของตำ”
15. ออพติค คัพ (Optic Cup) อยู่บริเวณศูนย์กลำง “จุดบอดของตำ” มี
รูปร่ำงคล้ำยกรวยเป็นส่วนที่เส้นประสำทตำแยกออกจำกกัน
16. เส้นประสำทตำ (Optic Nerve) เป็นเส้นประสำทที่มีหน้ำที่นำำภำพ
ทั้งหมดที่ปรำกฏขึ้นไปสู่สมอง (Brain) โดยสมองจะทำำหน้ำที่แปรผลว่ำภำพที่
เห็นนั้นคือวัตถุอะไร
17. เส้นเลือด ดำำ – แดง (Retinal Vein, Artery) เส้นเลือดแดงทำำ
หน้ำที่ลำำเลียงออกซิเจนและสำรอำหำรไปหล่อเลี้ยงโครงสร้ำงตำภำยในส่วน
เส้นเลือดดำำทำำหน้ำที่ลำำเลียงเลือดเสียออกมำสู่กระบวนกำรฟอกที่ปอดต่อไป
18. ต่อมผลิตนำ้ำตำ (Lacrimal Gland) ทำำหน้ำที่ผลิตนำ้ำตำเพื่อหล่อ
เลี้ยง
ผิวตำให้ชุ่มชื้นอยู่ตลอดเวลำ
19. ท่อระบำยนำ้ำตำ (Puncta) ทำำหน้ำที่ระบำยนำ้ำตำลงสู่โพรงจมูกและ
ลำำคอ
5
จะเห็นได้ว่าตาของมนุษย์มีองค์ประกอบมากมาย หากส่วนใดส่วนหนึ่ง
ผิดปกติก็อาจทำาให้เกิดความเสียหายต่อดวงตาไม่มากก็น้อย ต่อมาก็มา
รู้จักโรคทั่วไปเกี่ยวกับดวงตา แนวทางการรักษา และวิธีป้องกัน มีดังนี้
โรคต้อกระจก
โรคต้อกระจก คือ โรคที่เกิดจากการเสื่อมของโปรตีนในเซลล์แก้วตา
จึงเป็นสาเหตุให้แก้วตาค่อยๆเปลี่ยนไปเป็นสีเหลืองและค่อยๆขุ่นมัว(สีเทา
ขาว) ทำาให้เห็นภาพไม่ชัดจนถึงตาบอดในที่สุด
แนวทางการรักษา
การรักษาโรคต้อกระจกขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการขุ่นมัวของ
แก้วตา ดังนั้นจึงอาจเริ่มด้วยการใส่แว่นสายตาโดยใช้เลนส์ได้หลายชนิด
ขึ้นอยู่กับคำาแนะนำาของจักษุแพทย์
การป้องกัน
การป้องกันโรคต้อกระจกไม่ให้เกิดเต็มร้อยคงเป็นไปไม่ได้เพราะ
เป็นโรคตามธรรมชาติ ตามอายุ แต่อาจชะลอการเกิดและชะลอการลุก
ลามทั้งแก้วตาให้ช้าลงได้ เช่นไม่ให้ลูกตาได้รับแสงแดดมากเกินไป ระมัด
ระวังอุบัติเหตุของดวงตา เป็นต้น
โรคตาบอดสี
โรคตาบอดสี คือ โรคที่ไม่สามารถมองเห็นสีบางสีได้ ส่วนใหญ่เป็นสี
เขียวและสีแดง แต่การเห็นภาพอื่นๆ สมองและสติปัญญาเป็นปกติ
สาเหตุ
โรคตาบอดสีเกิดจากสองสาเหตุหลัก ได้แก่ จากพันธุกรรมผิดปกติแต่
กำาเนิดและจากโรคต่างๆที่มีผลต่อสายตา ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อโตขึ้นหรือเมื่อเป็น
ผู้ใหญ่
แนวทางการรักษา
เมื่อเป็นโรคตาบอดสีจากพันธุกรรมปัจจุบันยังไม่มีวิธีรักษา
ใช้เพียงการปรับตัวในชีวิตประจำาวันและในการทำางาน เมื่อสาเหตุ
เกิดจากโรคต่างๆ การรักษาตาบอดสีคือ รักษาโรคที่เป็นสาเหตุ
ซึ่งบางครั้งการเห็นสีอาจกลับเป็นปกติได้
โรคสายตาสั้น
โรคหรือภาวะสายตาสั้น ได้แก่ โรคที่เมื่อมองใกล้เช่นอ่านหนังสือหรือ
ใช้คอมพิวเตอร์ จะเห็นภาพชัดเป็นปกติ แต่เมื่อมองไกลเช่นขับรถ ดูทีวีหรือดู
ป้ายโฆษณาจะมองเห็นไม่ชัด
6
สาเหตุ
สายตาสั้นเกิดจากความผิดปกติของรูปกระจกตาหรือความยาว
เกินปกติของลูกตา เป็นเหตุให้จุดรวมแสงจากภาพตกก่อนถึงจอตา จึง
เห็นภาพไม่ชัดเมื่อมองไกล ทั้งนี้อาจเกิดจากการใช้สายตามองใกล้มาก
กล้ามเนื้อตาจึงทำางานมากกว่าปกติหรือจากพันธุกรรม
แนวทางการรักษา
การรักษาโรคสายตาสั้น ได้แก่ ใส่แว่นสายตา ใส่คอนแท็คเลนส์หรือ
ผ่าตัดกระจกตาด้วยเลเซอร์
โรคสายตายาว
โรคหรือภาวะสายตายาวคือโรคที่เมื่อเกิดแล้วทำาให้มอง
เห็นภาพใกล้ไม่ชัด แต่เห็นภาพใกล้ชัด เกิดจากสาเหตุต่างกันรวม
ทั้งเกิดในอายุที่ต่างกัน โรคสายตายาวเดจากลูกตาสั้นกว่าปกติ
หรือกระจกตาโค้งน้อยกว่าปกติ จึงทำาให้จุดรวมแสงจากภาพตกหลังจอตา
ภาพจึงมัวไม่ค่อยชัดเมื่อมองใกล้
แนวทางการรักษา
แพทย์ให้การรักษาและแก้ไขโรคสายตายาวเช่นเดียวกับโรคสายตาสั้น
คือการใช้แว่นสายตา ใส่คอนแท็คเลนส์
ดวงตาเป็นอวัยวะที่สำาคัญต่อคนราเป็นอย่างมาก และเป็นอวัยวะที่ไม่
ควรละเลยเป็นอย่างยิ่ง ตาเป็นส่วนที่บอบบางซึ่งต้องการความดูแลเอาใจใส่
เป็นอย่างมาก ฉะนั้นสุขภาพของดวงตาจึงเป็นสิ่งที่เราควรเอาใจใส่ไม่
สามารถมองข้ามได้ และการรู้เท่าทันทำาให้เราปกป้องดวงตาจากบางโรคได้
แต่แม้บางโรคที่ป้องกันไม่ได้แต่การเข้ารับรักษาอย่างทันท่วงทีก็ช่วยลด
ความรุนแรงของโรคได้ เพราะดวงตาคือหน้าตาที่ทำาให้มองเห็นความ
สวยงามบนโลกใบนี้ได้ทั้งใบ
วิธีดำาเนินงาน
แนวทางการดำาเนินงาน
1. กำาหนดหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
2. ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูล
3. จัดทำาโครงร่าง
4. ตรวจสอบ
5. ปรับปรุงแก้ไข
6. นำาเสนอ
7
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. กระดาษ
3. ดินสอ
4. ยางลบ
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดำาเนินงาน
ล
ำำ
ดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับ
ผิด
ชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครง
งาน
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
3 จัดทำาโครงร่าง
งาน
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทำาเอกสาร
รายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นำาเสนอโครง
งาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทำา
โครงงาน)
1. ได้มีความรู้เกี่ยวกับความหมายของตา
2. ได้มีความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของตา
3. ได้มีความรู้เกี่ยวกับโรคของดวงตา
4. ได้มีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและรักษา
8
สถานที่ดำาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
2. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำามาใช้การทำาโครง
งาน)
หนังสือโรคของดวงตา ของพวงทอง ไกรพิบูลย์
หนังสือนานมีบุ๊คส์ พาไปพบร่างกาย ของวอร์กเกอร์, ริชาร์ด
หนังสือกดจุด รักษาโรคเกี่ยวกับตา ของสิตางศุ์
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%95%E0%B8%B2
http://pet.kapook.com/view40602.html

More Related Content

Similar to 2558 project อิม

2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)
Milk MK
 
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียนคริคริ
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียนคริคริโครงร่างสกุลเงินในอาเซียนคริคริ
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียนคริคริ
Nuttawat Sawangrat
 
2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)
Milk MK
 
2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)
Milk MK
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Permtrakul Khammoon
 
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละโครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
Nuttawat Sawangrat
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
KuNg Pw
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
Seew' Pobpon
 

Similar to 2558 project อิม (20)

My eyes your eyes
My eyes your eyesMy eyes your eyes
My eyes your eyes
 
My eyes your eyes
My eyes your eyesMy eyes your eyes
My eyes your eyes
 
2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)
 
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียนคริคริ
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียนคริคริโครงร่างสกุลเงินในอาเซียนคริคริ
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียนคริคริ
 
2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)
 
2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)
 
2561 project (21)
2561 project  (21)2561 project  (21)
2561 project (21)
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
2561 project sirithip
2561 project  sirithip2561 project  sirithip
2561 project sirithip
 
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละโครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
การสืบพันธุ์ในคน แก้ไข
การสืบพันธุ์ในคน แก้ไขการสืบพันธุ์ในคน แก้ไข
การสืบพันธุ์ในคน แก้ไข
 
การสืบพันธุ์ในคน
การสืบพันธุ์ในคนการสืบพันธุ์ในคน
การสืบพันธุ์ในคน
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอม
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอม
 

2558 project อิม

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง 33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2558 ชื่อโครงงาน ตาคุณ ตาฉันสำาคัญไฉน ชื่อผู้ทำาโครงงาน นางสาวสุทธิดา พีระภาสกร เลขที่27 ชั้นม.6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดำาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการ ศึกษา 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทำาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวสุทธิดา พีระภาสกร เลขที่27 คำาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อ ไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ตาคุณ ตาฉันสำาคัญไฉน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) My eyes your eyes. ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทำาโครงงาน นางสาวสุทธิดา พีระภาสกร ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม นางสาวนลินี อภัยวงค์ ระยะเวลาดำาเนินงาน 1 เดือน ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และ เหตุผล ของการทำาโครงงาน) เนื่องจากร่างกายของคนเราประกอบด้วยอวัยวะต่างๆมากมาย ดวงตา ของคนเราก็เป็นอวัยวะส่วนหนึ่งของร่างกายที่มีความสำาคัญ เพราะดวงตา ของคนเราคือส่วนที่สามารถมองเห็นสิ่งต่างๆได้ ดวงตาประกอบด้วยเนื้อเยื่อ หลายชนิดซึ่งแต่ละชนิดก็ทำาหน้าที่แตกต่างกัน ทั้งเพื่อการมองเห็นและเพื่อ ป้องกันดวงตา ดวงตาของเรานั้นมีองค์ประกอบมากมาย ซึ่งองค์ประกอบของ ดวงตานั้นมีความสำาคัญมากเพราะถ้าส่วนใดส่วนหนึ่งเสียไปอาจทำาให้ ตาบอดได้ ตาของคนเรามีความบอบบางมากจึงมีส่วนที่ทำาให้เกิดโรคต่างๆ โรคที่เห็นโดยทั่วไปได้แก่ โรคตาแดง โรคต้อหิน โรคต้อกระจก โรคภูมิแพ้ ดวงตา๚ล๚ โรคต่างๆของดวงตาเหล่านี้ต่างก็มีวิธีป้องกันและการรักษา แต่ ถ้าไม่อยากให้โรคพวกนี้เกิดขึ้นกับดวงตาของเรานั้นต้องดูแลเอาใจใส่อย่าง ถูกวิธีและเป็นสมำ่าเสมอ
  • 3. 3 ดิฉันเลือกทำำโครงงำนเรื่องนี้เนื่องจำกอยำกให้ทุกคนตระหนักถึงควำม สำำคัญของดวงตำให้มำกขึ้น เพรำะดวงตำนั้นสำมำรถทำำให้เรำดำำเนินชีวิต ประจำำวันได้อย่ำงสะดวกสบำย และเมื่อได้ศึกษำเรื่องนี้แล้วจะทำำให้รู้องค์ ประกอบของดวงตำ โรคของดวงตำและมีวิธีป้องกันและวิธีแก้ไข วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องกำรในกำรทำำโครงงำน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อให้คนมีควำมรู้ใหม่ๆเกี่ยวกับดวงตำ 2. เพื่อให้รู้จักโรคต่ำงๆเกี่ยวกับดวงตำ 3. เพื่อให้รู้จักวิธีแก้ไขและวิธีป้องกันโรค 4. เพื่อตระหนักถึงควำมสำำคัญของดวงตำ ขอบเขตโครงงำน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำำกัดของกำร ทำำโครงงำน) โครงงำนคอมพิวเตอร์เรื่องตำคุณ ตำฉันสำำคัญไฉน เป็นโครงงำนเพื่อ ศึกษำ โดยจะศึกษำเกี่ยวกับภำพรวมของดวงตำ ได้แก่ ควำมหมำยของตำ องค์ประกอบของตำ โรคของดวงตำและวิธีป้องกันและรักษำ หลักกำรและทฤษฎี (ควำมรู้ หลักกำร หรือทฤษฎีที่สนับสนุนกำรทำำ โครงงำน) ตำ คือ อวัยวะที่ทำำหน้ำที่รับแสงสะท้อนของร่ำงกำย ทำำให้สำมำรถมอง เห็นและรับรู้สิ่งต่ำงๆรอบตัวได้ ดวงตำของสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่จะอยู่ด้ำนหน้ำ ภำยในเบ้ำตำบริเวณกะโหลก เช่น มนุษย์ ดวงตำของมนุษย์มีทิศทำงกำรมอง ไปทำงด้ำนหน้ำ มองได้ 180 องศำ ดวงตำของคนมี 2 ดวง อยู่ด้ำนหน้ำของ ใบหน้ำเพื่อกำรมองเห็นแบบสำมมิติ ตำแต่ละดวงจะสำมำรถรับภำพที่มี บริเวณที่ซ้อนทับกันได้ เพื่อให้สมองรับรู้ถึงควำมลึกหรือเป็นสำมมิติขอภำพ และยังมีโครงสร้ำงหรือองค์ประกอบของตำ ดังนี้ 1. ขอบตำหรือหนังตำ (Eyelids) คือ ผิวหนังบริเวณขอบในสุดของ ช่องลูกตำ (Palpebral Aperture) เป็นผิวหนังส่วนที่บำงที่สุดของร่ำงกำย และไวต่อควำมรู้สึก ทำำหน้ำที่ปกป้องลูกตำจำกสิ่งแปลกปลอม 2. ขนตำ (Eyelashes) ทำำหน้ำที่ป้องกันฝุ่นละอองไม่ให้เข้ำสู่ตำ 3. เยื่อบุตำขำว (Conjunctiva) มีประโยชน์คือทำำให้ลูกตำมีควำมเรียบ ลื่นขณะกระพริบตำ 4. ม่ำนตำ (Iris) มีลักษณะเป็นแผ่นเนื้อเยื่อทึบแสง ประกอบด้วยเม็ดสี (Pigment) จำำนวนมำก เป็นส่วนที่ทำำให้ตำมีสีต่ำงๆ 5. กระจกตำ (Cornea) เป็นอวัยวะส่วนสำำคัญมีอักษรใส ไม่มีเส้นเลือด มีหน้ำทีในกำรหักเหแสง
  • 4. 4 6. เลนส์ตำ (Crystalline Lens) เป็นส่วนที่มีหน้ำที่หักเหแสงและ โฟกัสภำพ มีลักษณะคล้ำยเลนส์นูนทั้งด้ำนหน้ำและด้ำนหลัง 7. เส้นเอ็นยึดเลนส์ตำ (Suspensory Ligaments) เป็นเส้นเอ็นเล็กๆที่ เหนียว ทำำหน้ำที่ยึดเลนส์ตำให้อยู่ในตำำแหน่งปกติ 8. กล้ำมเนื้อปรับเลนส์ตำ (Ciliary Body) เป็นส่วนฐำนของม่ำนตำ (Iris) ทำำหน้ำที่ช่วยในกระบวนกำรเพ่ง 9. นำ้ำวุ้นช่องลูกตำหน้ำ (Aqueous Humor) มีลักษณะเป็นของเหลวใส (Liquid) คล้ำยนำ้ำ อยู่ระหว่ำงกระจกตำกับเลนส์ตำ 10. นำ้ำวุ้นช่องลูกตำหลัง (Vitreous Humor) มีลักษณะเป็นของเหลว ใส มีควำมหนืดคล้ำยเจล อยู่หลังเลนส์ตำ ช่วยรักษำรูปทรงของลูกตำ (Eyeball) ให้อยู่ในสภำวะปกติ 11. ตำขำว (Sclera) เป็นชั้นที่มีควำมหนำ เหนียวและแข็งแรง มีหน้ำที่ รักษำรูปทรงลูกตำและปกป้องโครงสร้ำงตำภำยในทั้งหมด 12. โครอยด์ (Choroid) เป็นชั้นบำง ๆ สีนำ้ำตำลเข้มถึงดำำ ประกอบด้วย เส้นเลือด (Vascular) เป็นจำำนวนมำกอยู่กึ่งกลำงระหว่ำงตำขำวกับจอ รับภำพ 13. จอรับภำพหรือจอประสำทตำ (Retina) คืออวัยวะที่ทำำหน้ำที่รับ ภำพคล้ำยกับฟิล์มในกล้องถ่ำยรูป เป็นชั้นที่อยู่ภำยในสุด มีลักษณะ เป็นแผ่นบำงและใส 14. ออพติค ดิสด์ (Optic Disc) เป็นส่วนหัวของเส้นประสำท มีลักษณะ กลมหรือเรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ“จุดบอดของตำ” 15. ออพติค คัพ (Optic Cup) อยู่บริเวณศูนย์กลำง “จุดบอดของตำ” มี รูปร่ำงคล้ำยกรวยเป็นส่วนที่เส้นประสำทตำแยกออกจำกกัน 16. เส้นประสำทตำ (Optic Nerve) เป็นเส้นประสำทที่มีหน้ำที่นำำภำพ ทั้งหมดที่ปรำกฏขึ้นไปสู่สมอง (Brain) โดยสมองจะทำำหน้ำที่แปรผลว่ำภำพที่ เห็นนั้นคือวัตถุอะไร 17. เส้นเลือด ดำำ – แดง (Retinal Vein, Artery) เส้นเลือดแดงทำำ หน้ำที่ลำำเลียงออกซิเจนและสำรอำหำรไปหล่อเลี้ยงโครงสร้ำงตำภำยในส่วน เส้นเลือดดำำทำำหน้ำที่ลำำเลียงเลือดเสียออกมำสู่กระบวนกำรฟอกที่ปอดต่อไป 18. ต่อมผลิตนำ้ำตำ (Lacrimal Gland) ทำำหน้ำที่ผลิตนำ้ำตำเพื่อหล่อ เลี้ยง ผิวตำให้ชุ่มชื้นอยู่ตลอดเวลำ 19. ท่อระบำยนำ้ำตำ (Puncta) ทำำหน้ำที่ระบำยนำ้ำตำลงสู่โพรงจมูกและ ลำำคอ
  • 5. 5 จะเห็นได้ว่าตาของมนุษย์มีองค์ประกอบมากมาย หากส่วนใดส่วนหนึ่ง ผิดปกติก็อาจทำาให้เกิดความเสียหายต่อดวงตาไม่มากก็น้อย ต่อมาก็มา รู้จักโรคทั่วไปเกี่ยวกับดวงตา แนวทางการรักษา และวิธีป้องกัน มีดังนี้ โรคต้อกระจก โรคต้อกระจก คือ โรคที่เกิดจากการเสื่อมของโปรตีนในเซลล์แก้วตา จึงเป็นสาเหตุให้แก้วตาค่อยๆเปลี่ยนไปเป็นสีเหลืองและค่อยๆขุ่นมัว(สีเทา ขาว) ทำาให้เห็นภาพไม่ชัดจนถึงตาบอดในที่สุด แนวทางการรักษา การรักษาโรคต้อกระจกขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการขุ่นมัวของ แก้วตา ดังนั้นจึงอาจเริ่มด้วยการใส่แว่นสายตาโดยใช้เลนส์ได้หลายชนิด ขึ้นอยู่กับคำาแนะนำาของจักษุแพทย์ การป้องกัน การป้องกันโรคต้อกระจกไม่ให้เกิดเต็มร้อยคงเป็นไปไม่ได้เพราะ เป็นโรคตามธรรมชาติ ตามอายุ แต่อาจชะลอการเกิดและชะลอการลุก ลามทั้งแก้วตาให้ช้าลงได้ เช่นไม่ให้ลูกตาได้รับแสงแดดมากเกินไป ระมัด ระวังอุบัติเหตุของดวงตา เป็นต้น โรคตาบอดสี โรคตาบอดสี คือ โรคที่ไม่สามารถมองเห็นสีบางสีได้ ส่วนใหญ่เป็นสี เขียวและสีแดง แต่การเห็นภาพอื่นๆ สมองและสติปัญญาเป็นปกติ สาเหตุ โรคตาบอดสีเกิดจากสองสาเหตุหลัก ได้แก่ จากพันธุกรรมผิดปกติแต่ กำาเนิดและจากโรคต่างๆที่มีผลต่อสายตา ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อโตขึ้นหรือเมื่อเป็น ผู้ใหญ่ แนวทางการรักษา เมื่อเป็นโรคตาบอดสีจากพันธุกรรมปัจจุบันยังไม่มีวิธีรักษา ใช้เพียงการปรับตัวในชีวิตประจำาวันและในการทำางาน เมื่อสาเหตุ เกิดจากโรคต่างๆ การรักษาตาบอดสีคือ รักษาโรคที่เป็นสาเหตุ ซึ่งบางครั้งการเห็นสีอาจกลับเป็นปกติได้ โรคสายตาสั้น โรคหรือภาวะสายตาสั้น ได้แก่ โรคที่เมื่อมองใกล้เช่นอ่านหนังสือหรือ ใช้คอมพิวเตอร์ จะเห็นภาพชัดเป็นปกติ แต่เมื่อมองไกลเช่นขับรถ ดูทีวีหรือดู ป้ายโฆษณาจะมองเห็นไม่ชัด
  • 6. 6 สาเหตุ สายตาสั้นเกิดจากความผิดปกติของรูปกระจกตาหรือความยาว เกินปกติของลูกตา เป็นเหตุให้จุดรวมแสงจากภาพตกก่อนถึงจอตา จึง เห็นภาพไม่ชัดเมื่อมองไกล ทั้งนี้อาจเกิดจากการใช้สายตามองใกล้มาก กล้ามเนื้อตาจึงทำางานมากกว่าปกติหรือจากพันธุกรรม แนวทางการรักษา การรักษาโรคสายตาสั้น ได้แก่ ใส่แว่นสายตา ใส่คอนแท็คเลนส์หรือ ผ่าตัดกระจกตาด้วยเลเซอร์ โรคสายตายาว โรคหรือภาวะสายตายาวคือโรคที่เมื่อเกิดแล้วทำาให้มอง เห็นภาพใกล้ไม่ชัด แต่เห็นภาพใกล้ชัด เกิดจากสาเหตุต่างกันรวม ทั้งเกิดในอายุที่ต่างกัน โรคสายตายาวเดจากลูกตาสั้นกว่าปกติ หรือกระจกตาโค้งน้อยกว่าปกติ จึงทำาให้จุดรวมแสงจากภาพตกหลังจอตา ภาพจึงมัวไม่ค่อยชัดเมื่อมองใกล้ แนวทางการรักษา แพทย์ให้การรักษาและแก้ไขโรคสายตายาวเช่นเดียวกับโรคสายตาสั้น คือการใช้แว่นสายตา ใส่คอนแท็คเลนส์ ดวงตาเป็นอวัยวะที่สำาคัญต่อคนราเป็นอย่างมาก และเป็นอวัยวะที่ไม่ ควรละเลยเป็นอย่างยิ่ง ตาเป็นส่วนที่บอบบางซึ่งต้องการความดูแลเอาใจใส่ เป็นอย่างมาก ฉะนั้นสุขภาพของดวงตาจึงเป็นสิ่งที่เราควรเอาใจใส่ไม่ สามารถมองข้ามได้ และการรู้เท่าทันทำาให้เราปกป้องดวงตาจากบางโรคได้ แต่แม้บางโรคที่ป้องกันไม่ได้แต่การเข้ารับรักษาอย่างทันท่วงทีก็ช่วยลด ความรุนแรงของโรคได้ เพราะดวงตาคือหน้าตาที่ทำาให้มองเห็นความ สวยงามบนโลกใบนี้ได้ทั้งใบ วิธีดำาเนินงาน แนวทางการดำาเนินงาน 1. กำาหนดหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา 2. ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูล 3. จัดทำาโครงร่าง 4. ตรวจสอบ 5. ปรับปรุงแก้ไข 6. นำาเสนอ
  • 7. 7 เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. กระดาษ 3. ดินสอ 4. ยางลบ งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดำาเนินงาน ล ำำ ดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับ ผิด ชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครง งาน 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล 3 จัดทำาโครงร่าง งาน 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทำาเอกสาร รายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นำาเสนอโครง งาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทำา โครงงาน) 1. ได้มีความรู้เกี่ยวกับความหมายของตา 2. ได้มีความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของตา 3. ได้มีความรู้เกี่ยวกับโรคของดวงตา 4. ได้มีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและรักษา
  • 8. 8 สถานที่ดำาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำามาใช้การทำาโครง งาน) หนังสือโรคของดวงตา ของพวงทอง ไกรพิบูลย์ หนังสือนานมีบุ๊คส์ พาไปพบร่างกาย ของวอร์กเกอร์, ริชาร์ด หนังสือกดจุด รักษาโรคเกี่ยวกับตา ของสิตางศุ์ http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%95%E0%B8%B2 http://pet.kapook.com/view40602.html