SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
จัดทำโดย นางสุนิศา  โชติกลาง   และ   น ารีรัตน์  ฟักสมบูรณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสุรนารีวิทยา  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต  1
จุดประสงค์ ,[object Object]
วัตถุผิวโค้ง เลนส์นูน เลนส์เว้า กระจกเว้า กระจกนูน
เลนส์นูน  ( convex lens) ประโยชน์     ใช้ทำแว่นตาสำหรับคนสายตายาว  ทำแว่นขยาย  และเป็นส่วนประกอบของกล่องส่องทางไกล  กล้องถ่ายรูป กล้องจุลทรรศน์  B A C ลักษณะ    ขอบเลนส์บางกว่าตรงกลาง    ด้านโค้งนูนรับแสง  มีสมบัติรวมแสงหักเห    ให้ได้ทั้งภาพจริงและภาพเสมือน A  เลนส์นูน  2  ด้าน B   เลนส์นูนแกมระนาบ C   เลนส์นูนแกมเว้า จากรูป
ส่วนประกอบของเลนส์นูน A B F C O M N AB   เส้นแกนมุขสำคัญ O  จุดกึ่งกลางเลนส์ MN  เส้นแบ่งครึ่งเลนส์ F  จุดโฟกัส OC  รัศมีความโค้งของเลนส์ OF  ความยาวโฟกัส   รังสีตกกระทบ   รังสีหักเห
F วัตถุ ภาพ 1.  ลากเส้นแกนมุขสำคัญ  เขียนเลนส์ที่ต้องการ แล้วกำหนดจุด  F  2  .  เขียนวัตถุที่ระยะที่ต้องการ  3.  ลากรังสีจากจุดยอดของวัตถุให้ขนานกับเส้นแกนมุขสำคัญ   ไปตกกระทบเลนส์  แล้วเขียนรังสีหักเหผ่านจุด  F   4.  ลากรังสีจากจุดยอดของวัตถุผ่านจุดกึ่งกลางเลนส์  ตำแหน่งที่รังสีนี้ตัดกับรังสีข้อ  3    คือ  ตำแหน่งที่เกิดภาพ  โดยจุดตัด  คือ  จุดยอดของภาพ การเขียนภาพที่เกิดจากเลนส์   
การเกิดภาพบนเลนส์ เลนส์นูน เลนส์เว้า
F 2F F วัตถุ ภาพ วัตถุอยู่ที่ระยะ  2  เท่า ของความยาวโฟกัส  ( u = 2F ) เกิดภาพอยู่หลังเลนส์ เป็น ภาพจริงหัวกลับ   ขนาดเท่าวัตถุ   ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์  2  เท่าของความยาวโฟกัส 2F การเขียนภาพ 1. เขียนรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญ  รังสีหักเหผ่านจุดโฟกัส 2. เขียนรังสีตกกระทบผ่านจุดศูนย์กลางความโค้ง รังสีหักเหอยู่แนวเดิม ***  รังสีทั้งสองตัดกันคือตำแหน่งภาพ 1 2
F 2F F วัตถุ วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่า  2  เท่า ของความยาวโฟกัส  ( u >2F ) เกิดภาพอยู่หลังเลนส์ เป็น ภาพจริงหัวกลับ   ขนาดเล็กกว่าวัตถุ   ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์  <  2  เท่าของความยาวโฟกัส 2F ภาพ ภาพ 1 2
F 2F F วัตถุ วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่า  1  เท่า ของความยาวโฟกัส  แต่ไม่ถึง  2  เท่าของความยาวโฟกัส  ( u >F<2F ) เกิดภาพอยู่หลังเลนส์ เป็น ภาพจริงหัวกลับ   ขนาดโตกว่าวัตถุ   ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์  > 2  เท่าของความยาวโฟกัส 2F ภาพ 2F 1 2
F 2F F วัตถุ วัตถุอยู่ที่จุดโฟกัส  ( u =F ) ไม่เกิดภาพ   หรือเกิดภาพที่ระยะอนันต์ 2F ภาพ
F 2F F วัตถุ ภาพ วัตถุอยู่ที่ระยะใกล้กว่าความยาวโฟกัส  ( u < F ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง   ขนาดโตกว่าวัตถุ   ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์  >   ความยาวโฟกัส 2F
F 2F F วัตถุอยู่ที่ระยะอนันต์  ( u =  ∞ ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์  เป็น ภาพจริง  ขนาดเล็กมากหรือเป็นจุด   อยู่ที่จุดโฟกัส  ดังนั้น ความยาวโฟกัสของเลนส์นูน จึงเป็นโฟกัสจริง  2F ภาพ
เลนส์เว้า  (concave lens) ลักษณะ    ตรงกลางเลนส์บางกว่าตรงขอบ    ด้านโค้งเว้ารับแสง  มีสมบัติกระจายแสงหักเห    ให้เฉพาะภาพเสมือน  ขนาดเล็กกว่าวัตถุ    ประโยชน์   ใช้ทำแว่นตาสำหรับ  คนสายตาสั้น  กล้องจุลทรรศน์  A  เลนส์เว้า  2  ด้าน B  เลนส์เว้าแกมระนาบ C  เลนส์เว้าแกมนูน A B C จากรูป
. . . . . F ส่วนประกอบของเลนส์เว้า AB   เส้นแกนมุขสำคัญ O  จุดกึ่งกลางเลนส์ MN  เส้นแบ่งครึ่งเลนส์ F  จุดโฟกัสเสมือน OC  รัศมีความโค้งของเลนส์ OF  ความยาวโฟกัส   รังสีตกกระทบ   รังสีหักเห A B O M N C
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากเลนส์เว้า โดยการเขียนรูปเมื่อวางวัตถุที่ระยะต่างๆ
วัตถุอยู่ที่ระยะ  2  เท่า ของความยาวโฟกัส  ( u = 2F ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง   ขนาดเล็กกว่าวัตถุ   ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์  <  ความยาวโฟกัส F 2F วัตถุ ภาพ การเขียนภาพ 1. เขียนรังสีตกกระทบขนานแกนมุขสำคัญ  รังสีหักเหเสมือนผ่านจุดโฟกัส 2. เขียนรังสีตกกระทบผ่านจุดศูนย์กลางเลนส์  รังสีหักเหจะอยู่ในแนวเดิม  ***  รังสีทั้งสองตัดกันคือตำแหน่งภาพ 1 2
วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่า  2  เท่า ของความยาวโฟกัส  ( u > 2F ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง   ขนาดเล็กกว่าวัตถุ   ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์  <  ความยาวโฟกัส F 2F
. . . . . เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง   ขนาดเล็กกว่าวัตถุ   ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์  <  ความยาวโฟกัส F 2F วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่า  1  เท่า ของความยาวโฟกัส  แต่ไม่ถึง  2  เท่าของความยาวโฟกัส  ( u >F<2F )
. . . . . วัตถุอยู่ที่ความยาวโฟกัส  ( u = F ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง   ขนาดเล็กกว่าวัตถุ   ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์  <  ความยาวโฟกัส F 2F
. . . . . วัตถุอยู่ที่ระยะใกล้กว่าความยาวโฟกัส  ( u < F ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง   ขนาดเล็กกว่าวัตถุ   ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์  <  ความยาวโฟกัส F 2F การเขียนภาพ 1. เขียนรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญ  รังสีหักเหเสมือนไปตัดที่โฟกัส 2. เขียนรังสีตกกระทบผ่านจุดศูนย์กลางเลนส์  รังสี หักเหกลับทางเดิม 1 1 2
. . . . . เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง   ขนาดเล็กกว่าวัตถุ   อยู่ที่จุดโฟกัส  ดังนั้น ความยาวโฟกัสของเลนส์จึงเป็นโฟกัสเสมือน F 2F วัตถุอยู่ที่ระยะ อนันต์  ( u =  ∞ ) ภาพ
สรุปการเกิดภาพกับเลนส์นูนเมื่อวางวัตถุที่ระยะต่างๆ ระยะวัตถุ ลักษณะภาพ ขนาดภาพ U  = ∞  ภาพจริง  หัวกลับ หลังเลนส์ เล็กเป็นจุด u < ∞ >2f ภาพจริง  หัวกลับ หลังเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ U  =  2f ภาพจริง  หัวกลับ หลังเลนส์ เท่าวัตถุ u > f < 2f ภาพจริง  หัวกลับ หลังเลนส์ โตกว่าวัตถุ u = f ภาพจริง  หัวกลับ หลังเลนส์ ไม่เกิดภาพ u < f ภาพเสมือน  หัวตั้ง  หน้าเลนส์ โตกว่าวัตถุ
สรุปการเกิดภาพกับเลนส์เว้าเมื่อวางวัตถุที่ระยะต่างๆ ระยะวัตถุ ลักษณะภาพ ขนาดภาพ U  = ∞  ภาพเสมือนหัวตั้ง  หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ u < ∞ >2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ U  =  2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ u > f < 2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ u = f ภาพเสมือนหัวตั้ง หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ u < f ภาพเสมือนหัวตั้ง หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ
การเกิดภาพบนกระจกโค้ง กระจกนูน กระจกเว้า
กระจกโค้งเว้า     หมายถึง  กระจกที่มีส่วนโค้งด้านเว้ารับแสง ทำหน้าที่ รวมของรังสีสะท้อน   ให้ภาพจริงหัวกลับ อยู่หน้ากระจก เอาฉากรับได้   กระจกโค้ง กระจกนูน  หมายถึง  กระจกที่มีส่วนโค้งด้านนูนรับแสง ทำหน้าที่ กระจายรังสีสะท้อน   ภาพเสมือนขนาดเล็กกว่าวัตถุ อยู่หลังกระจก หัวตั้งเหมือนวัตถุไม่สามารถเอาฉากรับได้
C   คือ  จุดศูนย์กลางความโค้ง O   คือ  ขั้วกระจก  F   คือ  จุดโฟกัส C  F  O   คือ  เส้นแกนมุขสำคัญ OF   คือ  ความยาวโฟกัส  R   คือ  รัศมีความโค้งของกระจก  =   2 f ก .  กระจกเว้า  ( รวมแสง ) ข . กระจกนูน  ( กระจายแสง ) ส่วนประกอบของกระจก
การสะท้อนแสงผ่านกระจกโค้ง จากรูป ก  จากรูป ข แสงขนานตกกระทบกระจกเว้า รังสีสะท้อน  แสงขนานตกระทบกระจกนูน  รังสีสะท้อนจะเสมือน จะตัดกันหน้ากระจก  เรียกว่า โฟกัสจริง  ไปตัดกันด้านหลังกระจก  เรียกว่า โฟกัสเสมือน  ก . กระจกเว้า ข . กระจกนูน
การเขียนภาพที่เกิดจากกระจกโค้ง กรณีที่วัตถุมีขนาด เขียนรังสีตกกระทบ  3  เส้น เส้นที่  1  เป็นรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญซึ่งต้องสะท้อนผ่านจุดโฟกัส เส้นที่  2  รังสีตกกระทบผ่านจุดโฟกัส รังสีสะท้อนขนานกับแกนมุขสำคัญ เส้นที่  3  รังสีตกกระทบผ่านจุกศูนย์กลางความโค้งจะสะท้อนกลับทางเดิม จุดตัดกันของรังสีสะท้อนทั้ง  3  เส้น คือ ภาพปลายของวัตถุนั้น **  ปกติเราเขียนรังสีเพียง  2  เส้นก็พอ และนิยมเขียนเส้นที่  1  กับ  3
F 2F Object Image เกิดภาพจริง  ขนาดเท่ากับวัตถุ  ที่ตำแหน่ง  2 F วัตถุอยู่ที่ระยะ  2  เท่าของความยาวโฟกัส  ( u = 2F ) กระจกเว้า ภาพที่เกิดจากกระจกเมื่อวางวัตถุไว้ที่ระยะต่างๆ กัน การเขียนภาพ 1. ลากรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญ  รังสีสะท้อนผ่านจุดโฟกัส 2. ลากรังสีตกกระทบผ่านจุดโฟกัส  รังสีสะท้อนขนานกับแกนมุขสำคัญ 1 2
F 2F Object Image เกิดภาพจริง  ขนาดเล็กว่าวัตถุ  ที่ตำแหน่ง  <  2 F วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่า  2  เท่า ของความยาวโฟกัส  ( u > 2F ) กระจกเว้า การเขียนภาพ 1. ลากรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญ  รังสีสะท้อนผ่านจุดโฟกัส 2. ลากรังสีตกกระทบผ่านจุดโฟกัส  รังสีสะท้อนขนานกับแกนมุขสำคัญ 1 2
F 2F Object Image เกิดภาพจริง  ขนาดโตกว่าวัตถุ  ที่ตำแหน่ง  >  2 F วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่าความยาวโฟกัส  แต่ไม่เกิน  2  เท่าของความยาวโฟกัส  ( u > F<2F ) กระจกเว้า 1 2
F 2F ไม่เกิดภาพ  หรือเกิดที่ระยะอนันต์ วัตถุอยู่ที่จุดโฟกัส  ( u = F ) Object กระจกเว้า การเขียนภาพ 1.  เขียนรังสีตกกระทบขนานแกนมุขสำคัญ  รังสีสะท้อนผ่านจุดโฟกัส 2.  รังสีตกกระทบผ่านจุดศูนย์กลางความโค้ง รังสีสะท้อนจะกลับแนวเดิม 1 2
F 2F เกิดภาพเสมือน   โตกว่าวัตถุ  อยู่หลังกระจก วัตถุอยู่ที่ระยะน้อยกว่าความยาวโฟกัส  ( u < F ) Object Image กระจกเว้า การเขียนภาพ 1. เขียนรังสีขนานกับแกนมุขสำคัญ  รังสีสะท้อนผ่านจุดโฟกัส 2. เขียนรังสีผ่านจุดศูนย์กลางความโค้ง  รังสีสะท้อนกลับทางเดิม
F 2F เกิดภาพจริง  เป็นจุดขนาดเล็ก  ที่จุด  F  เรียกว่า  โฟกัสจริง วัตถุอยู่ที่ระยะอนันต์  ( u =  ∞ ) กระจกเว้า Image
F 2F Object Image เกิดภาพเสมือน  ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ที่ตำแหน่ง  < F วัตถุอยู่ที่ระยะ  2  เท่าของความยาวโฟกัส  ( u = 2F ) กระจกนูน F 2F ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],1 2 ***
F 2F Object Image เกิดภาพเสมือน ขนาดเท่ากับวัตถุ  ที่ตำแหน่ง  2 F วัตถุอยู่ที่ระยะความยาวโฟกัส  ( u = F ) กระจกนูน F 2F 1 2 *** การเขียนภาพ 1. เขียนรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญ  รังสีสะท้อนเสมือนไปตัดที่จุดโฟกัส 2. เขียนรังสีตกกระทบผ่านจุดศูนย์กลางความโค้ง  สะท้อนกลับแนวเดิม
F 2F Object Image เกิดภาพเสมือน  ขนาดเล็กวัตถุ  ที่ตำแหน่ง  < F วัตถุอยู่ที่ระยะน้อยกว่าความยาวโฟกัส  ( u = < F ) กระจกนูน F 2F 1 2 ***
F 2F Image กระจกนูน F 2F วัตถุอยู่ที่ระยะอนันต์  ( u =  ∞ ) ภาพเสมือน   เป็นจุด  ที่หลังกระจก  เรียกว่าโฟกัสเสมือน
สรุปการเกิดภาพกับกระจกเว้าเมื่อวางวัตถุที่ระยะต่างๆ ระยะวัตถุ ลักษณะภาพ ขนาดภาพ U  = ∞  ภาพจริง  หัวกลับ หน้ากระจก เล็กเป็นจุด u < ∞ >2f ภาพจริง  หัวกลับ หน้ากระจก เล็กกว่าวัตถุ U  =  2f ภาพจริง  หัวกลับ หน้ากระจก เท่าวัตถุ u > f < 2f ภาพจริง  หัวกลับ หน้ากระจก โตกว่าวัตถุ u = f ภาพจริง  หัวกลับ หน้ากระจก ไม่เกิดภาพ u < f ภาพเสมือน  หัวตั้ง  หลังกระจก โตกว่าวัตถุ
สรุปการเกิดภาพกับกระจกนูนเมื่อวางวัตถุที่ระยะต่างๆ ระยะวัตถุ ลักษณะภาพ ขนาดภาพ U  = ∞  ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ u < ∞ >2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ U  =  2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ u > f < 2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ u = f ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ u < f ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ

More Related Content

What's hot

แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทานหน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทานkrupornpana55
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันwebsite22556
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุงkrupornpana55
 
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดโครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดPapatsorn Tangsermkit
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 

What's hot (20)

แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทานหน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
The criticism of art
The criticism of artThe criticism of art
The criticism of art
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดโครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 

Viewers also liked

การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงพัน พัน
 
การเขียนภาพกระจกนูน
การเขียนภาพกระจกนูนการเขียนภาพกระจกนูน
การเขียนภาพกระจกนูนsripai52
 
การเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้าการเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้าsripai52
 
การเขียนภาพเกี่ยวกับเลนส์
การเขียนภาพเกี่ยวกับเลนส์การเขียนภาพเกี่ยวกับเลนส์
การเขียนภาพเกี่ยวกับเลนส์Kaettichai Penwijit
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 

Viewers also liked (6)

การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
 
การเขียนภาพกระจกนูน
การเขียนภาพกระจกนูนการเขียนภาพกระจกนูน
การเขียนภาพกระจกนูน
 
การเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้าการเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้า
 
การเขียนภาพเกี่ยวกับเลนส์
การเขียนภาพเกี่ยวกับเลนส์การเขียนภาพเกี่ยวกับเลนส์
การเขียนภาพเกี่ยวกับเลนส์
 
Light 1
Light 1Light 1
Light 1
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 

Similar to Light[1]

ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phographyedtech29
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"kasidid20309
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์dnavaroj
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์netzad
 
เลนส์
เลนส์เลนส์
เลนส์kruruty
 

Similar to Light[1] (9)

Lesson13
Lesson13Lesson13
Lesson13
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
148
148148
148
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
เลนส์
เลนส์เลนส์
เลนส์
 

Light[1]

  • 1. จัดทำโดย นางสุนิศา โชติกลาง และ น ารีรัตน์ ฟักสมบูรณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสุรนารีวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต 1
  • 2.
  • 4. เลนส์นูน ( convex lens) ประโยชน์  ใช้ทำแว่นตาสำหรับคนสายตายาว ทำแว่นขยาย และเป็นส่วนประกอบของกล่องส่องทางไกล กล้องถ่ายรูป กล้องจุลทรรศน์ B A C ลักษณะ  ขอบเลนส์บางกว่าตรงกลาง  ด้านโค้งนูนรับแสง มีสมบัติรวมแสงหักเห  ให้ได้ทั้งภาพจริงและภาพเสมือน A เลนส์นูน 2 ด้าน B เลนส์นูนแกมระนาบ C เลนส์นูนแกมเว้า จากรูป
  • 5. ส่วนประกอบของเลนส์นูน A B F C O M N AB เส้นแกนมุขสำคัญ O จุดกึ่งกลางเลนส์ MN เส้นแบ่งครึ่งเลนส์ F จุดโฟกัส OC รัศมีความโค้งของเลนส์ OF ความยาวโฟกัส รังสีตกกระทบ รังสีหักเห
  • 6. F วัตถุ ภาพ 1. ลากเส้นแกนมุขสำคัญ เขียนเลนส์ที่ต้องการ แล้วกำหนดจุด F 2 . เขียนวัตถุที่ระยะที่ต้องการ 3. ลากรังสีจากจุดยอดของวัตถุให้ขนานกับเส้นแกนมุขสำคัญ ไปตกกระทบเลนส์ แล้วเขียนรังสีหักเหผ่านจุด F   4. ลากรังสีจากจุดยอดของวัตถุผ่านจุดกึ่งกลางเลนส์ ตำแหน่งที่รังสีนี้ตัดกับรังสีข้อ 3   คือ ตำแหน่งที่เกิดภาพ โดยจุดตัด คือ จุดยอดของภาพ การเขียนภาพที่เกิดจากเลนส์  
  • 8. F 2F F วัตถุ ภาพ วัตถุอยู่ที่ระยะ 2 เท่า ของความยาวโฟกัส ( u = 2F ) เกิดภาพอยู่หลังเลนส์ เป็น ภาพจริงหัวกลับ ขนาดเท่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ 2 เท่าของความยาวโฟกัส 2F การเขียนภาพ 1. เขียนรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญ รังสีหักเหผ่านจุดโฟกัส 2. เขียนรังสีตกกระทบผ่านจุดศูนย์กลางความโค้ง รังสีหักเหอยู่แนวเดิม *** รังสีทั้งสองตัดกันคือตำแหน่งภาพ 1 2
  • 9. F 2F F วัตถุ วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่า 2 เท่า ของความยาวโฟกัส ( u >2F ) เกิดภาพอยู่หลังเลนส์ เป็น ภาพจริงหัวกลับ ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ < 2 เท่าของความยาวโฟกัส 2F ภาพ ภาพ 1 2
  • 10. F 2F F วัตถุ วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่า 1 เท่า ของความยาวโฟกัส แต่ไม่ถึง 2 เท่าของความยาวโฟกัส ( u >F<2F ) เกิดภาพอยู่หลังเลนส์ เป็น ภาพจริงหัวกลับ ขนาดโตกว่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ > 2 เท่าของความยาวโฟกัส 2F ภาพ 2F 1 2
  • 11. F 2F F วัตถุ วัตถุอยู่ที่จุดโฟกัส ( u =F ) ไม่เกิดภาพ หรือเกิดภาพที่ระยะอนันต์ 2F ภาพ
  • 12. F 2F F วัตถุ ภาพ วัตถุอยู่ที่ระยะใกล้กว่าความยาวโฟกัส ( u < F ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดโตกว่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ > ความยาวโฟกัส 2F
  • 13. F 2F F วัตถุอยู่ที่ระยะอนันต์ ( u = ∞ ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพจริง ขนาดเล็กมากหรือเป็นจุด อยู่ที่จุดโฟกัส ดังนั้น ความยาวโฟกัสของเลนส์นูน จึงเป็นโฟกัสจริง 2F ภาพ
  • 14. เลนส์เว้า (concave lens) ลักษณะ  ตรงกลางเลนส์บางกว่าตรงขอบ  ด้านโค้งเว้ารับแสง มีสมบัติกระจายแสงหักเห  ให้เฉพาะภาพเสมือน ขนาดเล็กกว่าวัตถุ  ประโยชน์ ใช้ทำแว่นตาสำหรับ คนสายตาสั้น กล้องจุลทรรศน์ A เลนส์เว้า 2 ด้าน B เลนส์เว้าแกมระนาบ C เลนส์เว้าแกมนูน A B C จากรูป
  • 15. . . . . . F ส่วนประกอบของเลนส์เว้า AB เส้นแกนมุขสำคัญ O จุดกึ่งกลางเลนส์ MN เส้นแบ่งครึ่งเลนส์ F จุดโฟกัสเสมือน OC รัศมีความโค้งของเลนส์ OF ความยาวโฟกัส รังสีตกกระทบ รังสีหักเห A B O M N C
  • 17. วัตถุอยู่ที่ระยะ 2 เท่า ของความยาวโฟกัส ( u = 2F ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ < ความยาวโฟกัส F 2F วัตถุ ภาพ การเขียนภาพ 1. เขียนรังสีตกกระทบขนานแกนมุขสำคัญ รังสีหักเหเสมือนผ่านจุดโฟกัส 2. เขียนรังสีตกกระทบผ่านจุดศูนย์กลางเลนส์ รังสีหักเหจะอยู่ในแนวเดิม *** รังสีทั้งสองตัดกันคือตำแหน่งภาพ 1 2
  • 18. วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่า 2 เท่า ของความยาวโฟกัส ( u > 2F ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ < ความยาวโฟกัส F 2F
  • 19. . . . . . เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ < ความยาวโฟกัส F 2F วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่า 1 เท่า ของความยาวโฟกัส แต่ไม่ถึง 2 เท่าของความยาวโฟกัส ( u >F<2F )
  • 20. . . . . . วัตถุอยู่ที่ความยาวโฟกัส ( u = F ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ < ความยาวโฟกัส F 2F
  • 21. . . . . . วัตถุอยู่ที่ระยะใกล้กว่าความยาวโฟกัส ( u < F ) เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ห่างจากจุดกึ่งกลางเลนส์ < ความยาวโฟกัส F 2F การเขียนภาพ 1. เขียนรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญ รังสีหักเหเสมือนไปตัดที่โฟกัส 2. เขียนรังสีตกกระทบผ่านจุดศูนย์กลางเลนส์ รังสี หักเหกลับทางเดิม 1 1 2
  • 22. . . . . . เกิดภาพอยู่หน้าเลนส์ เป็น ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ อยู่ที่จุดโฟกัส ดังนั้น ความยาวโฟกัสของเลนส์จึงเป็นโฟกัสเสมือน F 2F วัตถุอยู่ที่ระยะ อนันต์ ( u = ∞ ) ภาพ
  • 23. สรุปการเกิดภาพกับเลนส์นูนเมื่อวางวัตถุที่ระยะต่างๆ ระยะวัตถุ ลักษณะภาพ ขนาดภาพ U = ∞ ภาพจริง หัวกลับ หลังเลนส์ เล็กเป็นจุด u < ∞ >2f ภาพจริง หัวกลับ หลังเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ U = 2f ภาพจริง หัวกลับ หลังเลนส์ เท่าวัตถุ u > f < 2f ภาพจริง หัวกลับ หลังเลนส์ โตกว่าวัตถุ u = f ภาพจริง หัวกลับ หลังเลนส์ ไม่เกิดภาพ u < f ภาพเสมือน หัวตั้ง หน้าเลนส์ โตกว่าวัตถุ
  • 24. สรุปการเกิดภาพกับเลนส์เว้าเมื่อวางวัตถุที่ระยะต่างๆ ระยะวัตถุ ลักษณะภาพ ขนาดภาพ U = ∞ ภาพเสมือนหัวตั้ง หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ u < ∞ >2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ U = 2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ u > f < 2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ u = f ภาพเสมือนหัวตั้ง หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ u < f ภาพเสมือนหัวตั้ง หน้าเลนส์ เล็กกว่าวัตถุ
  • 26. กระจกโค้งเว้า   หมายถึง กระจกที่มีส่วนโค้งด้านเว้ารับแสง ทำหน้าที่ รวมของรังสีสะท้อน ให้ภาพจริงหัวกลับ อยู่หน้ากระจก เอาฉากรับได้ กระจกโค้ง กระจกนูน หมายถึง กระจกที่มีส่วนโค้งด้านนูนรับแสง ทำหน้าที่ กระจายรังสีสะท้อน ภาพเสมือนขนาดเล็กกว่าวัตถุ อยู่หลังกระจก หัวตั้งเหมือนวัตถุไม่สามารถเอาฉากรับได้
  • 27. C คือ จุดศูนย์กลางความโค้ง O คือ ขั้วกระจก F คือ จุดโฟกัส C F O คือ เส้นแกนมุขสำคัญ OF คือ ความยาวโฟกัส R คือ รัศมีความโค้งของกระจก = 2 f ก . กระจกเว้า ( รวมแสง ) ข . กระจกนูน ( กระจายแสง ) ส่วนประกอบของกระจก
  • 28. การสะท้อนแสงผ่านกระจกโค้ง จากรูป ก จากรูป ข แสงขนานตกกระทบกระจกเว้า รังสีสะท้อน แสงขนานตกระทบกระจกนูน รังสีสะท้อนจะเสมือน จะตัดกันหน้ากระจก เรียกว่า โฟกัสจริง ไปตัดกันด้านหลังกระจก เรียกว่า โฟกัสเสมือน ก . กระจกเว้า ข . กระจกนูน
  • 29. การเขียนภาพที่เกิดจากกระจกโค้ง กรณีที่วัตถุมีขนาด เขียนรังสีตกกระทบ 3 เส้น เส้นที่ 1 เป็นรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญซึ่งต้องสะท้อนผ่านจุดโฟกัส เส้นที่ 2 รังสีตกกระทบผ่านจุดโฟกัส รังสีสะท้อนขนานกับแกนมุขสำคัญ เส้นที่ 3 รังสีตกกระทบผ่านจุกศูนย์กลางความโค้งจะสะท้อนกลับทางเดิม จุดตัดกันของรังสีสะท้อนทั้ง 3 เส้น คือ ภาพปลายของวัตถุนั้น ** ปกติเราเขียนรังสีเพียง 2 เส้นก็พอ และนิยมเขียนเส้นที่ 1 กับ 3
  • 30. F 2F Object Image เกิดภาพจริง ขนาดเท่ากับวัตถุ ที่ตำแหน่ง 2 F วัตถุอยู่ที่ระยะ 2 เท่าของความยาวโฟกัส ( u = 2F ) กระจกเว้า ภาพที่เกิดจากกระจกเมื่อวางวัตถุไว้ที่ระยะต่างๆ กัน การเขียนภาพ 1. ลากรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญ รังสีสะท้อนผ่านจุดโฟกัส 2. ลากรังสีตกกระทบผ่านจุดโฟกัส รังสีสะท้อนขนานกับแกนมุขสำคัญ 1 2
  • 31. F 2F Object Image เกิดภาพจริง ขนาดเล็กว่าวัตถุ ที่ตำแหน่ง < 2 F วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่า 2 เท่า ของความยาวโฟกัส ( u > 2F ) กระจกเว้า การเขียนภาพ 1. ลากรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญ รังสีสะท้อนผ่านจุดโฟกัส 2. ลากรังสีตกกระทบผ่านจุดโฟกัส รังสีสะท้อนขนานกับแกนมุขสำคัญ 1 2
  • 32. F 2F Object Image เกิดภาพจริง ขนาดโตกว่าวัตถุ ที่ตำแหน่ง > 2 F วัตถุอยู่ที่ระยะไกลกว่าความยาวโฟกัส แต่ไม่เกิน 2 เท่าของความยาวโฟกัส ( u > F<2F ) กระจกเว้า 1 2
  • 33. F 2F ไม่เกิดภาพ หรือเกิดที่ระยะอนันต์ วัตถุอยู่ที่จุดโฟกัส ( u = F ) Object กระจกเว้า การเขียนภาพ 1. เขียนรังสีตกกระทบขนานแกนมุขสำคัญ รังสีสะท้อนผ่านจุดโฟกัส 2. รังสีตกกระทบผ่านจุดศูนย์กลางความโค้ง รังสีสะท้อนจะกลับแนวเดิม 1 2
  • 34. F 2F เกิดภาพเสมือน โตกว่าวัตถุ อยู่หลังกระจก วัตถุอยู่ที่ระยะน้อยกว่าความยาวโฟกัส ( u < F ) Object Image กระจกเว้า การเขียนภาพ 1. เขียนรังสีขนานกับแกนมุขสำคัญ รังสีสะท้อนผ่านจุดโฟกัส 2. เขียนรังสีผ่านจุดศูนย์กลางความโค้ง รังสีสะท้อนกลับทางเดิม
  • 35. F 2F เกิดภาพจริง เป็นจุดขนาดเล็ก ที่จุด F เรียกว่า โฟกัสจริง วัตถุอยู่ที่ระยะอนันต์ ( u = ∞ ) กระจกเว้า Image
  • 36.
  • 37. F 2F Object Image เกิดภาพเสมือน ขนาดเท่ากับวัตถุ ที่ตำแหน่ง 2 F วัตถุอยู่ที่ระยะความยาวโฟกัส ( u = F ) กระจกนูน F 2F 1 2 *** การเขียนภาพ 1. เขียนรังสีตกกระทบขนานกับแกนมุขสำคัญ รังสีสะท้อนเสมือนไปตัดที่จุดโฟกัส 2. เขียนรังสีตกกระทบผ่านจุดศูนย์กลางความโค้ง สะท้อนกลับแนวเดิม
  • 38. F 2F Object Image เกิดภาพเสมือน ขนาดเล็กวัตถุ ที่ตำแหน่ง < F วัตถุอยู่ที่ระยะน้อยกว่าความยาวโฟกัส ( u = < F ) กระจกนูน F 2F 1 2 ***
  • 39. F 2F Image กระจกนูน F 2F วัตถุอยู่ที่ระยะอนันต์ ( u = ∞ ) ภาพเสมือน เป็นจุด ที่หลังกระจก เรียกว่าโฟกัสเสมือน
  • 40. สรุปการเกิดภาพกับกระจกเว้าเมื่อวางวัตถุที่ระยะต่างๆ ระยะวัตถุ ลักษณะภาพ ขนาดภาพ U = ∞ ภาพจริง หัวกลับ หน้ากระจก เล็กเป็นจุด u < ∞ >2f ภาพจริง หัวกลับ หน้ากระจก เล็กกว่าวัตถุ U = 2f ภาพจริง หัวกลับ หน้ากระจก เท่าวัตถุ u > f < 2f ภาพจริง หัวกลับ หน้ากระจก โตกว่าวัตถุ u = f ภาพจริง หัวกลับ หน้ากระจก ไม่เกิดภาพ u < f ภาพเสมือน หัวตั้ง หลังกระจก โตกว่าวัตถุ
  • 41. สรุปการเกิดภาพกับกระจกนูนเมื่อวางวัตถุที่ระยะต่างๆ ระยะวัตถุ ลักษณะภาพ ขนาดภาพ U = ∞ ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ u < ∞ >2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ U = 2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ u > f < 2f ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ u = f ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ u < f ภาพเสมือนหัวตั้ง หลังกระจก เล็กกว่าวัตถุ