SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
สถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย
                                   วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

                                                                                            กรมควบคุมมลพิษ
                                                                        กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
         จากผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นที่ภาคเหนือ ในวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ พบปริมาณฝุ่นละอองขนาด
ไม่เกิน ๑๐ ไมครอน (PM10) เฉลี่ย ๒๔ ชั่วโมง มีค่าระหว่าง ๗๖.๒ – ๒๓๗.๕ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร คุณภาพอากาศ
โดยรวมอยู่ในระดับปานกลางถึงมีผลกระทบต่อสุขภาพ
         กรมควบคุมมลพิ ษ ขอให้ห น่วยงานที่ เกี่ย วข้องดํ าเนิ นมาตรการลดและควบคุมการเผาในที่โล่ งอย่ างเร่ งด่ว น
โดยเฉพาะการงดการเผาริมทาง งดการเผาในพื้นที่ป่าและไฟป่า รวมถึงขอความร่วมมือจากประชาชนงดเผาขยะ เศษวัสดุ
การเกษตร และกิ่งไม้ใบหญ้า เป็นต้น เพื่อลดระดับความรุนแรงของสถานการณ์หมอกควันที่เกิดขึ้น

    ตารางที่ ๑ แสดงค่าเฉลี่ย ๒๔ ชั่วโมงของ PM10และ AQI ในภาคเหนือ ณ เวลา ๐๙.๐๐ น. วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕
                             สถานี                                  PM10*           AQI**            คุณภาพอากาศ
                สนง.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อ.เมือง          ๑๕๑.๗            ๑๑๔          มีผลกระทบต่อสุขภาพ
 เชียงราย
                สาธารณสุขแม่สาย อ.แม่สาย จ.เชียงราย                 ๑๗๒.๓            ๑๒๓          มีผลกระทบต่อสุขภาพ
                ศาลากลาง อ.เมือง จ.เชียงใหม่                                       เครื่องมือขัดข้อง
 เชียงใหม่
                โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อ.เมือง จ.เชียงใหม่          ๑๒๒.๔            ๑๐๑          มีผลกระทบต่อสุขภาพ
  ลําพูน        สนามกีฬา อบจ. อ.เมือง จ.ลําพูน                      ๑๘๐.๔            ๑๒๖          มีผลกระทบต่อสุขภาพ
                ศาลหลักเมือง อ.เมือง จ.ลําปาง                                     ระบบสื่อสารขัดข้อง
                สถานีอนามัยสบป้าด อ.แม่เมาะ จ.ลําปาง                               เครื่องมือขัดข้อง
  ลําปาง
                สถานีอนามัยท่าสี อ.แม่เมาะ จ.ลําปาง                 ๒๐๗.๐            ๑๓๘          มีผลกระทบต่อสุขภาพ
                สนง.การประปาส่วนภูมิภาคแม่เมาะ อ.แม่เมาะ            ๒๑๐.๒            ๑๓๙          มีผลกระทบต่อสุขภาพ
แม่ฮ่องสอน      สนง.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อ.เมือง          ๑๑๑.๗             ๙๕                ปานกลาง
   น่าน         สํานักงานเทศบาลเมืองน่าน อ.เมือง จ.น่าน             ๑๕๑.๗            ๑๑๔          มีผลกระทบต่อสุขภาพ
   แพร่         อุตุนิยมวิทยาแพร่ อ.เมือง จ.แพร่                    ๒๓๓.๒            ๑๔๙          มีผลกระทบต่อสุขภาพ
  พะเยา         อุทยานการเรียนรู้กว๊านพะเยา อ.เมือง จ.พะเยา         ๒๓๗.๕            ๑๕๑          มีผลกระทบต่อสุขภาพ
นครสวรรค์       วิทยาลัยอาชีวศึกษา อ.เมือง จ.นครสวรรค์               ๗๖.๒             ๗๓                ปานกลาง
           หมายเหตุ:   ค่ามาตรฐาน PM10 เฉลี่ย ๒๔ ชั่วโมง เท่ากับ ๑๒๐ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
                       * : หน่วยเป็นไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (μg/m3)
                       ** : ดัชนีคุณภาพอากาศ (Air Quality Index)
                                 ค่า AQI                 คุณภาพอากาศ
                                   ๐-๕๐                          ดี
                                ๕๑-๑๐๐                       ปานกลาง
                               ๑๐๑-๒๐๐                มีผลกระทบต่อสุขภาพ
                               ๒๐๑-๓๐๐              มีผลกระทบต่อสุขภาพมาก
                                  >๓๐๐                       อันตราย
รูปที่ ๑ แสดงตําแหน่งและจํานวน Hotspot ซึ่งแปลผลจากภาพถ่ายดาวเทียม NOAA-18 วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕




                แหล่งข้อมูล: เว็บไซต์ศูนย์เชี่ยวชาญด้านอุตุนิยมวิทยาแห่งอาเซียน ประเทศสิงคโปร์

             รูปที่ ๒ แสดงตําแหน่งและจํานวน Hotspot ทิศทางลม และการปกคลุมของหมอกควัน
                       ซึ่งแปลผลจากภาพถ่ายดาวเทียม NOAA-18 วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕




                แหล่งข้อมูล: เว็บไซต์ศูนย์เชี่ยวชาญด้านอุตุนิยมวิทยาแห่งอาเซียน ประเทศสิงคโปร์
                                                      ส่วนแผนงานและประมวลผล สํานักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง
                                                                                             กรมควบคุมมลพิษ
                                                                                          ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

More Related Content

More from sivapong klongpanich

โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก sivapong klongpanich
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55sivapong klongpanich
 
สถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ 25 ก.พ.55:
สถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ 25 ก.พ.55:สถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ 25 ก.พ.55:
สถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ 25 ก.พ.55:sivapong klongpanich
 
สังเคราะห์ปัญญาเพื่อพัฒนา R2R ปี 2554
สังเคราะห์ปัญญาเพื่อพัฒนา R2R ปี 2554สังเคราะห์ปัญญาเพื่อพัฒนา R2R ปี 2554
สังเคราะห์ปัญญาเพื่อพัฒนา R2R ปี 2554sivapong klongpanich
 
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่sivapong klongpanich
 
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่sivapong klongpanich
 
แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54
แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54
แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54sivapong klongpanich
 
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรคแผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรคsivapong klongpanich
 
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรคแผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรคsivapong klongpanich
 
บันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรัง
บันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรังบันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรัง
บันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรังsivapong klongpanich
 
ประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศ
ประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศ
ประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศsivapong klongpanich
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบsivapong klongpanich
 

More from sivapong klongpanich (20)

551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 
สถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ 25 ก.พ.55:
สถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ 25 ก.พ.55:สถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ 25 ก.พ.55:
สถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ 25 ก.พ.55:
 
สังเคราะห์ปัญญาเพื่อพัฒนา R2R ปี 2554
สังเคราะห์ปัญญาเพื่อพัฒนา R2R ปี 2554สังเคราะห์ปัญญาเพื่อพัฒนา R2R ปี 2554
สังเคราะห์ปัญญาเพื่อพัฒนา R2R ปี 2554
 
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่
 
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่
 
EGAT Heart Score
EGAT Heart ScoreEGAT Heart Score
EGAT Heart Score
 
แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54
แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54
แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54
 
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรคแผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
 
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรคแผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
 
EGAT Heart Score
EGAT Heart ScoreEGAT Heart Score
EGAT Heart Score
 
บันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรัง
บันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรังบันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรัง
บันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรัง
 
แผ่นพับ 3 อ.
แผ่นพับ 3 อ.แผ่นพับ 3 อ.
แผ่นพับ 3 อ.
 
Flu redcross01
Flu redcross01Flu redcross01
Flu redcross01
 
Data l3 100
Data l3 100Data l3 100
Data l3 100
 
Poster h1n1 03
Poster h1n1 03Poster h1n1 03
Poster h1n1 03
 
ประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศ
ประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศ
ประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศ
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบ
 

Northernhaze20120225

  • 1. สถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จากผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นที่ภาคเหนือ ในวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ พบปริมาณฝุ่นละอองขนาด ไม่เกิน ๑๐ ไมครอน (PM10) เฉลี่ย ๒๔ ชั่วโมง มีค่าระหว่าง ๗๖.๒ – ๒๓๗.๕ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร คุณภาพอากาศ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลางถึงมีผลกระทบต่อสุขภาพ กรมควบคุมมลพิ ษ ขอให้ห น่วยงานที่ เกี่ย วข้องดํ าเนิ นมาตรการลดและควบคุมการเผาในที่โล่ งอย่ างเร่ งด่ว น โดยเฉพาะการงดการเผาริมทาง งดการเผาในพื้นที่ป่าและไฟป่า รวมถึงขอความร่วมมือจากประชาชนงดเผาขยะ เศษวัสดุ การเกษตร และกิ่งไม้ใบหญ้า เป็นต้น เพื่อลดระดับความรุนแรงของสถานการณ์หมอกควันที่เกิดขึ้น ตารางที่ ๑ แสดงค่าเฉลี่ย ๒๔ ชั่วโมงของ PM10และ AQI ในภาคเหนือ ณ เวลา ๐๙.๐๐ น. วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ สถานี PM10* AQI** คุณภาพอากาศ สนง.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อ.เมือง ๑๕๑.๗ ๑๑๔ มีผลกระทบต่อสุขภาพ เชียงราย สาธารณสุขแม่สาย อ.แม่สาย จ.เชียงราย ๑๗๒.๓ ๑๒๓ มีผลกระทบต่อสุขภาพ ศาลากลาง อ.เมือง จ.เชียงใหม่ เครื่องมือขัดข้อง เชียงใหม่ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ๑๒๒.๔ ๑๐๑ มีผลกระทบต่อสุขภาพ ลําพูน สนามกีฬา อบจ. อ.เมือง จ.ลําพูน ๑๘๐.๔ ๑๒๖ มีผลกระทบต่อสุขภาพ ศาลหลักเมือง อ.เมือง จ.ลําปาง ระบบสื่อสารขัดข้อง สถานีอนามัยสบป้าด อ.แม่เมาะ จ.ลําปาง เครื่องมือขัดข้อง ลําปาง สถานีอนามัยท่าสี อ.แม่เมาะ จ.ลําปาง ๒๐๗.๐ ๑๓๘ มีผลกระทบต่อสุขภาพ สนง.การประปาส่วนภูมิภาคแม่เมาะ อ.แม่เมาะ ๒๑๐.๒ ๑๓๙ มีผลกระทบต่อสุขภาพ แม่ฮ่องสอน สนง.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อ.เมือง ๑๑๑.๗ ๙๕ ปานกลาง น่าน สํานักงานเทศบาลเมืองน่าน อ.เมือง จ.น่าน ๑๕๑.๗ ๑๑๔ มีผลกระทบต่อสุขภาพ แพร่ อุตุนิยมวิทยาแพร่ อ.เมือง จ.แพร่ ๒๓๓.๒ ๑๔๙ มีผลกระทบต่อสุขภาพ พะเยา อุทยานการเรียนรู้กว๊านพะเยา อ.เมือง จ.พะเยา ๒๓๗.๕ ๑๕๑ มีผลกระทบต่อสุขภาพ นครสวรรค์ วิทยาลัยอาชีวศึกษา อ.เมือง จ.นครสวรรค์ ๗๖.๒ ๗๓ ปานกลาง หมายเหตุ: ค่ามาตรฐาน PM10 เฉลี่ย ๒๔ ชั่วโมง เท่ากับ ๑๒๐ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร * : หน่วยเป็นไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (μg/m3) ** : ดัชนีคุณภาพอากาศ (Air Quality Index) ค่า AQI คุณภาพอากาศ ๐-๕๐ ดี ๕๑-๑๐๐ ปานกลาง ๑๐๑-๒๐๐ มีผลกระทบต่อสุขภาพ ๒๐๑-๓๐๐ มีผลกระทบต่อสุขภาพมาก >๓๐๐ อันตราย
  • 2. รูปที่ ๑ แสดงตําแหน่งและจํานวน Hotspot ซึ่งแปลผลจากภาพถ่ายดาวเทียม NOAA-18 วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ แหล่งข้อมูล: เว็บไซต์ศูนย์เชี่ยวชาญด้านอุตุนิยมวิทยาแห่งอาเซียน ประเทศสิงคโปร์ รูปที่ ๒ แสดงตําแหน่งและจํานวน Hotspot ทิศทางลม และการปกคลุมของหมอกควัน ซึ่งแปลผลจากภาพถ่ายดาวเทียม NOAA-18 วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ แหล่งข้อมูล: เว็บไซต์ศูนย์เชี่ยวชาญด้านอุตุนิยมวิทยาแห่งอาเซียน ประเทศสิงคโปร์ ส่วนแผนงานและประมวลผล สํานักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕