SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
เครือข่าย
คอมพิวเตอร์
การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและความ
สำาคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับการใช้
งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อ
คอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกับเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ
ของระบบให้สูงขึ้น เพิ่มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลด
ต้นทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่งใช้งานอุปกรณ์และ
ข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทำางานร่วมกันได้
สิ่งสำาคัญที่ทำาให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น
คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน และการเชื่อมต่อหรือ
การสื่อสาร การโอนย้ายข้อมูลหมายถึงการนำาข้อมูลมา
แบ่งกันใช้งาน หรือการนำาข้อมูลไปใช้ประมวลผลใน
ลักษณะแบ่งกันใช้ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู แบ่ง
กันใช้ฮาร์ดดิสก์ แบ่งกันใช้โปรแกรม และแบ่งกันใช้
อุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุก
คนได้ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายจึง
เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานให้กว้างขวางและ
มากขึ้นจากเดิม
การเชื่อมต่อในความหมายของระบบเครือข่ายท้องถิ่น
ไม่ได้จำากัดอยู่ที่การเชื่อมต่อระหว่างเครื่องไมโคร
คอมพิวเตอร์ แต่ยังรวมไปถึงการเชื่อมต่ออุปกรณ์รอบ
ข้าง เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าทำาให้การทำางานเฉพาะมี
ขอบเขตกว้างขวางยิ่งขึ้น มีการใช้เครื่องบริการแฟ้ม
ข้อมูลเป็นที่เก็บรวบควมแฟ้มข้อมูลต่างๆ มีการทำาฐาน
ข้อมูลกลาง มีหน่วยจัดการระบบสือสารหน่วยบริการใช้
เครื่องพิมพ์ หน่วยบริการการใช้ซีดี หน่วยบริการปลาย
ทาง และอุปกรณ์ประกอบสำาหรับต่อเข้าในระบบเครือ
ข่ายเพื่อจะทำางานเฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่างหนึ่ง ใน
รูป เป็นตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มเชื่อม
โยงเป็นระบบ
ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มอุปกรณ์รอบ
ข้างเชื่อมโยงเป็นระบบ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ก่อให้เกิดความสามารถในการ
ปฎิบัติการร่วมกัน ซึ่งหมายถึงการให้อุปกรณ์ทุกชิ้นที่
ต่ออยู่บนเครือข่ายทำางานร่วมกันได้ทั้งหมดในลักษณะ
ที่ประสานรวมกัน โดยผู้ใช้เห็นเสมือนใช้งานใน
อุปกรณ์เดียวกัน จึงเป็นวิธีการในการนำาเอาอุปกรณ์
ต่างชนิดจำานวนมาก มารวมกันเป็นเสมือนระบบ
เดียวกัน ทั้ง ๆ ที่อุปกรณ์เหล่านั้นอาจจะมาจากต่างยี่ห้อ
ต่างบริษัท ก็ได้
ความหมายของระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึง
การนำาเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน โดยอาศัย
ช่องทางการสื่อสารข้อมูล เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ และการใช้ทรัพยากรของระบบ
ร่วมกัน (Shared Resource) ในเครือข่ายนั้น
รูปแสดงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบที่สำาคัญ เพื่อการ
เชื่อมต่อเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์แม่
ข่าย (File Server) ช่องทางการสื่อสาร (Communication
Chanel) สถานีงาน (Workstation or Terminal) และ
อุปกรณ์ในเครือข่าย (Network Operation System)
คอมพิวเตอร์แม่ข่าย
คอมพิวเตอร์แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ที่ทำาหน้าที่เป็นผู้
ให้บริการทรัพยากร (Resources) ต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ หน่วย
ประมวลผล หน่วยความจำา หน่วยความจำาสำารอง ฐานข้อมูล
และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็นต้น ในระบบเครือข่ายท้องถิ่น
(LAN) มักเรียกว่าคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ในระบบเครือข่าย
ระยะไกล ที่ใช้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรือ มินิคอมพิวเตอร์
เป็นศูนย์กลางของเครือข่าย เรานิยมเรียกว่า
Host Computer และเรียกเครื่องที่รอรับบริการว่าลูกข่าย
หรือสถานีงาน
ช่องทางการสื่อสาร
ช่องทางการสื่อสาร หมายถึง สื่อกลางหรือเส้นทางที่ใช้เป็น
ทางผ่าน ในการรับส่งข้อมูล ระหว่างผู้รับ (Receiver) และผู้
ส่งข้อมูล (Transmitter) ปัจจุบันมีช่องทางการสื่อสาร
สำาหรับการเชื่อมต่อเครือข่าย คอมพิวเตอร์มีหลายประเภท
คือ สายโทรศัพท์แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP)
สายคู่ตีเกลียว แบบมีฉนวนหุ้ม (STP) สายโคแอคเชียล
สายใยแก้วนำาแสง คลื่นไมโครเวป และดาวเทียม เป็นต้น
รูปแสดงช่องทางการสื่อสารโดยใช้จานรับ
ดาวเทียม
สถานีงาน
สถานีงาน (Workstation or Terminal) หมายถึง อุปกรณ์
หรือเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อ กับเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ ทำาหน้าที่เป็นสถานีปลายทางหรือสถานีงาน ที่
ได้รับการบริการจากเครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่าย เรียกว่า
เป็นคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Workstation) ในระบบเครือข่าย
ระยะใกล้ มักมีหน่วยประมวลผล หรือซีพียูของตนเอง ใน
ระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม เป็นศูนย์กลาง เรียก
สถานีปลายทางว่าเทอร์มินอล (Terminal) ประกอบด้วย
จอภาพและแป้นพิมพ์เท่านั้น ไม่มีหน่วยประมวลกลางของ
ตัวเอง ต้องใช้หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง
หรือ Host
อุปกรณ์ในเครือข่าย
การ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย (Network Interface
Card :NIC) หมายถึง แผงวงจรสำาหรับ ใช้ในการเชื่อมต่อ
สายสัญญาณของเครือข่าย ติดตั้งไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์
ที่เป็นเครื่องแม่ข่าย และเครื่องที่เป็นลูกข่าย หน้าที่ของ
การ์ดนี้คือแปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ส่งผ่านไปตาม
สายสัญญาณ ทำาให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแลกเปลี่ยน
ข้อมูลข่าวสารกันได้
รูปแสดงการ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย
องค์ประกอบของเครือ
ข่ายคอมพิวเตอร์
โมเด็ม ( Modem : Modulator Demodulator) หมายถึง
อุปกรณ์สำาหรับการแปลงสัญญาณดิจิตอล (Digital) จาก
คอมพิวเตอร์ด้านผู้ส่ง เพื่อส่งไปตามสายสัญญาณข้อมูลแบ
บอนาลอก(Analog) เมื่อถึงคอมพิวเตอร์ด้านผู้รับ โมเด็มก็จะ
ทำาหน้าที่แปลงสัญญาณอนาลอก ให้เป็นดิจิตอลนำาเข้าสู่
เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อทำาการประมวลผล โดยปกติจะใช้
โมเด็มกับระบบเครือข่ายระยะไกล โดยการใชสายโทรศัพท์
เป็นสื่อกลาง เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
รูปแสดงการใช้โมเด็มในการติดต่อเครือข่ายระยะ
ไกล
ฮับ ( Hub) คือ อุปกรณ์เชื่อมต่อที่ใช้เป็นจุดรวม และ แยก
สายสัญญาณ เพื่อให้เกิดความสะดวก ในการเชื่อมต่อของ
เครือข่ายแบบดาว (Star) โดยปกติใช้เป็นจุดรวมการเชื่อม
ต่อสายสัญญาณระหว่าง File Server กับ Workstation ต่าง
ๆ
แสดงฮับที่ใช้เป็นจุดเชื่อมต่อและจุดแยกของสาย
ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่
ทำาหน้าที่ จัดการระบบเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้
คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่าย สามารถติดต่อ
สื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่างถูกต้อง และมี
ประสิทธิภาพ ทำาหน้าที่จัดการด้านการรักษาความปลอดภัย
ของระบบเครือข่าย และยังมีหน้าที่ควบคุม การนำาโปรแกรม
ประยุกต์ ด้านการติดต่อสื่อสาร มาทำางานในระบบเครือข่าย
อีกด้วย นับว่าซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย มีความ
สำาคัญต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างยิ่ง ตัวอย่าง
ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ ระบบปฏิบัติการ Windows NT ,
Linux , Novell Netware , Windows XP ,Windows 2000 ,
Solaris , Unix เป็นต้น
แสดงซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (TOPOLOGY)
การนำาเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกันเพื่อประโยชน์
ของการสื่อสารนั้น สามารถกระทำาได้หลายรูปแบบ ซึ่ง
แต่ละแบบก็มีจุดเด่นที่แตกต่างกันไป โดยทึ่วไปแล้ว
โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถจำาแนกตาม
ลักษณะของการเชื่อมต่อดังต่อไปนี้
1. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบบัส (bus
topology)
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบบัส จะประกอบ
ด้วย สายส่งข้อมูลหลัก ที่ใช้ส่งข้อมูลภายในเครือข่าย
เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง จะเชื่อมต่อเข้ากับสายข้อมูล
ผ่านจุดเชื่อมต่อ เมื่อมีการส่งข้อมูลระหว่างเครื่อง
คอมพิวเตอร์หลายเครื่องพร้อมกัน จะมีสัญญาณข้อมูลส่งไป
บนสายเคเบิ้ล และมีการแบ่งเวลาการใช้สายเคเบิ้ลแต่ละ
เครื่อง ข้อดีของการเชื่อมต่อแบบบัส คือ ใช้สื่อนำาข้อมูล
น้อย ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่าย และถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์
เครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียก็จะไม่ส่งผลต่อการทำางานของ
ระบบโดยรวม แต่มีข้อเสียคือ การตรวจจุดที่มีปัญหา กระทำา
ได้ค่อนข้างยาก และถ้ามีจำานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือ
ข่ายมากเกินไป จะมีการส่งข้อมูลชนกันมากจนเป็นปัญหา
2. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน (ring
topology)
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน มีการ
เชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์โดยที่แต่ละการเชื่อมต่อ
จะมีลักษณะเป็นวงกลม การส่งข้อมูลภายในเครือข่ายนี้ก็จะ
เป็นวงกลมด้วยเช่นกัน ทิศทางการส่งข้อมูลจะเป็นทิศทาง
เดียวกันเสมอ จากเครื่องหนึ่งจนถึงปลายทาง ในกรณีที่มี
เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งขัดข้อง การส่งข้อมูล
ภายในเครือข่ายชนิดนี้จะไม่สามารถทำางานต่อไปได้ ข้อดี
ของโครงสร้าง เครือข่ายแบบวงแหวนคือ ใช้สายเคเบิ้ลน้อย
และถ้าตัดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เสียออกจากระบบ ก็จะไม่ส่ง
ผลต่อการทำางานของระบบเครือข่ายนี้ และจะไม่มีการชน
กันของข้อมูลที่แต่ละเครื่องส่ง
3. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว (star
topology)
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว ภายในเครือ
ข่ายคอมพิวเตอร์จะต้องมีจุกศูนย์กลางในการควบคุมการ
เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หรือ ฮับ (hub) การสื่อสารระหว่าง
เครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ จะสื่อสารผ่านฮับก่อนที่จะส่งข้อมูล
ไปสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ โครงสร้างเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ แบบดาวมีข้อดี คือ ถ้าต้องการเชื่อมต่อ
คอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ก็สามารถทำาได้ง่ายและไม่กระทบ
ต่อเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในระบบ ส่วนข้อเสีย คือ ค่าใช้
จ่ายในการใช้สายเคเบิ้ลจะค่อนข้างสูง และเมื่อฮับไม่
ทำางาน การสื่อสารของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบก็จะหยุดตาม
ไปด้วย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์

More Related Content

Viewers also liked

ความหมายและความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์Apichart Sodesiri
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์attakowit
 
อุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายอุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายRawitsada Intarabut
 
หน่วยที่ 2 โปรโตคอล
หน่วยที่ 2 โปรโตคอลหน่วยที่ 2 โปรโตคอล
หน่วยที่ 2 โปรโตคอลSisaketwittayalai School
 
คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นคำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นRawitsada Intarabut
 
Introduction to Computer Networks
 Introduction to Computer Networks Introduction to Computer Networks
Introduction to Computer NetworksGhaffar Khan
 
Introduction to Computer Networks and Data Communications
Introduction to Computer Networks and Data CommunicationsIntroduction to Computer Networks and Data Communications
Introduction to Computer Networks and Data CommunicationsAngel G Diaz
 
Data communication (simple explanation)
Data communication (simple explanation)Data communication (simple explanation)
Data communication (simple explanation)Twist Akid Sultan
 
Powerpoint for data communication
Powerpoint for data communication Powerpoint for data communication
Powerpoint for data communication samanthaanderson21
 
Presentation on data communication
Presentation on data communicationPresentation on data communication
Presentation on data communicationHarpreet Dhaliwal
 
Basic concept of computer network
Basic concept of computer networkBasic concept of computer network
Basic concept of computer networkSaahilIT
 
Data communication and network Chapter -1
Data communication and network Chapter -1Data communication and network Chapter -1
Data communication and network Chapter -1Zafar Ayub
 
Computer networking devices
Computer networking devicesComputer networking devices
Computer networking devicesRajesh Sadhukha
 
Introduction to computer network
Introduction to computer networkIntroduction to computer network
Introduction to computer networkAshita Agrawal
 
Basic concepts of computer Networking
Basic concepts of computer NetworkingBasic concepts of computer Networking
Basic concepts of computer NetworkingHj Habib
 

Viewers also liked (17)

ความหมายและความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่ายอุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์เครือข่าย
 
หน่วยที่ 2 โปรโตคอล
หน่วยที่ 2 โปรโตคอลหน่วยที่ 2 โปรโตคอล
หน่วยที่ 2 โปรโตคอล
 
คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นคำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คำสั่งตรวจสอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Introduction to Computer Networks
 Introduction to Computer Networks Introduction to Computer Networks
Introduction to Computer Networks
 
Introduction to Computer Networks and Data Communications
Introduction to Computer Networks and Data CommunicationsIntroduction to Computer Networks and Data Communications
Introduction to Computer Networks and Data Communications
 
Data communication (simple explanation)
Data communication (simple explanation)Data communication (simple explanation)
Data communication (simple explanation)
 
Powerpoint for data communication
Powerpoint for data communication Powerpoint for data communication
Powerpoint for data communication
 
Presentation on data communication
Presentation on data communicationPresentation on data communication
Presentation on data communication
 
Basic concept of computer network
Basic concept of computer networkBasic concept of computer network
Basic concept of computer network
 
Data communication and network Chapter -1
Data communication and network Chapter -1Data communication and network Chapter -1
Data communication and network Chapter -1
 
Networking
NetworkingNetworking
Networking
 
Networking
NetworkingNetworking
Networking
 
Computer networking devices
Computer networking devicesComputer networking devices
Computer networking devices
 
Introduction to computer network
Introduction to computer networkIntroduction to computer network
Introduction to computer network
 
Basic concepts of computer Networking
Basic concepts of computer NetworkingBasic concepts of computer Networking
Basic concepts of computer Networking
 

Similar to เครือข่ายคอมพิวเตอร์

Random 130916020552-phpapp01
Random 130916020552-phpapp01Random 130916020552-phpapp01
Random 130916020552-phpapp01Kin Kanin
 
เครือข่าย..[1]
เครือข่าย..[1]เครือข่าย..[1]
เครือข่าย..[1]chawisa44361
 
Computer device1
Computer device1Computer device1
Computer device1npitpon5678
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
งานคอมกลุ่มคิทแอ้น
งานคอมกลุ่มคิทแอ้นงานคอมกลุ่มคิทแอ้น
งานคอมกลุ่มคิทแอ้นSupanan Fom
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Supanan Fom
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Supanan Fom
 
คอมอีกละ
คอมอีกละคอมอีกละ
คอมอีกละSupanan Fom
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ปิยะดนัย วิเคียน
 
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์thecommander2
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Toy Varintorn
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27sawalee kongyuen
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Chatman's Silver Rose
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9ninjung
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์katuckkt
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์Min Jidapa
 

Similar to เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (20)

Random 130916022121-phpapp01
Random 130916022121-phpapp01Random 130916022121-phpapp01
Random 130916022121-phpapp01
 
Random 130916020552-phpapp01
Random 130916020552-phpapp01Random 130916020552-phpapp01
Random 130916020552-phpapp01
 
เครือข่าย..[1]
เครือข่าย..[1]เครือข่าย..[1]
เครือข่าย..[1]
 
Computer device1
Computer device1Computer device1
Computer device1
 
Computer device
Computer deviceComputer device
Computer device
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
งานคอมกลุ่มคิทแอ้น
งานคอมกลุ่มคิทแอ้นงานคอมกลุ่มคิทแอ้น
งานคอมกลุ่มคิทแอ้น
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
คอมมม
คอมมมคอมมม
คอมมม
 
คอมอีกละ
คอมอีกละคอมอีกละ
คอมอีกละ
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 

เครือข่ายคอมพิวเตอร์

  • 1. เครือข่าย คอมพิวเตอร์ การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและความ สำาคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับการใช้ งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกับเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ของระบบให้สูงขึ้น เพิ่มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลด ต้นทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่งใช้งานอุปกรณ์และ ข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทำางานร่วมกันได้ สิ่งสำาคัญที่ทำาให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน และการเชื่อมต่อหรือ การสื่อสาร การโอนย้ายข้อมูลหมายถึงการนำาข้อมูลมา แบ่งกันใช้งาน หรือการนำาข้อมูลไปใช้ประมวลผลใน ลักษณะแบ่งกันใช้ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู แบ่ง กันใช้ฮาร์ดดิสก์ แบ่งกันใช้โปรแกรม และแบ่งกันใช้ อุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุก คนได้ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายจึง เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานให้กว้างขวางและ มากขึ้นจากเดิม การเชื่อมต่อในความหมายของระบบเครือข่ายท้องถิ่น ไม่ได้จำากัดอยู่ที่การเชื่อมต่อระหว่างเครื่องไมโคร คอมพิวเตอร์ แต่ยังรวมไปถึงการเชื่อมต่ออุปกรณ์รอบ ข้าง เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าทำาให้การทำางานเฉพาะมี ขอบเขตกว้างขวางยิ่งขึ้น มีการใช้เครื่องบริการแฟ้ม ข้อมูลเป็นที่เก็บรวบควมแฟ้มข้อมูลต่างๆ มีการทำาฐาน
  • 2. ข้อมูลกลาง มีหน่วยจัดการระบบสือสารหน่วยบริการใช้ เครื่องพิมพ์ หน่วยบริการการใช้ซีดี หน่วยบริการปลาย ทาง และอุปกรณ์ประกอบสำาหรับต่อเข้าในระบบเครือ ข่ายเพื่อจะทำางานเฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่างหนึ่ง ใน รูป เป็นตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มเชื่อม โยงเป็นระบบ ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มอุปกรณ์รอบ ข้างเชื่อมโยงเป็นระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ก่อให้เกิดความสามารถในการ ปฎิบัติการร่วมกัน ซึ่งหมายถึงการให้อุปกรณ์ทุกชิ้นที่ ต่ออยู่บนเครือข่ายทำางานร่วมกันได้ทั้งหมดในลักษณะ ที่ประสานรวมกัน โดยผู้ใช้เห็นเสมือนใช้งานใน อุปกรณ์เดียวกัน จึงเป็นวิธีการในการนำาเอาอุปกรณ์ ต่างชนิดจำานวนมาก มารวมกันเป็นเสมือนระบบ เดียวกัน ทั้ง ๆ ที่อุปกรณ์เหล่านั้นอาจจะมาจากต่างยี่ห้อ ต่างบริษัท ก็ได้
  • 3. ความหมายของระบบเครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึง การนำาเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน โดยอาศัย ช่องทางการสื่อสารข้อมูล เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ และการใช้ทรัพยากรของระบบ ร่วมกัน (Shared Resource) ในเครือข่ายนั้น รูปแสดงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบที่สำาคัญ เพื่อการ เชื่อมต่อเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์แม่ ข่าย (File Server) ช่องทางการสื่อสาร (Communication Chanel) สถานีงาน (Workstation or Terminal) และ อุปกรณ์ในเครือข่าย (Network Operation System) คอมพิวเตอร์แม่ข่าย คอมพิวเตอร์แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ที่ทำาหน้าที่เป็นผู้ ให้บริการทรัพยากร (Resources) ต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ หน่วย
  • 4. ประมวลผล หน่วยความจำา หน่วยความจำาสำารอง ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็นต้น ในระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) มักเรียกว่าคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ในระบบเครือข่าย ระยะไกล ที่ใช้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรือ มินิคอมพิวเตอร์ เป็นศูนย์กลางของเครือข่าย เรานิยมเรียกว่า Host Computer และเรียกเครื่องที่รอรับบริการว่าลูกข่าย หรือสถานีงาน ช่องทางการสื่อสาร ช่องทางการสื่อสาร หมายถึง สื่อกลางหรือเส้นทางที่ใช้เป็น ทางผ่าน ในการรับส่งข้อมูล ระหว่างผู้รับ (Receiver) และผู้ ส่งข้อมูล (Transmitter) ปัจจุบันมีช่องทางการสื่อสาร สำาหรับการเชื่อมต่อเครือข่าย คอมพิวเตอร์มีหลายประเภท คือ สายโทรศัพท์แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP) สายคู่ตีเกลียว แบบมีฉนวนหุ้ม (STP) สายโคแอคเชียล สายใยแก้วนำาแสง คลื่นไมโครเวป และดาวเทียม เป็นต้น รูปแสดงช่องทางการสื่อสารโดยใช้จานรับ ดาวเทียม สถานีงาน
  • 5. สถานีงาน (Workstation or Terminal) หมายถึง อุปกรณ์ หรือเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อ กับเครือข่าย คอมพิวเตอร์ ทำาหน้าที่เป็นสถานีปลายทางหรือสถานีงาน ที่ ได้รับการบริการจากเครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่าย เรียกว่า เป็นคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Workstation) ในระบบเครือข่าย ระยะใกล้ มักมีหน่วยประมวลผล หรือซีพียูของตนเอง ใน ระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม เป็นศูนย์กลาง เรียก สถานีปลายทางว่าเทอร์มินอล (Terminal) ประกอบด้วย จอภาพและแป้นพิมพ์เท่านั้น ไม่มีหน่วยประมวลกลางของ ตัวเอง ต้องใช้หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง หรือ Host อุปกรณ์ในเครือข่าย การ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย (Network Interface Card :NIC) หมายถึง แผงวงจรสำาหรับ ใช้ในการเชื่อมต่อ สายสัญญาณของเครือข่าย ติดตั้งไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เป็นเครื่องแม่ข่าย และเครื่องที่เป็นลูกข่าย หน้าที่ของ การ์ดนี้คือแปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ส่งผ่านไปตาม สายสัญญาณ ทำาให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแลกเปลี่ยน ข้อมูลข่าวสารกันได้
  • 6. รูปแสดงการ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย องค์ประกอบของเครือ ข่ายคอมพิวเตอร์ โมเด็ม ( Modem : Modulator Demodulator) หมายถึง อุปกรณ์สำาหรับการแปลงสัญญาณดิจิตอล (Digital) จาก คอมพิวเตอร์ด้านผู้ส่ง เพื่อส่งไปตามสายสัญญาณข้อมูลแบ บอนาลอก(Analog) เมื่อถึงคอมพิวเตอร์ด้านผู้รับ โมเด็มก็จะ ทำาหน้าที่แปลงสัญญาณอนาลอก ให้เป็นดิจิตอลนำาเข้าสู่ เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อทำาการประมวลผล โดยปกติจะใช้ โมเด็มกับระบบเครือข่ายระยะไกล โดยการใชสายโทรศัพท์ เป็นสื่อกลาง เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น รูปแสดงการใช้โมเด็มในการติดต่อเครือข่ายระยะ ไกล ฮับ ( Hub) คือ อุปกรณ์เชื่อมต่อที่ใช้เป็นจุดรวม และ แยก สายสัญญาณ เพื่อให้เกิดความสะดวก ในการเชื่อมต่อของ เครือข่ายแบบดาว (Star) โดยปกติใช้เป็นจุดรวมการเชื่อม ต่อสายสัญญาณระหว่าง File Server กับ Workstation ต่าง ๆ
  • 7. แสดงฮับที่ใช้เป็นจุดเชื่อมต่อและจุดแยกของสาย ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ ทำาหน้าที่ จัดการระบบเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่าย สามารถติดต่อ สื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่างถูกต้อง และมี ประสิทธิภาพ ทำาหน้าที่จัดการด้านการรักษาความปลอดภัย ของระบบเครือข่าย และยังมีหน้าที่ควบคุม การนำาโปรแกรม ประยุกต์ ด้านการติดต่อสื่อสาร มาทำางานในระบบเครือข่าย อีกด้วย นับว่าซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย มีความ สำาคัญต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างยิ่ง ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ ระบบปฏิบัติการ Windows NT , Linux , Novell Netware , Windows XP ,Windows 2000 , Solaris , Unix เป็นต้น แสดงซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
  • 8. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (TOPOLOGY) การนำาเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกันเพื่อประโยชน์ ของการสื่อสารนั้น สามารถกระทำาได้หลายรูปแบบ ซึ่ง แต่ละแบบก็มีจุดเด่นที่แตกต่างกันไป โดยทึ่วไปแล้ว โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถจำาแนกตาม ลักษณะของการเชื่อมต่อดังต่อไปนี้ 1. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบบัส (bus topology) โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบบัส จะประกอบ ด้วย สายส่งข้อมูลหลัก ที่ใช้ส่งข้อมูลภายในเครือข่าย เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง จะเชื่อมต่อเข้ากับสายข้อมูล ผ่านจุดเชื่อมต่อ เมื่อมีการส่งข้อมูลระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์หลายเครื่องพร้อมกัน จะมีสัญญาณข้อมูลส่งไป บนสายเคเบิ้ล และมีการแบ่งเวลาการใช้สายเคเบิ้ลแต่ละ
  • 9. เครื่อง ข้อดีของการเชื่อมต่อแบบบัส คือ ใช้สื่อนำาข้อมูล น้อย ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่าย และถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียก็จะไม่ส่งผลต่อการทำางานของ ระบบโดยรวม แต่มีข้อเสียคือ การตรวจจุดที่มีปัญหา กระทำา ได้ค่อนข้างยาก และถ้ามีจำานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือ ข่ายมากเกินไป จะมีการส่งข้อมูลชนกันมากจนเป็นปัญหา 2. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน (ring topology) โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน มีการ เชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์โดยที่แต่ละการเชื่อมต่อ จะมีลักษณะเป็นวงกลม การส่งข้อมูลภายในเครือข่ายนี้ก็จะ เป็นวงกลมด้วยเช่นกัน ทิศทางการส่งข้อมูลจะเป็นทิศทาง เดียวกันเสมอ จากเครื่องหนึ่งจนถึงปลายทาง ในกรณีที่มี เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งขัดข้อง การส่งข้อมูล ภายในเครือข่ายชนิดนี้จะไม่สามารถทำางานต่อไปได้ ข้อดี ของโครงสร้าง เครือข่ายแบบวงแหวนคือ ใช้สายเคเบิ้ลน้อย และถ้าตัดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เสียออกจากระบบ ก็จะไม่ส่ง ผลต่อการทำางานของระบบเครือข่ายนี้ และจะไม่มีการชน กันของข้อมูลที่แต่ละเครื่องส่ง
  • 10. 3. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว (star topology) โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว ภายในเครือ ข่ายคอมพิวเตอร์จะต้องมีจุกศูนย์กลางในการควบคุมการ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หรือ ฮับ (hub) การสื่อสารระหว่าง เครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ จะสื่อสารผ่านฮับก่อนที่จะส่งข้อมูล ไปสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ โครงสร้างเครือข่าย คอมพิวเตอร์ แบบดาวมีข้อดี คือ ถ้าต้องการเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ก็สามารถทำาได้ง่ายและไม่กระทบ ต่อเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในระบบ ส่วนข้อเสีย คือ ค่าใช้ จ่ายในการใช้สายเคเบิ้ลจะค่อนข้างสูง และเมื่อฮับไม่ ทำางาน การสื่อสารของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบก็จะหยุดตาม ไปด้วย