SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
กีฬาว่ายน้า : Swimming
• กีฬาว่ายน้า (Swimming) ถือเป็นศิลปะอย่างหนึ่ง เพราะมนุษย์สามารถว่าย
น้าได้ตั้งแต่สมัยดึกดาบรรพ์โดยเฉพาะอย่างยิ่งมนุษย์ที่ตั้งภูมิลาเนาอยู่ตาม
ชายทะเล แม่น้า ลาคลอง และที่ราบลุ่มต่างๆ เช่น พวกเอสซีเรีย อียิปต์กรีก
และโรมัน มีการฝึกหัดว่ายน้ากันมาตั้งแต่ก่อนคริสตกาล เพราะมีผู้พบ
ภาพวาดเกี่ยวกับการว่ายน้าในถ้าบนภูเขาแถบทะเลทรายลิบยาน
กีฬาว่ายน้า : Swimming
• การว่ายน้าในสมัยนั้นเพียงเพื่อให้สามารถว่ายน้าข้ามไปยังฝั่งตรงข้ามได้
หรือเมื่อเกิดอุทกภัยน้าท่วมป่าและที่อยู่อาศัยก็สามารถพาตัวไปในที่น้า
ท่วมไม่ถึงได้อย่างปลอดภัย
กีฬาว่ายน้า : Swimming
• การว่ายน้าได้มีวิวัฒนาการมาตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน แต่มี
หลักฐานบันทึกไว้ไม่นานนัก Ralph Thomas ให้ชื่อแบบว่ายน้าที่มนุษย์
ใช้ว่ายกันมาตั้งแต่เดิมว่า ฮิวแมน สโตร์ก (Human stroke) นอกจากนี้
พวกชนชาติสลาฟและพวกสแกนดิเนเวียรู้จักการว่ายน้าอีกแบบหนึ่ง
โดยใช้เท้าเคลื่อนไหวในน้าคล้ายกบว่ายน้า หรือที่เรียกว่าฟล็อกคิก
(Flogkick) แต่วิธีการเคลื่อนไหวของท่าแบบนี้จะทาให้ว่ายน้าได้ไม่เร็ว
นัก
กีฬาว่ายน้า : Swimming
• การแข่งขันว่ายน้าครั้งแรกได้จัดขึ้น วูลวิช บาร์ท (Woolwich Baths) ใกล้
กับกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เมื่อปี พ.ศ. 2416 การแข่งขันครั้งนั้นมี
การแข่งขันเพียงแบบเดียวคือ แบบฟรีสไตล์ (Freestyle) โดยผู้ว่ายน้าแต่
ละคนจะว่ายแบบใดก็ได้ในการแข่งขันครั้งนี้ J. Arhur Trudgen เป็นผู้
ได้รับชัยชนะ โดยเขาได้ว่ายแบบเดียวกับพวกอินเดียแดงในอเมริกาใต้
คือแบบยกแขนกลับเหนือน้า ซึ่งเป็นวิธีการว่ายน้าของเขาได้กลายเป็น
แบบที่ได้รับความนิยมมากจนได้ชื่อว่า ท่าว่ายน้าแบบทรัดเจน
(Trudgen stroke)
กีฬาว่ายน้า : Swimming
• ประชาชนชาวโลกได้ให้ความสนใจเกี่ยวกับการว่ายน้าเพิ่มมากขึ้น เมื่อ
เรือเอก Mathew Webb ได้ว่ายน้าข้ามช่องแคบอังกฤษจากเมืองโดเวอร์
คาเลียส เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2418 โดยใช้เวลาทั้งสิ้น 21 ชั่วโมง 45
นาที ด้วยการว่ายแบบกบ(Breast stroke) ข่าวความสาเร็จอันนี้ได้สร้าง
ความพิศวงและตื่นเต้นไปทั่วโลก ต่อมาเด็กชาวอเมริกันชื่อ Gertude
Ederle ได้ว่ายน้าข้ามช่องแคบอังกฤษ เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2469 ทา
เวลาได้14 ชั่วโมง 31 นาที โดยว่ายน้าแบบท่าวัดวา(Crawa stroke) จะ
เห็นได้ว่าในชั่วระยะเวลา50 ปี
กีฬาว่ายน้า : Swimming
• การว่ายน้าได้วิวัฒนาการก้าวหน้าขึ้นเป็นอย่างมาก ถ้าหากได้
พิจารณาถึงเวลาของคนทั้งสองที่ทาได้ แบบและวิธีว่ายน้าได้รับการ
ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพื่อให้เกิดความเร็วขึ้นเสมอ ในบรรดานักว่าย
น้าทั่วไปโดยเฉพาะอย่างยิ่งชาวแลนเคเชียร ์์และออสเตรเลีย ได้
ดัดแปลงวิธีว่ายน้าแบบทรัดเจนซึ่งก็ได้รับผลดีในเวลาต่อมา
กล่าวคือ Barney Kieran ชาวออสเตรเลียและ T. S. Battersby ชาว
อังกฤษ ได้ว่ายน้าแบบที่ปรับปรุงมาจากทรัดเจน เป็นผู้ครอง
ตาแหน่งชนะเลิศของโลกเมื่อปี พ.ศ.2449-2415
กีฬาว่ายน้า : Swimming
• Alex Wickham ชาวเกาะโซโลมอนเป็นผู้ริเริ่มการว่ายน้าแบบ
ท่าวัดวาและเป็นผู้ครองตาแหน่งชนะเลิศของโลก ระยะทาง 50 หลา
เขาได้กล่าวว่าเด็กโซโลมอนทุกคนว่ายน้าแบบนี้ทั้งนั้น ต่อมาท่าว่ายน้า
แบบวัดวาจึงเป็นที่นิยมฝึกหัดกันโดยทั่วไป
กีฬาว่ายน้า : Swimming
• กีฬาว่ายน้าได้จัดเข้าไว้ในการแข่งขันโอลิมปิกเมื่อปี พ.ศ.2436 และ
ได้จัดการแข่งขันมาจนถึงปัจจุบัน ด้วยเหตุดังกล่าวกีฬาว่ายน้าก็ได้รับ
ความสนใจจากคนทั่วไป และถือเป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันกีฬา
โอลิมปิก มีการพัฒนากีฬาว่ายน้าให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้นเป็นลาดับ โดยมีผู้คิด
แบบและประเภทของการว่ายน้าเพื่อความสนุกสนาน และความตื่นเต้น
ในการแข่งขันมากขึ้น
แบบของการว่าย
1. การว่ายแบบฟรีสไตล์
2. การว่ายแบบกรรเชียง
3. การว่ายแบบกบ
4. การว่ายแบบผีเสื้อ
5. การว่ายแบบผสม
การว่ายแบบฟรีสไตล์
• การว่ายแบบฟรีสไตล์ คือการว่ายแบบใดก็ได้ยกเว้นการว่ายแบบเดี่ยว
ผสม หรือผลัดผสมจะต้องว่ายนอกเหนือจากการว่ายแบบกรรเชียง, กบ
หรือผีเสื้อ การกลับตัวก็สามารถที่จะใช้ส่วนหนึ่งส่วนใดแตะขอบสระ
ได้
การว่ายแบบกรรเชียง
• การว่ายแบบกรรเชียง จะต้องถีบตัวออกในลักษณะนอนหงาย ต้องว่าย
ในท่านอนหงายตลอดการแข่งขัน บางส่วนของร่างกายต้องพ้นผิวน้า
ตลอดการแข่งขัน ยกเว้นเวลากลับตัวจะจมน้าไม่เกิน 15 เมตร เมื่อกลับ
ตัวแล้วจะต้องมีส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายแตะผนังสระและเข้าเส้นชัย
ในท่านอนหงาย
การว่ายแบบกบ
• การว่ายแบบกบ จะต้องอยู่ในลักษณะคว่าหน้า แขนทั้ง 2 ข้างจะต้อง
เคลื่อนไหวไปพร้อมกัน มือทั้ง 2 ต้องพุ้งไปข้างหน้าพร้อมกันส่วน
ข้อศอกอยู่ใต้ผิวน้าเมื่อดึงมือไปข้างหน้าพร้อมกันจะต้องอยู่ใต้ผิวน้า ขา
ทั้ง 2 ต้องเคลื่อนที่พร้อมกัน การเตะเท้า เตะไปด้านหลัง การกลับตัว
การเข้าเส้นชัยต้องแตะด้วยมือทั้ง 2 ข้างพร้อมกัน การดึงแขน 1 ครั้ง
และการเตะขา 1 ครั้ง จะต้องมีบางส่วนของศีรษะโผล่พ้นระดับให้เห็น
ยกเว้นการกลับตัวให้ดาน้าได้1 ครั้ง
การว่ายแบบผีเสื้อ
• การว่ายแบบผีเสื้อ จะต้องคว่าหน้าตลอดระยะทาง ไม่ให้ม้วนตัวหงาย
กลับในการกลับตัว แขนทั้ง 2 จะต้องยกเหนือน้าพร้อมๆ กัน การเข้า
เส้นชัย และการกลับตัวจะต้องแตะขอบสระด้วยมือทั้ง 2 พร้อมๆ กันดึง
แขนใต้น้าได้1 ครั้งเท่านั้น
การว่ายแบบผสม
การว่ายแบบผสม
การว่ายแบบเดี่ยวผสมผู้เข้าแข่งขันจะต้องว่าย 4 แบบ ตามลาดับ ผีเสื้อ
กรรเชียง, กบ, และฟรีสไตล์
การว่ายแบบผลัดผสม มีผู้เข้าแข่งขัน 4 คน ต้องว่ายคนละ 1 แบบ
ตามลาดับ คือ กรรเชียง, กบ, ผีเสื้อ และฟรีสไตล์
ประโยชน์ของกีฬาว่ายน้า
ด้านสรีรศาสตร์(Physiological ) ช่วยพัฒนาสุขภาพร่างกาย เช่น กล้ามเนื้อ
ข้อต่อ ปอด หัวใจ และระบบต่าง ๆ ได้บริหาร เคลื่อนไหวอย่าง
สม่าเสมอ รักษาความแข็งแรงมีประสิทธิภาพในการทางานดีขึ้น
ด้านนันทนาการ(Recreation ) ช่วยบุคคลในการใช้เวลาว่าง ให้เป็น
ประโยชน์ทาให้สนุกสนาน เกิดคุณค่า
ประโยชน์ของกีฬาว่ายน้า
• ด้านกิจกรรมพิเศษ (Special ) ช่วยบาบัดจิตใจและร่างกายให้กับบุคคลที่
ไม่สมบูรณ์ทางกาย เช่น ตาบอด อัมพาต เป็นง่อย พิการ และคนที่
บาดเจ็บที่จะต้องใช้การว่ายน้าเข้าช่วยเหลือแก้ไข เพื่อฟื้นฟูสภาพ
ผิดปกติเหล่านั้นให้กลับสู่สภาพที่ดีขึ้น
• ด้านการแข่งขัน ( Competitive ) ว่ายน้าจะมีการแข่งขันกันเพื่อ
เปรียบเทียบทักษะระหว่างสมาชิกด้วยกัน มีความรู้สึกว่ามีความ
สนุกสนานเพลิดเพลินเกิดแรงจูงใจ ที่จะนาไป สู่การเข้าร่วมการแข่งขัน
ในรายการต่างๆ
ประโยชน์ของกีฬาว่ายน้า
• ด้านสติปัญญาของมนุษย์ และพัฒนาขึ้นเมื่อได้มีการเรียนรู้ หรือมี
ประสบการณ์ใหม่ๆ ผ่านเข้ามา และมนุษย์ได้ใช้ความคิดในการวินิจ
วิเคราะห์ เพื่อพัฒนาทักษะให้ดีขึ้น ว่ายน้าเป็นกีฬาที่ต้องอาศัย ความรู้
ความเข้าใจ และทักษะหลายๆอย่างประกอบกัน
• ด้านอารมณ์ ทาให้สนุกสนานเพลิดเพลิน ในขณะว่ายน้าก็ทาให้ผู้เล่นมี
สมาธิอยู่กับการเคลื่อนไหวในน้า ทาให้สบายใจ หากว่ายน้าเป็นระยะ
เวลานาน จนร่างกายมีสมรรถภาพดีแล้ว ก็ทาให้อารมณ์มั่นคงไปด้วย
Swimming

More Related Content

Featured

AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at WorkGetSmarter
 

Featured (20)

AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 

Swimming

  • 1.
  • 2.
  • 3. กีฬาว่ายน้า : Swimming • กีฬาว่ายน้า (Swimming) ถือเป็นศิลปะอย่างหนึ่ง เพราะมนุษย์สามารถว่าย น้าได้ตั้งแต่สมัยดึกดาบรรพ์โดยเฉพาะอย่างยิ่งมนุษย์ที่ตั้งภูมิลาเนาอยู่ตาม ชายทะเล แม่น้า ลาคลอง และที่ราบลุ่มต่างๆ เช่น พวกเอสซีเรีย อียิปต์กรีก และโรมัน มีการฝึกหัดว่ายน้ากันมาตั้งแต่ก่อนคริสตกาล เพราะมีผู้พบ ภาพวาดเกี่ยวกับการว่ายน้าในถ้าบนภูเขาแถบทะเลทรายลิบยาน
  • 4. กีฬาว่ายน้า : Swimming • การว่ายน้าในสมัยนั้นเพียงเพื่อให้สามารถว่ายน้าข้ามไปยังฝั่งตรงข้ามได้ หรือเมื่อเกิดอุทกภัยน้าท่วมป่าและที่อยู่อาศัยก็สามารถพาตัวไปในที่น้า ท่วมไม่ถึงได้อย่างปลอดภัย
  • 5. กีฬาว่ายน้า : Swimming • การว่ายน้าได้มีวิวัฒนาการมาตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน แต่มี หลักฐานบันทึกไว้ไม่นานนัก Ralph Thomas ให้ชื่อแบบว่ายน้าที่มนุษย์ ใช้ว่ายกันมาตั้งแต่เดิมว่า ฮิวแมน สโตร์ก (Human stroke) นอกจากนี้ พวกชนชาติสลาฟและพวกสแกนดิเนเวียรู้จักการว่ายน้าอีกแบบหนึ่ง โดยใช้เท้าเคลื่อนไหวในน้าคล้ายกบว่ายน้า หรือที่เรียกว่าฟล็อกคิก (Flogkick) แต่วิธีการเคลื่อนไหวของท่าแบบนี้จะทาให้ว่ายน้าได้ไม่เร็ว นัก
  • 6. กีฬาว่ายน้า : Swimming • การแข่งขันว่ายน้าครั้งแรกได้จัดขึ้น วูลวิช บาร์ท (Woolwich Baths) ใกล้ กับกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เมื่อปี พ.ศ. 2416 การแข่งขันครั้งนั้นมี การแข่งขันเพียงแบบเดียวคือ แบบฟรีสไตล์ (Freestyle) โดยผู้ว่ายน้าแต่ ละคนจะว่ายแบบใดก็ได้ในการแข่งขันครั้งนี้ J. Arhur Trudgen เป็นผู้ ได้รับชัยชนะ โดยเขาได้ว่ายแบบเดียวกับพวกอินเดียแดงในอเมริกาใต้ คือแบบยกแขนกลับเหนือน้า ซึ่งเป็นวิธีการว่ายน้าของเขาได้กลายเป็น แบบที่ได้รับความนิยมมากจนได้ชื่อว่า ท่าว่ายน้าแบบทรัดเจน (Trudgen stroke)
  • 7. กีฬาว่ายน้า : Swimming • ประชาชนชาวโลกได้ให้ความสนใจเกี่ยวกับการว่ายน้าเพิ่มมากขึ้น เมื่อ เรือเอก Mathew Webb ได้ว่ายน้าข้ามช่องแคบอังกฤษจากเมืองโดเวอร์ คาเลียส เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2418 โดยใช้เวลาทั้งสิ้น 21 ชั่วโมง 45 นาที ด้วยการว่ายแบบกบ(Breast stroke) ข่าวความสาเร็จอันนี้ได้สร้าง ความพิศวงและตื่นเต้นไปทั่วโลก ต่อมาเด็กชาวอเมริกันชื่อ Gertude Ederle ได้ว่ายน้าข้ามช่องแคบอังกฤษ เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2469 ทา เวลาได้14 ชั่วโมง 31 นาที โดยว่ายน้าแบบท่าวัดวา(Crawa stroke) จะ เห็นได้ว่าในชั่วระยะเวลา50 ปี
  • 8. กีฬาว่ายน้า : Swimming • การว่ายน้าได้วิวัฒนาการก้าวหน้าขึ้นเป็นอย่างมาก ถ้าหากได้ พิจารณาถึงเวลาของคนทั้งสองที่ทาได้ แบบและวิธีว่ายน้าได้รับการ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพื่อให้เกิดความเร็วขึ้นเสมอ ในบรรดานักว่าย น้าทั่วไปโดยเฉพาะอย่างยิ่งชาวแลนเคเชียร ์์และออสเตรเลีย ได้ ดัดแปลงวิธีว่ายน้าแบบทรัดเจนซึ่งก็ได้รับผลดีในเวลาต่อมา กล่าวคือ Barney Kieran ชาวออสเตรเลียและ T. S. Battersby ชาว อังกฤษ ได้ว่ายน้าแบบที่ปรับปรุงมาจากทรัดเจน เป็นผู้ครอง ตาแหน่งชนะเลิศของโลกเมื่อปี พ.ศ.2449-2415
  • 9. กีฬาว่ายน้า : Swimming • Alex Wickham ชาวเกาะโซโลมอนเป็นผู้ริเริ่มการว่ายน้าแบบ ท่าวัดวาและเป็นผู้ครองตาแหน่งชนะเลิศของโลก ระยะทาง 50 หลา เขาได้กล่าวว่าเด็กโซโลมอนทุกคนว่ายน้าแบบนี้ทั้งนั้น ต่อมาท่าว่ายน้า แบบวัดวาจึงเป็นที่นิยมฝึกหัดกันโดยทั่วไป
  • 10. กีฬาว่ายน้า : Swimming • กีฬาว่ายน้าได้จัดเข้าไว้ในการแข่งขันโอลิมปิกเมื่อปี พ.ศ.2436 และ ได้จัดการแข่งขันมาจนถึงปัจจุบัน ด้วยเหตุดังกล่าวกีฬาว่ายน้าก็ได้รับ ความสนใจจากคนทั่วไป และถือเป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันกีฬา โอลิมปิก มีการพัฒนากีฬาว่ายน้าให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้นเป็นลาดับ โดยมีผู้คิด แบบและประเภทของการว่ายน้าเพื่อความสนุกสนาน และความตื่นเต้น ในการแข่งขันมากขึ้น
  • 11. แบบของการว่าย 1. การว่ายแบบฟรีสไตล์ 2. การว่ายแบบกรรเชียง 3. การว่ายแบบกบ 4. การว่ายแบบผีเสื้อ 5. การว่ายแบบผสม
  • 12. การว่ายแบบฟรีสไตล์ • การว่ายแบบฟรีสไตล์ คือการว่ายแบบใดก็ได้ยกเว้นการว่ายแบบเดี่ยว ผสม หรือผลัดผสมจะต้องว่ายนอกเหนือจากการว่ายแบบกรรเชียง, กบ หรือผีเสื้อ การกลับตัวก็สามารถที่จะใช้ส่วนหนึ่งส่วนใดแตะขอบสระ ได้
  • 13. การว่ายแบบกรรเชียง • การว่ายแบบกรรเชียง จะต้องถีบตัวออกในลักษณะนอนหงาย ต้องว่าย ในท่านอนหงายตลอดการแข่งขัน บางส่วนของร่างกายต้องพ้นผิวน้า ตลอดการแข่งขัน ยกเว้นเวลากลับตัวจะจมน้าไม่เกิน 15 เมตร เมื่อกลับ ตัวแล้วจะต้องมีส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายแตะผนังสระและเข้าเส้นชัย ในท่านอนหงาย
  • 14. การว่ายแบบกบ • การว่ายแบบกบ จะต้องอยู่ในลักษณะคว่าหน้า แขนทั้ง 2 ข้างจะต้อง เคลื่อนไหวไปพร้อมกัน มือทั้ง 2 ต้องพุ้งไปข้างหน้าพร้อมกันส่วน ข้อศอกอยู่ใต้ผิวน้าเมื่อดึงมือไปข้างหน้าพร้อมกันจะต้องอยู่ใต้ผิวน้า ขา ทั้ง 2 ต้องเคลื่อนที่พร้อมกัน การเตะเท้า เตะไปด้านหลัง การกลับตัว การเข้าเส้นชัยต้องแตะด้วยมือทั้ง 2 ข้างพร้อมกัน การดึงแขน 1 ครั้ง และการเตะขา 1 ครั้ง จะต้องมีบางส่วนของศีรษะโผล่พ้นระดับให้เห็น ยกเว้นการกลับตัวให้ดาน้าได้1 ครั้ง
  • 15. การว่ายแบบผีเสื้อ • การว่ายแบบผีเสื้อ จะต้องคว่าหน้าตลอดระยะทาง ไม่ให้ม้วนตัวหงาย กลับในการกลับตัว แขนทั้ง 2 จะต้องยกเหนือน้าพร้อมๆ กัน การเข้า เส้นชัย และการกลับตัวจะต้องแตะขอบสระด้วยมือทั้ง 2 พร้อมๆ กันดึง แขนใต้น้าได้1 ครั้งเท่านั้น
  • 16. การว่ายแบบผสม การว่ายแบบผสม การว่ายแบบเดี่ยวผสมผู้เข้าแข่งขันจะต้องว่าย 4 แบบ ตามลาดับ ผีเสื้อ กรรเชียง, กบ, และฟรีสไตล์ การว่ายแบบผลัดผสม มีผู้เข้าแข่งขัน 4 คน ต้องว่ายคนละ 1 แบบ ตามลาดับ คือ กรรเชียง, กบ, ผีเสื้อ และฟรีสไตล์
  • 17. ประโยชน์ของกีฬาว่ายน้า ด้านสรีรศาสตร์(Physiological ) ช่วยพัฒนาสุขภาพร่างกาย เช่น กล้ามเนื้อ ข้อต่อ ปอด หัวใจ และระบบต่าง ๆ ได้บริหาร เคลื่อนไหวอย่าง สม่าเสมอ รักษาความแข็งแรงมีประสิทธิภาพในการทางานดีขึ้น ด้านนันทนาการ(Recreation ) ช่วยบุคคลในการใช้เวลาว่าง ให้เป็น ประโยชน์ทาให้สนุกสนาน เกิดคุณค่า
  • 18. ประโยชน์ของกีฬาว่ายน้า • ด้านกิจกรรมพิเศษ (Special ) ช่วยบาบัดจิตใจและร่างกายให้กับบุคคลที่ ไม่สมบูรณ์ทางกาย เช่น ตาบอด อัมพาต เป็นง่อย พิการ และคนที่ บาดเจ็บที่จะต้องใช้การว่ายน้าเข้าช่วยเหลือแก้ไข เพื่อฟื้นฟูสภาพ ผิดปกติเหล่านั้นให้กลับสู่สภาพที่ดีขึ้น • ด้านการแข่งขัน ( Competitive ) ว่ายน้าจะมีการแข่งขันกันเพื่อ เปรียบเทียบทักษะระหว่างสมาชิกด้วยกัน มีความรู้สึกว่ามีความ สนุกสนานเพลิดเพลินเกิดแรงจูงใจ ที่จะนาไป สู่การเข้าร่วมการแข่งขัน ในรายการต่างๆ
  • 19. ประโยชน์ของกีฬาว่ายน้า • ด้านสติปัญญาของมนุษย์ และพัฒนาขึ้นเมื่อได้มีการเรียนรู้ หรือมี ประสบการณ์ใหม่ๆ ผ่านเข้ามา และมนุษย์ได้ใช้ความคิดในการวินิจ วิเคราะห์ เพื่อพัฒนาทักษะให้ดีขึ้น ว่ายน้าเป็นกีฬาที่ต้องอาศัย ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะหลายๆอย่างประกอบกัน • ด้านอารมณ์ ทาให้สนุกสนานเพลิดเพลิน ในขณะว่ายน้าก็ทาให้ผู้เล่นมี สมาธิอยู่กับการเคลื่อนไหวในน้า ทาให้สบายใจ หากว่ายน้าเป็นระยะ เวลานาน จนร่างกายมีสมรรถภาพดีแล้ว ก็ทาให้อารมณ์มั่นคงไปด้วย