SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
อาลัยพนมรุ้ง อวสานความงามพันปี<br />quot;
ชาวบ้านที่นี่รัก ผูกพันและหวงแหนปราสาทหินพนมรุ้งมาก เมื่อเกิดเหตุอย่างนี้ขึ้นเขาก็เสียใจ สะเทือนความรู้สึกมาก อยากให้ทางการจับตัวคนร้ายที่ทำลายโบราณสถานมาดำเนินคดีให้เร็วที่สุดquot;
... <br />โกรธ แค้น หดหู่ เสียดาย เสียใจ... อาจจะน้อยไปถ้าเทียบกับความรู้สึกของคนไทยที่ทราบข่าวการขโมย-ลักลอบทำลายวัตถุและโบราณสถานสำคัญของประเทศ<br />เรื่องแรกเกิดขึ้นที่ อนุสาวรีย์สุนทรภู่ ต.กร่ำ อ.แกลง จ.ระยอง<br />ความที่สุนทรภู่ได้รับการยกย่องให้เป็นกวีเอกแห่งรัตนโกสินทร์ รัฐบาลยุค จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี จึงอนุมัติให้สร้างอนุสาวรีย์เป็นที่ระลึกถึงสุนทรภู่ขึ้น และ จอมพล ป. ก็ได้มาประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ เมื่อปลายปี 2498 แต่กว่าอนุสาวรีย์จะเป็นรูปเป็นร่าง จนสามารถทำพิธีเปิดได้ก็ล่วงเข้าไปปี 2513<br />รูปปั้นสุนทรภู่ พระอภัยมณี นางผีเสื้อสมุทร และนางเงือก ได้อาจารย์ศิลป์ พีระศรี ประติมากรมือเอก ช่วยทำหุ่นจำลอง แล้วกรมศิลปากรค่อยหล่อรูปตามนั้น อนุสาวรีย์สุนทรภู่เป็นแหล่งท่องเที่ยวของชาวระยองและนักท่องเที่ยวจากที่อื่นมานานหลายสิบปี แต่แล้ว 19 พฤษภาคม ที่ผ่านมาเหตุร้ายก็เกิดขึ้น!! เมื่อปี่ที่พระอภัยมณีเป่าอยู่นั้น หายไปจากมือของพระอภัยมณีเสียแล้ว ทันทีที่รู้ข่าว ชาวระยองและนักท่องเที่ยวต่างพากันโจษจัน... คนร้ายขโมยปี่พระอภัยฯไปขาย? หรือเพราะความมึนเมา-คึกคะนอง? โชคยังดีที่เพียงข้ามวันก็พบปี่พระอภัยมณีที่มีคนเอาไปซุกไว้ในกองขยะ แต่ยังต้องพิสูจน์ให้แน่ชัดว่าเป็นของจริงหรือไม่ <br />ความวัวยังไม่ทันหาย ความควายก็เข้าแทรก เหตุร้ายเกิดขึ้นเป็นครั้งที่ 2 เมื่อมีมือมืดลอบขึ้นไปทุบทำลายปราสาทหินพนมรุ้ง!! ก่อนหน้าเรื่องราวสะเทือนใจนี้ สักราวกลางเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา มีโอกาสแวะไป จ.บุรีรัมย์ และเป้าหมายหนึ่งที่ไม่ยอมพลาด คือ การเที่ยวปราสาทหินพนมรุ้ง ที่หลายคนเรียกขานกันว่า quot;
ปราสาทหินสีชมพูquot;
 ตามสีของหินทรายที่สร้าง แต่ละปีมีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติเข้าชมปราสาทหินพนมรุ้งถึงปีละกว่า 500,000 คน!! เดินเข้าสู่ปราสาทหินพนมรุ้งในวันที่ท้องฟ้ามืดครึ้ม แต่ยังดีที่ไม่มีฝนโปรยปรายลงมาให้เป็นอุปสรรค กรรณิการ์ เปรมใจ นักโบราณคดีประจำอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง เล่าความเป็นมาของปราสาทหินแห่งนี้ให้ฟังว่า สร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 15-18 โดยกษัตริย์ขอม อาทิ พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 3 พระเจ้าชัยวรมันที่ 5 เป็นต้น ตามคติศาสนาฮินดู ลัทธิไศวนิกาย คือ บูชาพระศิวะ ตั้งอยู่บนยอดภูเขาไฟที่ดับแล้ว สูงจากระดับน้ำทะเล 1,320 ฟุต จุดเด่นของปราสาทหินพนมรุ้ง คือ เศียรนาคราช แผ่พังพาน บางคนเรียกว่านาคสวมมงกุฎ เป็นศิลปะแบบเดียวกับนครวัด ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ ที่หากยังจำกันได้ ทับหลังนี้เคยถูกขโมยไปจากปราสาทหินพนมรุ้งครั้งหนึ่ง กระทั่งมีผู้ไปพบอยู่ที่สหรัฐอเมริกา นำสู่กระแสเรียกร้องทวงคืนสมบัติชาติ จนสหรัฐต้องส่งมอบทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์คืนให้ทางการไทย ในปลายปี 2531 และ quot;
ศิวลึงค์quot;
 สัญลักษณ์ของพระศิวะ ประดิษฐานอยู่ในห้องครรภคฤหะ ในปรางค์ประธาน น่าเสียดายและน่าเสียใจ ความงามที่เห็นบางส่วนนั้นกลายเป็นอดีตไปเสียแล้ว <br />เพราะเมื่อเช้ามืดวันที่ 20 พฤษภาคม มีผู้พบว่า นาคราวสะพาน ที่อยู่ตรงสะพานนาคราชถูกทุบมงกุฎ จมูก และปาก ไปถึง 10 กว่าตัว จมูกและปากของ โคนนทิ พาหนะของพระศิวะแหว่งวิ่น สิงห์ทวารบาลด้านทิศตะวันตกของปราสาททั้ง 2 ตัวถูกทุบที่ปาก <br />ยังไม่พอ... ทวารบาล ประจำทิศใต้ถูกทำร้ายบริเวณแขนและมือ มีการนำมือของทวารบาลไปไว้ที่สะพานนาคราชชั้นที่ 1 จำนวน 1 ข้าง และที่สะพานนาคราชชั้นที่ 2 อีก 1 ข้าง ส่วน ศิวลึงค์ ถูกเคลื่อนย้ายจากฐานที่ตั้งไปอยู่ในร่องน้ำมนต์ แม้บางอย่างจะทำจำลองขึ้นใหม่เมื่อไม่กี่สิบปีมานี้ แต่บางอย่างโดยเฉพาะ quot;
นาคquot;
 หลายตัวยืนหยัดผ่านกาลเวลามานับพันปี จึงเห็นชาวบ้านหลายคนร้องไห้ด้วยความเสียใจ ขณะที่หลายคนถึงขั้นก่นด่าและสาปแช่งผู้กระทำ!!<br />หลังเหตุการณ์ มีการสันนิษฐานไว้หลายประเด็น อาทิ การเสียผลประโยชน์ เพราะก่อนหน้ามีการขอใช้ปราสาทหินพนมรุ้งเป็นที่ปลุกเสกวัตถุมงคล แต่ทางอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งไม่อนุญาต รวมถึงการเสียผลประโยชน์ของร้านค้าในพื้นที่ ประเด็นวัยรุ่นคึกคะนอง ประเด็นความขัดแย้งภายในองค์กร ไม่เว้นกระทั่งประเด็นไสยศาสตร์ quot;
ชาวบ้านที่นี่รัก ผูกพันและหวงแหนปราสาทหินพนมรุ้งมาก เมื่อเกิดเหตุอย่างนี้ขึ้นเขาก็เสียใจ สะเทือนความรู้สึกมาก อยากให้ทางการจับตัวคนร้ายที่ทำลายโบราณสถานมาดำเนินคดีให้เร็วที่สุดquot;
 ดุสิต ทุมมากรณ์ หัวหน้าอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งบอก<br />แล้วเล่าถึงเหตุการณ์ทำลายโบราณสถานว่า มีบ้างที่เมื่อนักท่องเที่ยวไปเที่ยวชมโบราณสถานแล้วจะฝากร่องรอยไว้ อยู่ในรูปของการสลักชื่อตนเองไว้บนอิฐ บนเจดีย์ หนักหน่อยก็หยิบเศษอิฐ เศษกระเบื้องกลับไปเป็นที่ระลึก สร้างความปวดเศียรเวียนเกล้าให้กับเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง แต่ที่ถึงขั้นทุบทำลายโบราณวัตถุ-โบราณสถาน หัวหน้าอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งบอกว่า เท่าที่ทราบไม่เคยมีปรากฏมาก่อน ครั้งนี้ถือว่าร้ายแรงมากที่สุด เจ้าหน้าที่เองเห็นแล้วก็เสียใจที่โบราณสถานสำคัญของชาติถูกทำลาย <br />quot;
หลังเกิดเหตุได้มีการประชุม เพื่อซ่อมแซมส่วนที่เสียหาย ตอนนี้เริ่มทำการซ่อมแซมแล้ว อย่างสิงห์ ทวารบาล โคนนทิ แล้วค่อยซ่อมแซมเศียรนาคquot;
 ดุสิตเล่า<br />ด้าน เกรียงไกร สัมปัชชลิต อธิบดีกรมศิลปากร ก็มีนโยบายป้องกันโบราณวัตถุ-โบราณสถานถูกทำลาย ด้วยการมอบหมายให้สำนักศิลปากรทั่วประเทศแจ้งรายชื่อโบราณสถานที่มีอยู่ในเขตรับผิดชอบให้บรรดาอาสาสมัครเฝ้าระวังโบราณสถานได้ทราบ เพื่อช่วยกันเป็นหูเป็นตา<br />quot;
ตอนนี้ได้สั่งให้มีการรักษาความปลอดภัยมากขึ้นที่ปราสาทหินพนมรุ้ง เพื่อป้องกันการเกิดเหตุซ้ำสอง แต่โบราณสถานอื่นก็ไม่ทิ้ง ต้องดูแลด้วย อย่างอุทยานประวัติศาสตร์ที่อยุธยา สุโขทัย ศรีสัชนาลัย ฯลฯquot;
 อธิบดีกรมศิลปากรบอก<br />คงเป็นอีกครั้งที่ต้องบอกกล่าวกันว่า... โบราณสถานไม่ได้อยู่ยืนยงด้วยการดูแลของเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องแต่เพียงส่วนเดียว แต่โบราณสถานของชาติจะอยู่ได้ก็ด้วยประชาชนทุกคนช่วยกันดูแลรักษา โบราณสถานเสี่ยงแผ่นดินไหว <br />ใช่ว่าโบราณสถานจะถูกทำลายด้วยน้ำมือมนุษย์เพียงอย่างเดียว แต่ยังถูกทำลายด้วยน้ำมือธรรมชาติได้ด้วย<br />ธราพงศ์ ศรีสุชาติ ผู้อำนวยการสำนักโบราณคดี กรมศิลปากร ให้ข้อมูลว่า จากการทำงานประสานกันระหว่างกรมศิลปากรกับกรมทรัพยากรธรณี พบว่าโบราณสถานเสี่ยงภัยแผ่นดินไหวในประเทศไทย ได้แก่โบราณสถานที่อยู่ในเขตรอยเลื่อนดังนี้<br />รอยเลื่อนแม่จัน รอยเลื่อนแม่ฮ่องสอน รอยเลื่อนแม่ทา รอยเลื่อนแม่อิง รอยเลื่อนพะเยา รอยเลื่อนปัว รอยเลื่อนแม่ยม รอยเลื่อนเถิน รอยเลื่อนอุตรดิตถ์ รอยเลื่อนเมย รอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ รอยเลื่อนท่าแขก รอยเลื่อนระนอง และ รอยเลื่อนคลองมะรุ่ย<br />ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้น มีทั้งแผ่นดินเกิดการแยกตัว แผ่นดินเกิดการลื่นไหล คือ ดิน หิน หรือพืชที่ปกคลุมบริเวณนั้นเลื่อนถล่มลงมาทับโบราณสถาน แผ่นดินเกิดการอ่อนตัว และการเกิดคลื่นสึนามิ ซัดถล่มโบราณสถานใกล้ชายฝั่ง<br />โบราณสถานอยู่ห่างจากรอยเลื่อนเปลือกโลกในรัศมี 5 กิโลเมตร อยู่ใน 8 จังหวัด จำนวน 44 แห่ง อาทิ เมืองโบราณเมืองเชียงแสน จ.เชียงราย เมืองโบราณบ้านวัดพระธาตุจอมพริก จ.น่าน จวนผู้ว่าราชการจังหวัดหลังเก่า จ.นครพนม พระเจดีย์สามองค์ จ.กาญจนบุรี วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร จ.สุราษฎร์ธานี เป็นต้น<br />โบราณสถานอยู่ห่างจากรอยเลื่อนเปลือกโลกในรัศมี 10 กิโลเมตร อยู่ใน 10 จังหวัด จำนวน 75 แห่ง เช่น วัดพระธาตุดอยสุเทพ จ.เชียงใหม่ วัดพระธาตุจอมกิติ จ.เชียงราย พระธาตุศรีดอนคำ จ.แพร่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติไชย จ.สุราษฎร์ธานี เป็นต้น<br />โบราณสถานอยู่ห่างจากรอยเลื่อนเปลือกโลกในรัศมี 20 กิโลเมตร อยู่ใน 14 จังหวัด จำนวน 178 แห่ง มีอย่าง วัดเจดีย์หลวง วัดพันเตา วัดปราสาท วัดพระสิงห์วรวิหาร จ.เชียงใหม่ วัดพระแก้ว จ.เชียงราย วัดภูมินทร์ จ.น่าน วัดพระธาตุจอมทอง จ.พะเยา วัดพระธาตุหริภุญไชย จ.ลำพูน มาลิกเจดีย์ เกาะมัดโพน จ.ชุมพร ควนพระเหนอ จ.พังงา เป็นต้น <br />http://hilight.kapook.com/view/24535<br />
บทความ
บทความ
บทความ

More Related Content

Featured

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

บทความ

  • 1. อาลัยพนมรุ้ง อวสานความงามพันปี<br />quot; ชาวบ้านที่นี่รัก ผูกพันและหวงแหนปราสาทหินพนมรุ้งมาก เมื่อเกิดเหตุอย่างนี้ขึ้นเขาก็เสียใจ สะเทือนความรู้สึกมาก อยากให้ทางการจับตัวคนร้ายที่ทำลายโบราณสถานมาดำเนินคดีให้เร็วที่สุดquot; ... <br />โกรธ แค้น หดหู่ เสียดาย เสียใจ... อาจจะน้อยไปถ้าเทียบกับความรู้สึกของคนไทยที่ทราบข่าวการขโมย-ลักลอบทำลายวัตถุและโบราณสถานสำคัญของประเทศ<br />เรื่องแรกเกิดขึ้นที่ อนุสาวรีย์สุนทรภู่ ต.กร่ำ อ.แกลง จ.ระยอง<br />ความที่สุนทรภู่ได้รับการยกย่องให้เป็นกวีเอกแห่งรัตนโกสินทร์ รัฐบาลยุค จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี จึงอนุมัติให้สร้างอนุสาวรีย์เป็นที่ระลึกถึงสุนทรภู่ขึ้น และ จอมพล ป. ก็ได้มาประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ เมื่อปลายปี 2498 แต่กว่าอนุสาวรีย์จะเป็นรูปเป็นร่าง จนสามารถทำพิธีเปิดได้ก็ล่วงเข้าไปปี 2513<br />รูปปั้นสุนทรภู่ พระอภัยมณี นางผีเสื้อสมุทร และนางเงือก ได้อาจารย์ศิลป์ พีระศรี ประติมากรมือเอก ช่วยทำหุ่นจำลอง แล้วกรมศิลปากรค่อยหล่อรูปตามนั้น อนุสาวรีย์สุนทรภู่เป็นแหล่งท่องเที่ยวของชาวระยองและนักท่องเที่ยวจากที่อื่นมานานหลายสิบปี แต่แล้ว 19 พฤษภาคม ที่ผ่านมาเหตุร้ายก็เกิดขึ้น!! เมื่อปี่ที่พระอภัยมณีเป่าอยู่นั้น หายไปจากมือของพระอภัยมณีเสียแล้ว ทันทีที่รู้ข่าว ชาวระยองและนักท่องเที่ยวต่างพากันโจษจัน... คนร้ายขโมยปี่พระอภัยฯไปขาย? หรือเพราะความมึนเมา-คึกคะนอง? โชคยังดีที่เพียงข้ามวันก็พบปี่พระอภัยมณีที่มีคนเอาไปซุกไว้ในกองขยะ แต่ยังต้องพิสูจน์ให้แน่ชัดว่าเป็นของจริงหรือไม่ <br />ความวัวยังไม่ทันหาย ความควายก็เข้าแทรก เหตุร้ายเกิดขึ้นเป็นครั้งที่ 2 เมื่อมีมือมืดลอบขึ้นไปทุบทำลายปราสาทหินพนมรุ้ง!! ก่อนหน้าเรื่องราวสะเทือนใจนี้ สักราวกลางเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา มีโอกาสแวะไป จ.บุรีรัมย์ และเป้าหมายหนึ่งที่ไม่ยอมพลาด คือ การเที่ยวปราสาทหินพนมรุ้ง ที่หลายคนเรียกขานกันว่า quot; ปราสาทหินสีชมพูquot; ตามสีของหินทรายที่สร้าง แต่ละปีมีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติเข้าชมปราสาทหินพนมรุ้งถึงปีละกว่า 500,000 คน!! เดินเข้าสู่ปราสาทหินพนมรุ้งในวันที่ท้องฟ้ามืดครึ้ม แต่ยังดีที่ไม่มีฝนโปรยปรายลงมาให้เป็นอุปสรรค กรรณิการ์ เปรมใจ นักโบราณคดีประจำอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง เล่าความเป็นมาของปราสาทหินแห่งนี้ให้ฟังว่า สร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 15-18 โดยกษัตริย์ขอม อาทิ พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 3 พระเจ้าชัยวรมันที่ 5 เป็นต้น ตามคติศาสนาฮินดู ลัทธิไศวนิกาย คือ บูชาพระศิวะ ตั้งอยู่บนยอดภูเขาไฟที่ดับแล้ว สูงจากระดับน้ำทะเล 1,320 ฟุต จุดเด่นของปราสาทหินพนมรุ้ง คือ เศียรนาคราช แผ่พังพาน บางคนเรียกว่านาคสวมมงกุฎ เป็นศิลปะแบบเดียวกับนครวัด ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ ที่หากยังจำกันได้ ทับหลังนี้เคยถูกขโมยไปจากปราสาทหินพนมรุ้งครั้งหนึ่ง กระทั่งมีผู้ไปพบอยู่ที่สหรัฐอเมริกา นำสู่กระแสเรียกร้องทวงคืนสมบัติชาติ จนสหรัฐต้องส่งมอบทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์คืนให้ทางการไทย ในปลายปี 2531 และ quot; ศิวลึงค์quot; สัญลักษณ์ของพระศิวะ ประดิษฐานอยู่ในห้องครรภคฤหะ ในปรางค์ประธาน น่าเสียดายและน่าเสียใจ ความงามที่เห็นบางส่วนนั้นกลายเป็นอดีตไปเสียแล้ว <br />เพราะเมื่อเช้ามืดวันที่ 20 พฤษภาคม มีผู้พบว่า นาคราวสะพาน ที่อยู่ตรงสะพานนาคราชถูกทุบมงกุฎ จมูก และปาก ไปถึง 10 กว่าตัว จมูกและปากของ โคนนทิ พาหนะของพระศิวะแหว่งวิ่น สิงห์ทวารบาลด้านทิศตะวันตกของปราสาททั้ง 2 ตัวถูกทุบที่ปาก <br />ยังไม่พอ... ทวารบาล ประจำทิศใต้ถูกทำร้ายบริเวณแขนและมือ มีการนำมือของทวารบาลไปไว้ที่สะพานนาคราชชั้นที่ 1 จำนวน 1 ข้าง และที่สะพานนาคราชชั้นที่ 2 อีก 1 ข้าง ส่วน ศิวลึงค์ ถูกเคลื่อนย้ายจากฐานที่ตั้งไปอยู่ในร่องน้ำมนต์ แม้บางอย่างจะทำจำลองขึ้นใหม่เมื่อไม่กี่สิบปีมานี้ แต่บางอย่างโดยเฉพาะ quot; นาคquot; หลายตัวยืนหยัดผ่านกาลเวลามานับพันปี จึงเห็นชาวบ้านหลายคนร้องไห้ด้วยความเสียใจ ขณะที่หลายคนถึงขั้นก่นด่าและสาปแช่งผู้กระทำ!!<br />หลังเหตุการณ์ มีการสันนิษฐานไว้หลายประเด็น อาทิ การเสียผลประโยชน์ เพราะก่อนหน้ามีการขอใช้ปราสาทหินพนมรุ้งเป็นที่ปลุกเสกวัตถุมงคล แต่ทางอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งไม่อนุญาต รวมถึงการเสียผลประโยชน์ของร้านค้าในพื้นที่ ประเด็นวัยรุ่นคึกคะนอง ประเด็นความขัดแย้งภายในองค์กร ไม่เว้นกระทั่งประเด็นไสยศาสตร์ quot; ชาวบ้านที่นี่รัก ผูกพันและหวงแหนปราสาทหินพนมรุ้งมาก เมื่อเกิดเหตุอย่างนี้ขึ้นเขาก็เสียใจ สะเทือนความรู้สึกมาก อยากให้ทางการจับตัวคนร้ายที่ทำลายโบราณสถานมาดำเนินคดีให้เร็วที่สุดquot; ดุสิต ทุมมากรณ์ หัวหน้าอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งบอก<br />แล้วเล่าถึงเหตุการณ์ทำลายโบราณสถานว่า มีบ้างที่เมื่อนักท่องเที่ยวไปเที่ยวชมโบราณสถานแล้วจะฝากร่องรอยไว้ อยู่ในรูปของการสลักชื่อตนเองไว้บนอิฐ บนเจดีย์ หนักหน่อยก็หยิบเศษอิฐ เศษกระเบื้องกลับไปเป็นที่ระลึก สร้างความปวดเศียรเวียนเกล้าให้กับเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง แต่ที่ถึงขั้นทุบทำลายโบราณวัตถุ-โบราณสถาน หัวหน้าอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งบอกว่า เท่าที่ทราบไม่เคยมีปรากฏมาก่อน ครั้งนี้ถือว่าร้ายแรงมากที่สุด เจ้าหน้าที่เองเห็นแล้วก็เสียใจที่โบราณสถานสำคัญของชาติถูกทำลาย <br />quot; หลังเกิดเหตุได้มีการประชุม เพื่อซ่อมแซมส่วนที่เสียหาย ตอนนี้เริ่มทำการซ่อมแซมแล้ว อย่างสิงห์ ทวารบาล โคนนทิ แล้วค่อยซ่อมแซมเศียรนาคquot; ดุสิตเล่า<br />ด้าน เกรียงไกร สัมปัชชลิต อธิบดีกรมศิลปากร ก็มีนโยบายป้องกันโบราณวัตถุ-โบราณสถานถูกทำลาย ด้วยการมอบหมายให้สำนักศิลปากรทั่วประเทศแจ้งรายชื่อโบราณสถานที่มีอยู่ในเขตรับผิดชอบให้บรรดาอาสาสมัครเฝ้าระวังโบราณสถานได้ทราบ เพื่อช่วยกันเป็นหูเป็นตา<br />quot; ตอนนี้ได้สั่งให้มีการรักษาความปลอดภัยมากขึ้นที่ปราสาทหินพนมรุ้ง เพื่อป้องกันการเกิดเหตุซ้ำสอง แต่โบราณสถานอื่นก็ไม่ทิ้ง ต้องดูแลด้วย อย่างอุทยานประวัติศาสตร์ที่อยุธยา สุโขทัย ศรีสัชนาลัย ฯลฯquot; อธิบดีกรมศิลปากรบอก<br />คงเป็นอีกครั้งที่ต้องบอกกล่าวกันว่า... โบราณสถานไม่ได้อยู่ยืนยงด้วยการดูแลของเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องแต่เพียงส่วนเดียว แต่โบราณสถานของชาติจะอยู่ได้ก็ด้วยประชาชนทุกคนช่วยกันดูแลรักษา โบราณสถานเสี่ยงแผ่นดินไหว <br />ใช่ว่าโบราณสถานจะถูกทำลายด้วยน้ำมือมนุษย์เพียงอย่างเดียว แต่ยังถูกทำลายด้วยน้ำมือธรรมชาติได้ด้วย<br />ธราพงศ์ ศรีสุชาติ ผู้อำนวยการสำนักโบราณคดี กรมศิลปากร ให้ข้อมูลว่า จากการทำงานประสานกันระหว่างกรมศิลปากรกับกรมทรัพยากรธรณี พบว่าโบราณสถานเสี่ยงภัยแผ่นดินไหวในประเทศไทย ได้แก่โบราณสถานที่อยู่ในเขตรอยเลื่อนดังนี้<br />รอยเลื่อนแม่จัน รอยเลื่อนแม่ฮ่องสอน รอยเลื่อนแม่ทา รอยเลื่อนแม่อิง รอยเลื่อนพะเยา รอยเลื่อนปัว รอยเลื่อนแม่ยม รอยเลื่อนเถิน รอยเลื่อนอุตรดิตถ์ รอยเลื่อนเมย รอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ รอยเลื่อนท่าแขก รอยเลื่อนระนอง และ รอยเลื่อนคลองมะรุ่ย<br />ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้น มีทั้งแผ่นดินเกิดการแยกตัว แผ่นดินเกิดการลื่นไหล คือ ดิน หิน หรือพืชที่ปกคลุมบริเวณนั้นเลื่อนถล่มลงมาทับโบราณสถาน แผ่นดินเกิดการอ่อนตัว และการเกิดคลื่นสึนามิ ซัดถล่มโบราณสถานใกล้ชายฝั่ง<br />โบราณสถานอยู่ห่างจากรอยเลื่อนเปลือกโลกในรัศมี 5 กิโลเมตร อยู่ใน 8 จังหวัด จำนวน 44 แห่ง อาทิ เมืองโบราณเมืองเชียงแสน จ.เชียงราย เมืองโบราณบ้านวัดพระธาตุจอมพริก จ.น่าน จวนผู้ว่าราชการจังหวัดหลังเก่า จ.นครพนม พระเจดีย์สามองค์ จ.กาญจนบุรี วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร จ.สุราษฎร์ธานี เป็นต้น<br />โบราณสถานอยู่ห่างจากรอยเลื่อนเปลือกโลกในรัศมี 10 กิโลเมตร อยู่ใน 10 จังหวัด จำนวน 75 แห่ง เช่น วัดพระธาตุดอยสุเทพ จ.เชียงใหม่ วัดพระธาตุจอมกิติ จ.เชียงราย พระธาตุศรีดอนคำ จ.แพร่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติไชย จ.สุราษฎร์ธานี เป็นต้น<br />โบราณสถานอยู่ห่างจากรอยเลื่อนเปลือกโลกในรัศมี 20 กิโลเมตร อยู่ใน 14 จังหวัด จำนวน 178 แห่ง มีอย่าง วัดเจดีย์หลวง วัดพันเตา วัดปราสาท วัดพระสิงห์วรวิหาร จ.เชียงใหม่ วัดพระแก้ว จ.เชียงราย วัดภูมินทร์ จ.น่าน วัดพระธาตุจอมทอง จ.พะเยา วัดพระธาตุหริภุญไชย จ.ลำพูน มาลิกเจดีย์ เกาะมัดโพน จ.ชุมพร ควนพระเหนอ จ.พังงา เป็นต้น <br />http://hilight.kapook.com/view/24535<br />