SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
โครงงานคอมพิวเตอร์ การเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ 
เรื่องระบบปฏิบัติการ 
ผู้จัดทา 
นางสาว ภาวินี คา ภักดี เลขที่ 16 
นางสาว สุดารัตน ์ ชิณวัง เลขที่ 21 
นางสาว ปราณปรียา นามแดง เลขที่ 11 
สอนโดย 
อาจารย์ ธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์ 
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา 2204-2002 
ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ 
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น 
ปีการศึกษา 2557
เรื่อง ระบบปฏิบัติการ 
ประเภทโครงงาน โครงงานสื่อการศึกษา 
ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ 
โดย นางสาว ภาวินี คา ภักดี เลขที่ 16 
นางสาว สุดารัตน์ ชิณวัง เลขที่ 21 
นางสาว ปราณปรียา นามแดง เลขที่ 11 
สถานศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น 
สังกัด สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 
ครูที่ปรึกษา นาง ธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์ 
ปีการศึกษา 2557 
บทคัดย่อ 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของราย วิชาระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา 2204-2002 
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยมีจุดประสงค์ เพื่อศึกษาการใช้ระบบปฏิบัติการ เพื่อใช้เป็นสื่อในการศึกษา ให้กับผู้ที่สนใจ 
เรื่องระบบปฏิบัติการ 
ผลการเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ ใน www.blogger.com ประกอบด้วย วิชาระบบปฏิบัติการ 
วิชาประมวลผลคา วิชาคอมพิวเตอร์สารสนเทศ และผลการประเมินของการเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ 
มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับดี (ค่าเฉลี่ย = 2.9)
กิตติกรรมประกาศ 
โครงงานนี้สา เร็จได้ด้วยความกรุณา อาจารย์ ธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์ อาจารย์ประจา วิชาระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 
ที่ให้คา ปรึกษาในการแก้ไขและปรับปรุงโครงงานให้สา เร็จเป็นอย่างสูง
สารบัญ 
เรื่อง หน้า 
กิตติกรรมประกาศ ก 
บทคัดย่อ ข 
สารบัญ ค 
บทที่ 1 บทนา 1 
ที่มาและความสา คัญ 1 
วัตถุประสงค์ 1 
ขอบเขตการศึกษา 1 
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2 
ความสา คัญของระบบปฏิบัติการ 2 
ข้อมูลเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ 2 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 5 
บทที่ 3 อุปกรณ์และการดา เนินการ 7 
วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือการใช้ระบบปฏิบัติการ 7 
บทที่ 4 ผลการดา เนินโครงงาน 12 
ผลการใช้ระบบปฏิบัติการ 13 
บทที่ 5สรุปผลการดา เนินงานและข้อเสนอแนะ 17
บทที่ 1 บทนา 
ที่มาและความสาคัญ 
ถ้ามีรถยนต์อยู่แต่ขับรถยนต์ไม่เป็น รถยนต์คันดังกล่าวก็จะไม่มีประโยชน์อะไรเลย คอมพิวเตอร์ก็เช่นเดียวกัน 
ถึงแม้ว่าจะมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพมากเพียงใดก็ตาม 
ถ้าหากเครื่องคอมพิวเตอร์ดังกล่าวไม่มีระบบปฏิบัติการคอยควบคุมการทา งาน ซึ่งเปรียบได้กับรถยนต์ที่ไม่มีคนขับ 
เครื่องคอมพิวเตอร์ดังกล่าวก็จะไม่มีประโยชน์เลย 
ดังนั้นระบบปฏิบัติการจึงมีความสา คัญเปรียบเสมือนกับคนขับรถยนต์ที่จะต้องคอยควบคุมรถให้เดินทางไปถึงที่หมายอย่างถู 
กต้อง และปลอดภัย ระบบปฏิบัติการก็จะต้องควบคุมการทา งานของคอมพิวเตอร์ให้ทา งานตามที่ต้องการ 
เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง 
ในปัจจุบันระบบปฏิบัติการไม่ได้นา มาใช้งานกับคอมพิวเตอร์เท่านั้น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิคส์สมัยใหม่ต่าง ๆ เช่น 
โทรศัพท์เคลื่อนที่ เครื่องเล่นเกม หรือแม้กระทั่งเครื่องซักผ้า ก็มีระบบปฏิบัติการในการควบคุมการทา งานเช่นกัน 
แต่จะเป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาสา หรับอุปกรณ์นั้น ๆ โดยเฉพาะความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ OS 
วัตถุประสงค์ 
1.เพื่อศึกษาการใช้ระบบปฏิบัติการ 
2.เพื่อใช้เป็นสื่อในการศึกษา ให้กับผู้ที่สนใจ เรื่องระบบปฏิบัติการ 
ขอบเขตการศึกษา 
1.ขอบเขตด้านเนื้อหา เรื่องระบบปฏิบัติการ ซึ่งประกอบด้วย หน่วยประมวลผลคา และคอมพิวเตอร์สารสนเทศ 
2.โปรแกรมที่ใช้ในการดา เนินงาน 
2.1โปรแกรม Microsoft Word 
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 
1.ได้เรียนรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ 
2.ได้นาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 
3.สามารถนาความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาเรื่องระบบปฏิบัติการ ไปใช้ในการศึกษา
บทที่ 2 
เอกสารที่เกี่ยวข้อง 
การจักทา โครงงานคอมพิวเตอร์ การศึกษาเรื่องระบบปฏิบัติการ นี้ผู้จัดทา ได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ 
1.ความหมายระบบปฏิบัติการ 
2.ข้อมูลเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ 
3.องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 
4.การเผยแพร่ทางออนไลน์ 
ความหมายของระบบปฏิบัติการ 
โปรแกรมระบบปฏิบัติการ หรือ Operating System เรียกสั้น ๆ ว่า OS เป็นโปรแกรม 
ควบคุมการทา งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทา หน้าที่ควบคุมการทา งานต่าง ๆ เช่น การแสดงผล ข้อมูลการติดต่อกับผู้ใช้ 
โดยทา หน้าที่เป็นสื่อกลาง ระหว่างผู้ใช้กับเครื่องให้สามารถสื่อสารกันได้ควบคุมและจัดสรรทรัพยากรให้กับโปรแกรมต่าง 
ๆโดยทั่วไประบบคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 4 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมประประยุกต์ และผู้ใช้ 
ดังนั้นการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องระบบปฏิบัติการ 
จึงเป็นเรื่องจา เป็นอย่างยิ่งเพราะจะทา ให้เราสามารถที่จะคัดเลือกระบบปฏิบัติการ 
เพื่ออประยุกต์ใช้กับงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
ระบบปฏิบัติการ(Operating System)ระบบต่างๆ 
การทา งานของคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถทา งานด้วยตัวเองได้ 
แต่จะต้องอาศัยโปรแกรมสั่งให้คอมพิวเตอร์ทา งานซึ่งเรียกว่า“ซอฟต์แวร์” (Software) โดยทั่วไปซอฟต์แวร์จะแบ่งเป็น 2 
ประเภท คือ โปรแกรมสา เร็จรูป และโปรแกรมระบบปฏิบัติการซึ่งระบบปฏิบัติการนี้จะมีหน้าที่ 
ในการจัดการและควบคุมการทา งานและอุปกรณ์ต่างๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น 
การจัดการเกี่ยวกับการแสดงผลบนจอภาพ รับข้อมูลทางแป้นพิมพ์หรือเมาส์ การจัดการเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูล 
การจัดเก็บข้อมูลลงแฟ้มการติดตั้งโปรแกรม นอกจากนี้ระบบปฏิบัติการยังช่วยสร้างส่วนติดต่อ ระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์
(User interface) ให้ง่ายต่อการใช้งาน ระบบปฏิบัติการมีอยู่หลาย ระบบ ซึ่งมีการพัฒนาจากผู้ผลิตหลายบริษัท แต่ที่สา คัญ ๆ 
มีดังนี้ 
1.ระบบปฏิบัติการDOS(Disk Operating System) 
ระบบ DOS เป็นระบบปฏิบัติการที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท IBM เพื่อให้เป็ระบบปฏิบัติการสา หรับเครื่องพีซี 
ซึ่งตัวโปรแกรมDOS จะถูก Load หรืออ่านจากแผ่นดิสก์เข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจา ก่อน จากนั้น DOS จะไปทา หน้าที่เป็น 
ผู้ประสานงานต่าง ๆระหว่างผู้ใช้กับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั้งหลายโดยอัตโนมัติ โดยที่ DOS 
จะรับคา สั่งจากผู้ใช้หรือโปรแกรมแล้วนา ไปปฏิบัติตามโดยการทา งานจะเป็นแบบ Text mode 
สั่งงานโดยการกดคา สั่งเข้าไปที่ซีพร็อม (C:>)ดังนั้น ผู้ใช้ระบบนี้จึงต้องจา คา สั่งต่าง ๆในการใช้งานจึงจะสามารถใช้งานได้ 
ระบบปฏิบัติการ DOS ถือได้ว่าเป็นระบบปฏิบัติการที่เก่าแก่ และปัจจุบันนี้มีการใช้งานน้อยมาก 
2.ระบบปฏิบัติการ(Microsoft Windows) 
Windowsเป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาโดยบริษัท Microsoft ซึ่งจะมีส่วนติดต่อกับ ผู้ใช้ (User interface) 
เป็นแบบกราฟิก หรือเป็นระบบที่ใช้รูปภาพแทนคา สั่ง เรียกว่า GUI (Graphic User Interface) 
โดยสามารถสั่งให้เครื่องทา งานได้โดยใช้เมาส์คลิกที่สัญลักษณ์หรือคลิกที่คา สั่งที่ต้องการ 
ระบบนี้อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถใช้งานโปรแกรมได้มากกว่า 1 โปรแกรมในขณะเดียวกันซึ่งถ้าเป็นระบบ DOS 
หากต้องการเปลี่ยนไปทา งานโปรแกรมอื่น ๆ จะต้องออกจาก โปรแกรมเดิมก่อนจึงจะสามารถไปใช้งานโปรแกรมอื่น ๆ ได้ 
ในลักษณะการทา งานของ Windows จะมีส่วนที่เรียกว่า “หน้าต่าง” โดยแต่ละโปรแกรมจะถือเป็นหน้าต่างหนึ่งหน้าต่าง 
ผู้ใช้สามารถ สลับไปมาระหว่างแต่ละหน้าต่างได้ นอกจากนี้ระบบ Windows ยังให้โปรแกรมต่าง ๆ 
สามารถแชร์ข้อมูลระหว่างกันได้ผ่านทางคลิปบอ์ด (Clipboard) ระบบ Windows ทา ให้ผู้ใช้ ทั่ว ๆไปสามารถทา ความเข้าใจ 
เรียนรู้และใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น 
3.ระบบปฏิบัติการ(Unix) 
Unixเป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้บนเครื่อง SUN ของบริษัท SUN Microsystems แต่ไม่ได้เป็นคู่แข่งกับบริษัท Microsoft 
ในเรื่องของระบบปฏิบัติการบนเครื่อง PCแต่อย่างใด แต่Unix เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้เทคโนโลยีแบบเปิด (Open system) 
ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้อง ผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรืออุปกรณ์ยี่ห้อเดียวกัน นอกจากนี้ Unix ยังถูกออกแบบมาเพื่อ 
ตอบสนองการใช้งานในลักษณะให้มีผู้ใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกัน เรียกว่า ระบบหลายผู้ใช้ (Multiuser system) 
และสามารถทา งานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดียวกัน ในลักษณะที่เรียกว่า ระบบหลายภารกิจ (Multitasking system) 
4.ระบบปฏิบัติการ(Linux) 
Linuxเป็นระบบปฏิบัติการเช่นเดียวกับ DOS, Windows หรือ Unix โดยLinuxนั้นจัด ว่าเป็นระบบปฏิบัติการ Unix 
ประเภทหนึ่งการที่Linuxเป็นที่กล่าวขานกันมากในช่วงปี 1999 – 2000 เนื่องจากความสามารถของตัวระบบปฏิบัติ
การและโปรแกรมประยุกต์ที่ทา งานบนระบบ Linux โดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรแกรมในตระกูลของ GNU (GNU’s Not UNIX) 
และสิ่งที่สา คัญที่สุดก็ คือระบบ Linux เป็นระบบปฏิบัติการประเภทฟรีแวร์ (Free ware) คือไม่เสียค่าใช้จ่ายในการซื้อ 
โปรแกรม Linux นั้นมี นักพัฒนาโปรแกรมจากทั่วโลกช่วยกันแก้ไข ทา ให้การขยายตัวของ Linux เป็นไปอย่างรวดเร็ว 
โดยในส่วนของใจกลางระบบปฏิบัติการหรือ Kernel นั้นจะมีการพัฒนาเป็น รุ่นที่ 2.2 (Linux Kernel 2.2) 
ซึ่งได้เพิ่มขีดความสามารถและสนับสนุนการทา งานแบบหลายซีพียู หรือ SMP (Symmetrical Multi Processors) 
ซึ่งทา ให้ระบบLinux 
สามารถนา ไปใช้สา หรับทา งาน เป็น Saver ขนาดใหญ่ได้ระบบ Linux ตั้งแต่รุ่น 4 นั้น สามารถทา งานได้บนซีพียูทั้ง 3 ตระกูล 
คือ บนซีพียูของ อินเทล (PC Intel) ดิจิทัลอัลฟาคอมพิวเตอร์ (Digital Alpha Computer และซันสปาร์ค (SUN SPARC) 
เนื่องจากใช้เทคโนโลยีที่เรียกว่า RPM (Red Hat Package Management) 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 
คอมพิวเตอร์ทา งานอย่างเป็นระบบ (System) หมายถึงภายในระบบงานคอมพิวเตอร์ 
ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อยที่มีหน้าที่เฉพาะ ทา งานประสานสัมพันธ์กัน เพื่อให้งานบรรลุตามเป้าหมาย 
ในระบบงานคอมพิวเตอร์ 
การที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์เพียงอย่างเดียว จะยังไม่สามารถทา งานได้ด้วยตัวเอง 
ซึ่งหากจะให้คอมพิวเตอร์ทา งานได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพแล้ว 
ระบบคอมพิวเตอร์ควรจะประกอบไปด้วยองค์ประกอบคือ บุคลากร (Peopleware) ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ 
(Software) ข้อมูล(Data) 
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบของตัวเครื่องที่สามารถจับต้องได้ ได้แก่ วงจรไฟฟ้า ตัวเครื่อง 
จอภาพ เครื่องพิมพ์ คีย์บอร์ด เป็นต้นซึ่งสามารถแบ่งส่วนพื้นฐานของฮาร์ดแวร์เป็น 4 หน่วยสา คัญ 
1.1 หน่วยรับข้อมูลหรืออินพุต ( Input Unit) ทา หน้าที่รับข้อมูลและโปรแกรมเข้า ได้แก่ คีย์บอร์ดหรือแป้นพิมพ์ เมาส์ 
เครื่องสแกน เป็นต้น 
1.2 ระบบประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit) 
ทา หน้าที่ในการทา งานตามคา สั่งที่ปรากฏอยู่ในโปรแกรม ปัจจุบันซีพียูของเครื่องพีซี รู้จักในนามไมโครโปรเซสเซอร์ 
( Micro Processor) หรือ Chip เช่นบริษัท Intel คือ Pentium 
1.3 หน่วยเก็บข้อมูล ( Storage ) ซึ่งสามารถแยกตามหน้าที่ได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 
1.3.1 หน่วยเก็บข้อมูลหลักหรือความจา หลัก ( Primary Storage หรือ Main Memory ) 
ทา หน้าที่เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งให้หน่วยประมวลผลกลางทา การประมวลผล 
และรับผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลเพื่อส่งออกหน่วยแสดงข้อมูลต่อไป 
1.3.2 หน่วยเก็บข้อมูลสา รอง ( Secondary Storage ) เป็นหน่วยที่ทา หน้าที่เก็บข้อมูล 
หรือโปรแกรมที่จะป้อนเข้าสู่หน่วยความจา หลักภายในเครื่องก่อนทา การประมวลผลโดยซีพียู 
รวมทั้งเป็นที่เก็บผลลัพธ์จากการประมวลผลด้วย ปัจจุบันรู้จักในนามฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) หรือแผ่นฟร็อปปีดิสก์ (Floppy 
Disk) ซึ่งเมื่อปิดเครื่องข้อมูลจะยังคงเก็บอยู่
1.4 หน่วยแสดงข้อมูลหรือเอาต์พุต ( Output Unit ) ทา หน้าที่ในการแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ได้แก่ 
จอภาพ และเครื่องพิมพ์ เป็นต้น ทั้ง 4 ส่วนจะเชื่อมต่อกันด้วยบัส ( Bus ) 
2 ซอฟต์แวร์ ( Software ) 
ซอฟต์แวร์ คือโปรแกรมหรือชุดคา สั่ง ที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทา งาน รวมไปถึงการควบคุมการทา งาน 
ของอุปกรณ์แวดล้อมต่างๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม การ์ดอินเตอร์เฟสต่าง ๆ เป็นต้น ซอฟต์แวร์ 
เป็นสิ่งที่มองไม่เห็นจับต้องไม่ได้ แต่รับรู้การทา งานของมันได้ ซึ่งต่างกับ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ที่สามารถจับต้องได้ 
ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 
2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ ( System Software ) คือโปรแกรม ที่ใช้ในการควบคุมระบบการ ทา งานของ 
เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมด เช่น การบูดเครื่อง การสา เนาข้อมูล การจัดการระบบของดิสก์ 
ชุดคา สั่งที่เขียนเป็นคา สั่งสา เร็จรูป 
2.1.1 โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating System) เป็นโปรแกรมที่ใช้ควบคุม และติดต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ 
ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะการจัดการระบบของดิสก์ การบริหารหน่วยความจา ของระบบ 
2.1.2 ตัวแปลภาษา (Translator) จาก Source Code ให้เป็น Object Code (แปลจากภาษาที่มนุษย์เข้าใจ 
ให้เป็นภาษาที่เครื่องเข้าใจ เปรียบเสมือนล่ามแปลภาษา) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูง ซึ่ง 
เป็นภาษาใกล้เคียงภาษามนุษย์ ให้เป็นภาษาเครื่องก่อนที่จะนา ไปประมวลผล ตัวแปลภาษาแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ 
คอมไพเลอร์ (Compiler) และอินเตอร์พีทเตอร์ (Interpeter) 
2.1.3 ยูติลิตี้ โปรแกรม (Utility Program) คือซอฟต์แวร์เสริมช่วยให้เครื่องทา งานมีประสิทธิภาพ มากขึ้น เช่น 
ช่วยในการตรวจสอบดิสก์ ช่วยในการจัดเก็บข้อมูลในดิสก์ ช่วยสา เนาข้อมูล ช่วยซ่อมอาการชา รุดของดิสก์ 
ช่วยค้นหาและกา จัดไวรัส ฯลฯ เป็นต้นโปรแกรมในกลุ่มนี้ได้แก่ โปรแกรม Norton Winzip Scan virus Sidekick Scandisk 
Screen Saver เป็นต้น 
2.1.4 ติดตั้งและปรับปรุงระบบ (Diagonostic Program) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการติดตั้งระบบ 
เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อและใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่นา มาติดตั้งระบบ ได้แก่ โปรแกรม Setupและ Driver ต่าง ๆ 
เช่น โปรแกรม Setup Microsoft Office โปรแกรม Driver Sound , Driver Printer , Driver Scanner เป็นต้น 
2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) 
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทา ให้คอมพิวเตอร์ทา งานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ 
ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจา แนก 
ได้เป็น 2 ประเภท คือ 
2.2.1 ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน (Special Purpose Software) คือ 
โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทา งานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ บางที่เรียกว่า User’s Program เช่น 
โปรแกรมการทา บัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ โปรแกรมการทา สินค้าคงคลัง เป็นต้น 
2.2.2 ซอฟต์แวร์สา หรับงานทั่วไป (General Purpose Software) เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทา ไว้ 
เพื่อใช้ในการทา งานประเภทต่างๆ ทั่วไป 
3 บุคลากร ( Peopleware ) 
บุคลากรจะเป็นสิ่งสา คัญที่จะเป็นตัวกา หนดถึงประสิทธิภาพถึงความสา เร็จและความคุ้มค่าในการใช้งานคอมพิวเตอร์ 
ซึ่งสามารถแบ่งบุคลากรตามหน้าที่เกี่ยวข้องตามลักษณะงานได้ 6 ด้าน ดังนี้
3.1 นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (Systems Analyst and Designer : SA ) 
ทา หน้าที่ศึกษาและรวบรวมความต้องการของผู้ใช้ระบบ และทา หน้าที่เป็นสื่อกลางระหว่างผู้ใช้ระบบและนักเขียนโปรแกรม 
(Programmer) หรือปรับปรุงคุณภาพงานเดิม นักวิเคราะห์ระบบต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ 
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม และควรจะเป็นผู้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี 
3.2 โปรแกรมเมอร์ ( Programmer ) 
คือบุคคลที่ทา หน้าที่เขียนซอฟต์แวร์ต่างๆ(Software )หรือเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงานให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทา งานตามความต้ 
องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้ 
3.3 ผู้ใช้ ( User ) เป็นผู้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ 
ซึ่งจะเป็นผู้ปฏิบัติหรือกา หนดความต้องการในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ว่าทา งานอะไรได้บ้าง ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป 
จะต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทา งานได้ตามที่ต้องการ 
3.4 ผู้ปฏิบัติการ (Operator ) สา หรับระบบขนาดใหญ่ เช่น เมนเฟรม 
จะต้องมีเจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ที่คอยปิดและเปิดเครื่อง และเฝ้าดูจอภาพเมื่อมีปัญหาซึ่งอาจเกิดขัดข้อง จะต้องแจ้ง System 
Programmer ซึ่งเป็นผู้ดูแลตรวจสอบแก้ไขโปรแกรมระบบควบคุมเครื่อง (System Software) อีกทีหนึ่ง 
3.5 ผู้บริหารฐานข้อมูล ( Database Administrator : DBA ) 
กลุ่มบุคคลที่ทา หน้าที่ดูแลข้อมูลผ่านระบบจัดการฐานข้อมูล ซึ่งจะควบคุมให้การทา งานเป็นไปอย่างราบรื่น 
3.6 ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน 
เป็นผู้ที่มีความหมายต่อความสา เร็จหรือล้มเหลวของการนา ระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งานเป็นอย่างมาก 
4. ข้อมูล 
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แล้วใช้ตัวเลขตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ ต่างๆ 
ทา ความหมายแทนสิ่งเหล่านั้น 
ข้อมูล คือค่าของตัวแปรในเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ ที่อยู่ในความควบคุมของกลุ่มของสิ่งต่าง ๆ 
ข้อมูลในเรื่องการคอมพิวเตอร์ (หรือการประมวลผลข้อมูล) จะแสดงแทนด้วยโครงสร้างอย่างหนึ่ง 
ซึ่งมักจะเป็นโครงสร้างตาราง 
การเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ 
โครงการเผยแพร่ความรู้ผ่านสื่อเน็ตเวิร์ค 
ในปัจจุบันเทคโนโลยีมีบทบาทสา คัญต่อการดา รงชีวิตของเราเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะระบบอินเตอร์เน็ต 
ซึ่งส่งผลดีต่อการเรียนรู้ของเยาวชนไทยใน ปัจจุบันระบบปฏิบัติการไม่ได้นา มาใช้งานกับคอมพิวเตอร์เท่านั้น 
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิคส์สมัยใหม่ต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ เครื่องเล่นเกมส์ หรือแม้กระทั่งเครื่องซักผ้า 
ก็มีระบบปฏิบัติการในการควบคุมการทา งานเช่นกัน แต่จะเป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาสา หรับอุปกรณ์นั้น ๆ 
โดยเฉพาะ
1. ข้อมูลที่เกี่ยวกับการ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ 
สื่อสังคมออนไลน์ (Social Network) หมายถึง 
สื่อหรือช่องทางในการติดต่อในลักษณะของการสื่อสารแบบสองทางผ่านระบบเครือ ข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นสื่อรูปแบบใหม่ 
(new media) ที่บุคคลทั่วไปสามารถนา เสนอและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารได้ด้วยตนเองออกสู่ 
สาธารณะโดยใช้อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารประเภทต่างๆ 
ในปัจจุบันมีแหล่งให้บริการเครือข่ายทางสังคมเกิด ขึ้นบนระบบเครือข่ายอิน เทอร์เน็ตเป็นจา นวนมาก ตัวอย่างเช่น 
Facebook, Twitter และกระดานข่าว(webboard) เป็นต้นเนื่อง จากสื่อสังคมออนไลน์ (Social Network) 
เป็นเครื่องมือที่มีทั้ง ประโยชน์และโทษที่ควรระวัง 
โดยเฉพาะข้อมูลข่าวสารบางอย่างที่เผยแพร่ออกสู่สาธารณะไปแล้ว อาจไม่สามารถ เรียกกลับคืนได้ 
และอาจก่อให้เกิดความเสียหายทั้งต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และต่อองค์กร 
2. โปรแกรมที่ใช้ในการดาเนินงาน 
2.1. โปรแกรม Microsoft Word 
ไมโครซอฟท์เวิร์ด (Microsoft Word) คือโปรแกรมประเภท word processor ที่ใช้เหมาะสาหรับการพิมพ์รายงาน 
พิมพ์จดหมาย หรือจะใช้ สา หรับแต่งนิยายก็ยังได้ เป็นหนึ่งในโปรแกรม ไมโครซอฟท์ออฟฟิศ ซึ่งมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง 
หลากหลายเวอร์ชัน แต่อย่างไรก็ตาม โดยหลักการ ถ้าเราศึกษาไมโครซอฟท์เวิร์ดเวอร์ชันใดเวอร์ชันหนึ่ง 
เราก็จะสามารถเรียนรู้เวอร์ชันอื่นๆ ได้ค่อนข้างง่ายเพราะส่วนใหญ่เวอร์ชันใหม่ๆ 
ก็จะการเปลี่ยนแปลงในลักษณะเพิ่มเติมเสียมากกว่าการลบออกไป 
2.2. โปรแกรม Google chrome 
กูเกิล โครม (อังกฤษ: Google Chrome) เป็นซอฟต์แวร์เว็บเบราว์เซอร์แบบโอเพนซอร์ซ พัฒนาโดยกูเกิล 
ใช้เว็บคิตเป็นเรนเดอริงเอนจินสา หรับวาดหน้าจอ และนา บางส่วนจากเว็บเบราว์เซอร์ไฟร์ฟอกซ์มาพัฒนาต่อ
โครมมีให้ดาวน์โหลดเพื่อทดสอบใช้งานสาหรับวินโดวส์ และมีภาษาที่ให้ใช้ได้มากกว่า50 ภาษารวมถึงภาษาไทย รุ่นสาหรับ 
แมคโอเอส และ ลินุกซ์ นั้นกา ลังอยู่ระหว่างการพัฒนา ซึ่งจะเปิดให้ทดสอบในอนาคต โครม 
เป็นตัวพัฒนาจากโค้ดของซอฟต์แวร์ โครเมียม ซึ่งใช้สัญลักษณ์เดียวกัน แต่คนละสี 
2.3. โปรแกรม blogger 
โปรแกรม blogger หมายถึง เว็บไซต์ประเภทหนึ่ง ที่เจ้าของ หรือ Blogger 
สามารถบันทึกเรื่องราวของตนเองลงในเว็บได้ตลอดเวลา นอกจากนี้แล้ว Blog ยังเป็นพื้นที่ให้ Blogger โพสต์ข้อมูล 
หรือใส่ความรู้ประสบการณ์ เพื่อเป็นวิทยาทานให้คนอื่นๆ เช่น คุณหมอ เปิด บล็อกแนะนาเรื่องสุขภาพ 
เป็นต้น การสร้างเว็บบล็อกสามารถทา ได้ง่ายๆ ด้วยตัวเอง ไม่ซับซ้อน ไม่จา เป็นต้องรู้ภาษา HTML 
อย่างน้อยขอให้มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์ ภายในเว็บบล็อก 
จะมีระบบบริหารจัดการเว็บไซต์พื้นฐานให้แล้ว โดยการสร้างเครื่องมือสา หรับ เขียนเรื่อง โพสรูป จัดหมวดหมู่ 
และลูกเล่นอื่นๆ ที่ผู้จัดทา พยายามสร้างเพื่อดึงดูดผู้คนจากทั่วโลก ให้เข้าไปใช้บริการ 
เสน่ห์ของบล็อกอยู่ที่ผู้อ่านและผู้เขียนสามารถโต้ตอบกันได้ (Interactive) 
โดยการแสดงความคิดเห็นต่อท้ายที่เรื่องนั้นๆ ข้อแตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์ทั่วไป คือ บล็อกจะเปิดให้ผู้เข้ามาอ่านข้อมูล 
สามารถแสดงความคิดเห็นต่อท้ายข้อความที่เจ้าของบล็อกเป็นคนเขียน 
ซึ่งทา ให้ผู้เขียนสามารถได้ผลตอบกลับโดยทันทีในปัจจุบันบล็อก ถูกใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารรูปแบบใหม่ 
ไม่ว่าจะเป็นการประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ผลงาน ฯลฯ และกา ลังเป็นที่นิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ 
โดยขณะนี้ได้มีผู้ให้บริการบล็อกมากมาย ทั้งแบบให้บริการฟรี และเสียค่าใช้จ่าย ตัวอย่างผู้ให้บริการ Blog เช่น Blogger 
บทที่ 3 
อุปกรณ์และวิธีการดาเนินการ 
การจัดทา โครงงานคอมพิวเตอร์ การศึกษาระบบปฏิบัติการ มีวิธีการดา เนินโครงงานตามขั้นตอนต่อไปนี้ 
1.วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการศึกษาระบบปฏิบัติการ 
1.1เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 
1.2โปรแกรมที่ใช้ในการดา เนินงาน 
1.3โปรแกรม Microsoft Word
2.ข้นัตอนการดาเนินงาน 
2.1คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนออาจารย์ 
2.2ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ คือเรื่องระบบปฏิบัติการ 
และศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพียงใดจากเว็บไซต์ต่าง ๆ และจัดเก็บข้อมูลเพื่อจักทา เนื้อหาดังต่อไป 
2.3ศึกษาการใช้ระบบปฏิบัติการ 
2.4จักทา โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อนา เสนออาจารย์ 
2.5จักทา โครงงานคอมพิวเตอร์การศึกษาเรื่องระบบปฏิบัติการ โดยสร้างบทเรียนที่สนใจตามแบบเสนอโครงร่างที่เสนอ 
2.6นา เสนอรายงานความก้าวหน้าให้อาจารย์ได้ตรวจสอบ ซึ่งอาจารย์จะให้ข้อเสนอต่าง ๆ 
เพื่อให้จัดทา เนื้อหาและการนา เสนอที่น่าสนใจ ทั้งนี้เมื่อได้รับแนะนา ก็จะนา มาปรับปรุงแก้ไขให้เป็นที่น่าสนใจ 
2.7จัดทา เอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 
2.8ประเมินผลงานโดยให้อาจารย์ประเมินผลงานและให้เพื่อนผู้ที่สนใจร่วมประเมิน 
บทที่ 4 
ผลการดาเนินโครงงาน 
ในการศึกษางานครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงสา รวจเพื่อศึกษา”ความพึงพอใจในการเพื่อเผยแพร่ บทความรู้ออนล์ไลน์ 
เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (Operating System)” ซึ่งประกอบไปด้วย 
1.วิชา ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น (2204-2002) 
2.วิชา โปรแกรมประมวลผลคา (2204-2108) 
3.วิชา คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ(2001-2001) 
รวม 3 รายวิชาดังกล่าว โดยการบูรณาการร่วมกัน เป็นการเก็บข้อมูลจากกลุ้มนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ห้อง พณ. 1/12 ผู้จัดทา ขอนา เสนองาน รวม Blogspot ทุกชั้นเรียน ระดับ ปวช. แผนกคอมพิวเตอร์ ผู้จัดทา ได้จัดทา ของครู 
ธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์ http://kvcthidarat.blogspot.com/ ซึ่งรวมทุก Blogspot ในระดับชั้น ปวช.1 แผนก 
สาขาคอมพิวเตอร์ผู้จัดทา ได้จัดทา Blogspot เพื่อเผยแพร่ ความรู้ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (Operating System) 
http://kvcthidarat.blogspot.com/ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยจา แนกรายละเอียด ตามวิธีการศึกษาข้อมูลดังนี้ 
Blogspot ของครูธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์ รวมทุก Blogspot ของ นัเรียน ระดับ ปวช. แผนกคอมพิวเตอร์ธุระกิจ
Blogspot http://kvcthidarat.blogspot.com/ ซึ่งเป็นของ คณะผู้จัดทา ได้ทา บทความรู้ออนล์ไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ 
(Operating System) 
และใน Blogspot ได้นา เอาบทความรู้ออนล์ไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ(Operating System) ลงในบทความ 
โดยการแปลง File จาก โปรแกรม Microting Word เป็น Pdf file เพื่อ Upload ลงใน Website : slideshare.net 
บทที่ 5 
สรุปผลการดาเนินงานและข้อเสนอแนะ 
การจักทา โครงงานคอมพิวเตอร์ การศึกษาเรื่องระบบปฏิบัติการ นี้สรุปผลการดา เนินงานโครงงานและข้อเสนอแนะ 
ได้ดังนี้ 
1.สรุปผลการศึกษาระบบปฏิบัติการ 
ผู้จักทา ได้ศึกษาเรื่องระบบปฏิบัติการ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 
1.1แบบบทสอบก่อนเรียน 
1.2เนื้อหาบทเรียน
1.3แบบทดสอบหลังเรียน 
1.4ใบความรู้ 
บรรณานุกรม 
ความสา คัญของคอมพิวเตอร์ https://sites.google.com/site/operatingsystemeng1/khwam-hmay-khxng-rabb-ptibati-kar 
หนังสือวิชาระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 
หนังสือวิชาประมวลผลคา 
หนังสือวิชาคอมสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง

More Related Content

What's hot

โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
kat55
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
ปยล วชย.
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการโครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการ
Thanapon Seadthaisong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Rattarida Thatid
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
jamiezaa123
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
karakas14
 

What's hot (17)

โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
Projectm6 2-2556 (1)
Projectm6 2-2556 (1)Projectm6 2-2556 (1)
Projectm6 2-2556 (1)
 
โครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการโครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
 
223333
223333223333
223333
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง

โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas55
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
karakas14
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
ภาคิน ดวงคุณ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
molovekotic
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์  โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
molovekotic
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
katlove2541
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง (20)

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานเผยแพร่
โครงงานเผยแพร่โครงงานเผยแพร่
โครงงานเผยแพร่
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์  โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 

โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ การเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่องระบบปฏิบัติการ ผู้จัดทา นางสาว ภาวินี คา ภักดี เลขที่ 16 นางสาว สุดารัตน ์ ชิณวัง เลขที่ 21 นางสาว ปราณปรียา นามแดง เลขที่ 11 สอนโดย อาจารย์ ธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์ รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา 2204-2002 ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น ปีการศึกษา 2557
  • 2. เรื่อง ระบบปฏิบัติการ ประเภทโครงงาน โครงงานสื่อการศึกษา ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดย นางสาว ภาวินี คา ภักดี เลขที่ 16 นางสาว สุดารัตน์ ชิณวัง เลขที่ 21 นางสาว ปราณปรียา นามแดง เลขที่ 11 สถานศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น สังกัด สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ครูที่ปรึกษา นาง ธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์ ปีการศึกษา 2557 บทคัดย่อ โครงงานคอมพิวเตอร์ ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของราย วิชาระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา 2204-2002 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยมีจุดประสงค์ เพื่อศึกษาการใช้ระบบปฏิบัติการ เพื่อใช้เป็นสื่อในการศึกษา ให้กับผู้ที่สนใจ เรื่องระบบปฏิบัติการ ผลการเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ ใน www.blogger.com ประกอบด้วย วิชาระบบปฏิบัติการ วิชาประมวลผลคา วิชาคอมพิวเตอร์สารสนเทศ และผลการประเมินของการเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับดี (ค่าเฉลี่ย = 2.9)
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โครงงานนี้สา เร็จได้ด้วยความกรุณา อาจารย์ ธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์ อาจารย์ประจา วิชาระบบปฏิบัติการเบื้องต้น ที่ให้คา ปรึกษาในการแก้ไขและปรับปรุงโครงงานให้สา เร็จเป็นอย่างสูง
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า กิตติกรรมประกาศ ก บทคัดย่อ ข สารบัญ ค บทที่ 1 บทนา 1 ที่มาและความสา คัญ 1 วัตถุประสงค์ 1 ขอบเขตการศึกษา 1 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2 ความสา คัญของระบบปฏิบัติการ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ 2 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 5 บทที่ 3 อุปกรณ์และการดา เนินการ 7 วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือการใช้ระบบปฏิบัติการ 7 บทที่ 4 ผลการดา เนินโครงงาน 12 ผลการใช้ระบบปฏิบัติการ 13 บทที่ 5สรุปผลการดา เนินงานและข้อเสนอแนะ 17
  • 5. บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ ถ้ามีรถยนต์อยู่แต่ขับรถยนต์ไม่เป็น รถยนต์คันดังกล่าวก็จะไม่มีประโยชน์อะไรเลย คอมพิวเตอร์ก็เช่นเดียวกัน ถึงแม้ว่าจะมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพมากเพียงใดก็ตาม ถ้าหากเครื่องคอมพิวเตอร์ดังกล่าวไม่มีระบบปฏิบัติการคอยควบคุมการทา งาน ซึ่งเปรียบได้กับรถยนต์ที่ไม่มีคนขับ เครื่องคอมพิวเตอร์ดังกล่าวก็จะไม่มีประโยชน์เลย ดังนั้นระบบปฏิบัติการจึงมีความสา คัญเปรียบเสมือนกับคนขับรถยนต์ที่จะต้องคอยควบคุมรถให้เดินทางไปถึงที่หมายอย่างถู กต้อง และปลอดภัย ระบบปฏิบัติการก็จะต้องควบคุมการทา งานของคอมพิวเตอร์ให้ทา งานตามที่ต้องการ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง ในปัจจุบันระบบปฏิบัติการไม่ได้นา มาใช้งานกับคอมพิวเตอร์เท่านั้น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิคส์สมัยใหม่ต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ เครื่องเล่นเกม หรือแม้กระทั่งเครื่องซักผ้า ก็มีระบบปฏิบัติการในการควบคุมการทา งานเช่นกัน แต่จะเป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาสา หรับอุปกรณ์นั้น ๆ โดยเฉพาะความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ OS วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาการใช้ระบบปฏิบัติการ 2.เพื่อใช้เป็นสื่อในการศึกษา ให้กับผู้ที่สนใจ เรื่องระบบปฏิบัติการ ขอบเขตการศึกษา 1.ขอบเขตด้านเนื้อหา เรื่องระบบปฏิบัติการ ซึ่งประกอบด้วย หน่วยประมวลผลคา และคอมพิวเตอร์สารสนเทศ 2.โปรแกรมที่ใช้ในการดา เนินงาน 2.1โปรแกรม Microsoft Word ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ได้เรียนรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ 2.ได้นาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 3.สามารถนาความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาเรื่องระบบปฏิบัติการ ไปใช้ในการศึกษา
  • 6. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง การจักทา โครงงานคอมพิวเตอร์ การศึกษาเรื่องระบบปฏิบัติการ นี้ผู้จัดทา ได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ 1.ความหมายระบบปฏิบัติการ 2.ข้อมูลเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ 3.องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 4.การเผยแพร่ทางออนไลน์ ความหมายของระบบปฏิบัติการ โปรแกรมระบบปฏิบัติการ หรือ Operating System เรียกสั้น ๆ ว่า OS เป็นโปรแกรม ควบคุมการทา งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทา หน้าที่ควบคุมการทา งานต่าง ๆ เช่น การแสดงผล ข้อมูลการติดต่อกับผู้ใช้ โดยทา หน้าที่เป็นสื่อกลาง ระหว่างผู้ใช้กับเครื่องให้สามารถสื่อสารกันได้ควบคุมและจัดสรรทรัพยากรให้กับโปรแกรมต่าง ๆโดยทั่วไประบบคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 4 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมประประยุกต์ และผู้ใช้ ดังนั้นการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องระบบปฏิบัติการ จึงเป็นเรื่องจา เป็นอย่างยิ่งเพราะจะทา ให้เราสามารถที่จะคัดเลือกระบบปฏิบัติการ เพื่ออประยุกต์ใช้กับงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบปฏิบัติการ(Operating System)ระบบต่างๆ การทา งานของคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถทา งานด้วยตัวเองได้ แต่จะต้องอาศัยโปรแกรมสั่งให้คอมพิวเตอร์ทา งานซึ่งเรียกว่า“ซอฟต์แวร์” (Software) โดยทั่วไปซอฟต์แวร์จะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ โปรแกรมสา เร็จรูป และโปรแกรมระบบปฏิบัติการซึ่งระบบปฏิบัติการนี้จะมีหน้าที่ ในการจัดการและควบคุมการทา งานและอุปกรณ์ต่างๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น การจัดการเกี่ยวกับการแสดงผลบนจอภาพ รับข้อมูลทางแป้นพิมพ์หรือเมาส์ การจัดการเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลลงแฟ้มการติดตั้งโปรแกรม นอกจากนี้ระบบปฏิบัติการยังช่วยสร้างส่วนติดต่อ ระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์
  • 7. (User interface) ให้ง่ายต่อการใช้งาน ระบบปฏิบัติการมีอยู่หลาย ระบบ ซึ่งมีการพัฒนาจากผู้ผลิตหลายบริษัท แต่ที่สา คัญ ๆ มีดังนี้ 1.ระบบปฏิบัติการDOS(Disk Operating System) ระบบ DOS เป็นระบบปฏิบัติการที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท IBM เพื่อให้เป็ระบบปฏิบัติการสา หรับเครื่องพีซี ซึ่งตัวโปรแกรมDOS จะถูก Load หรืออ่านจากแผ่นดิสก์เข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจา ก่อน จากนั้น DOS จะไปทา หน้าที่เป็น ผู้ประสานงานต่าง ๆระหว่างผู้ใช้กับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั้งหลายโดยอัตโนมัติ โดยที่ DOS จะรับคา สั่งจากผู้ใช้หรือโปรแกรมแล้วนา ไปปฏิบัติตามโดยการทา งานจะเป็นแบบ Text mode สั่งงานโดยการกดคา สั่งเข้าไปที่ซีพร็อม (C:>)ดังนั้น ผู้ใช้ระบบนี้จึงต้องจา คา สั่งต่าง ๆในการใช้งานจึงจะสามารถใช้งานได้ ระบบปฏิบัติการ DOS ถือได้ว่าเป็นระบบปฏิบัติการที่เก่าแก่ และปัจจุบันนี้มีการใช้งานน้อยมาก 2.ระบบปฏิบัติการ(Microsoft Windows) Windowsเป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาโดยบริษัท Microsoft ซึ่งจะมีส่วนติดต่อกับ ผู้ใช้ (User interface) เป็นแบบกราฟิก หรือเป็นระบบที่ใช้รูปภาพแทนคา สั่ง เรียกว่า GUI (Graphic User Interface) โดยสามารถสั่งให้เครื่องทา งานได้โดยใช้เมาส์คลิกที่สัญลักษณ์หรือคลิกที่คา สั่งที่ต้องการ ระบบนี้อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถใช้งานโปรแกรมได้มากกว่า 1 โปรแกรมในขณะเดียวกันซึ่งถ้าเป็นระบบ DOS หากต้องการเปลี่ยนไปทา งานโปรแกรมอื่น ๆ จะต้องออกจาก โปรแกรมเดิมก่อนจึงจะสามารถไปใช้งานโปรแกรมอื่น ๆ ได้ ในลักษณะการทา งานของ Windows จะมีส่วนที่เรียกว่า “หน้าต่าง” โดยแต่ละโปรแกรมจะถือเป็นหน้าต่างหนึ่งหน้าต่าง ผู้ใช้สามารถ สลับไปมาระหว่างแต่ละหน้าต่างได้ นอกจากนี้ระบบ Windows ยังให้โปรแกรมต่าง ๆ สามารถแชร์ข้อมูลระหว่างกันได้ผ่านทางคลิปบอ์ด (Clipboard) ระบบ Windows ทา ให้ผู้ใช้ ทั่ว ๆไปสามารถทา ความเข้าใจ เรียนรู้และใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น 3.ระบบปฏิบัติการ(Unix) Unixเป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้บนเครื่อง SUN ของบริษัท SUN Microsystems แต่ไม่ได้เป็นคู่แข่งกับบริษัท Microsoft ในเรื่องของระบบปฏิบัติการบนเครื่อง PCแต่อย่างใด แต่Unix เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้เทคโนโลยีแบบเปิด (Open system) ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้อง ผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรืออุปกรณ์ยี่ห้อเดียวกัน นอกจากนี้ Unix ยังถูกออกแบบมาเพื่อ ตอบสนองการใช้งานในลักษณะให้มีผู้ใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกัน เรียกว่า ระบบหลายผู้ใช้ (Multiuser system) และสามารถทา งานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดียวกัน ในลักษณะที่เรียกว่า ระบบหลายภารกิจ (Multitasking system) 4.ระบบปฏิบัติการ(Linux) Linuxเป็นระบบปฏิบัติการเช่นเดียวกับ DOS, Windows หรือ Unix โดยLinuxนั้นจัด ว่าเป็นระบบปฏิบัติการ Unix ประเภทหนึ่งการที่Linuxเป็นที่กล่าวขานกันมากในช่วงปี 1999 – 2000 เนื่องจากความสามารถของตัวระบบปฏิบัติ
  • 8. การและโปรแกรมประยุกต์ที่ทา งานบนระบบ Linux โดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรแกรมในตระกูลของ GNU (GNU’s Not UNIX) และสิ่งที่สา คัญที่สุดก็ คือระบบ Linux เป็นระบบปฏิบัติการประเภทฟรีแวร์ (Free ware) คือไม่เสียค่าใช้จ่ายในการซื้อ โปรแกรม Linux นั้นมี นักพัฒนาโปรแกรมจากทั่วโลกช่วยกันแก้ไข ทา ให้การขยายตัวของ Linux เป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยในส่วนของใจกลางระบบปฏิบัติการหรือ Kernel นั้นจะมีการพัฒนาเป็น รุ่นที่ 2.2 (Linux Kernel 2.2) ซึ่งได้เพิ่มขีดความสามารถและสนับสนุนการทา งานแบบหลายซีพียู หรือ SMP (Symmetrical Multi Processors) ซึ่งทา ให้ระบบLinux สามารถนา ไปใช้สา หรับทา งาน เป็น Saver ขนาดใหญ่ได้ระบบ Linux ตั้งแต่รุ่น 4 นั้น สามารถทา งานได้บนซีพียูทั้ง 3 ตระกูล คือ บนซีพียูของ อินเทล (PC Intel) ดิจิทัลอัลฟาคอมพิวเตอร์ (Digital Alpha Computer และซันสปาร์ค (SUN SPARC) เนื่องจากใช้เทคโนโลยีที่เรียกว่า RPM (Red Hat Package Management) องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ทา งานอย่างเป็นระบบ (System) หมายถึงภายในระบบงานคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อยที่มีหน้าที่เฉพาะ ทา งานประสานสัมพันธ์กัน เพื่อให้งานบรรลุตามเป้าหมาย ในระบบงานคอมพิวเตอร์ การที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์เพียงอย่างเดียว จะยังไม่สามารถทา งานได้ด้วยตัวเอง ซึ่งหากจะให้คอมพิวเตอร์ทา งานได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพแล้ว ระบบคอมพิวเตอร์ควรจะประกอบไปด้วยองค์ประกอบคือ บุคลากร (Peopleware) ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) ข้อมูล(Data) 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบของตัวเครื่องที่สามารถจับต้องได้ ได้แก่ วงจรไฟฟ้า ตัวเครื่อง จอภาพ เครื่องพิมพ์ คีย์บอร์ด เป็นต้นซึ่งสามารถแบ่งส่วนพื้นฐานของฮาร์ดแวร์เป็น 4 หน่วยสา คัญ 1.1 หน่วยรับข้อมูลหรืออินพุต ( Input Unit) ทา หน้าที่รับข้อมูลและโปรแกรมเข้า ได้แก่ คีย์บอร์ดหรือแป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องสแกน เป็นต้น 1.2 ระบบประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit) ทา หน้าที่ในการทา งานตามคา สั่งที่ปรากฏอยู่ในโปรแกรม ปัจจุบันซีพียูของเครื่องพีซี รู้จักในนามไมโครโปรเซสเซอร์ ( Micro Processor) หรือ Chip เช่นบริษัท Intel คือ Pentium 1.3 หน่วยเก็บข้อมูล ( Storage ) ซึ่งสามารถแยกตามหน้าที่ได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1.3.1 หน่วยเก็บข้อมูลหลักหรือความจา หลัก ( Primary Storage หรือ Main Memory ) ทา หน้าที่เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งให้หน่วยประมวลผลกลางทา การประมวลผล และรับผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลเพื่อส่งออกหน่วยแสดงข้อมูลต่อไป 1.3.2 หน่วยเก็บข้อมูลสา รอง ( Secondary Storage ) เป็นหน่วยที่ทา หน้าที่เก็บข้อมูล หรือโปรแกรมที่จะป้อนเข้าสู่หน่วยความจา หลักภายในเครื่องก่อนทา การประมวลผลโดยซีพียู รวมทั้งเป็นที่เก็บผลลัพธ์จากการประมวลผลด้วย ปัจจุบันรู้จักในนามฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) หรือแผ่นฟร็อปปีดิสก์ (Floppy Disk) ซึ่งเมื่อปิดเครื่องข้อมูลจะยังคงเก็บอยู่
  • 9. 1.4 หน่วยแสดงข้อมูลหรือเอาต์พุต ( Output Unit ) ทา หน้าที่ในการแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ได้แก่ จอภาพ และเครื่องพิมพ์ เป็นต้น ทั้ง 4 ส่วนจะเชื่อมต่อกันด้วยบัส ( Bus ) 2 ซอฟต์แวร์ ( Software ) ซอฟต์แวร์ คือโปรแกรมหรือชุดคา สั่ง ที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทา งาน รวมไปถึงการควบคุมการทา งาน ของอุปกรณ์แวดล้อมต่างๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม การ์ดอินเตอร์เฟสต่าง ๆ เป็นต้น ซอฟต์แวร์ เป็นสิ่งที่มองไม่เห็นจับต้องไม่ได้ แต่รับรู้การทา งานของมันได้ ซึ่งต่างกับ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ที่สามารถจับต้องได้ ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ ( System Software ) คือโปรแกรม ที่ใช้ในการควบคุมระบบการ ทา งานของ เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมด เช่น การบูดเครื่อง การสา เนาข้อมูล การจัดการระบบของดิสก์ ชุดคา สั่งที่เขียนเป็นคา สั่งสา เร็จรูป 2.1.1 โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating System) เป็นโปรแกรมที่ใช้ควบคุม และติดต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะการจัดการระบบของดิสก์ การบริหารหน่วยความจา ของระบบ 2.1.2 ตัวแปลภาษา (Translator) จาก Source Code ให้เป็น Object Code (แปลจากภาษาที่มนุษย์เข้าใจ ให้เป็นภาษาที่เครื่องเข้าใจ เปรียบเสมือนล่ามแปลภาษา) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูง ซึ่ง เป็นภาษาใกล้เคียงภาษามนุษย์ ให้เป็นภาษาเครื่องก่อนที่จะนา ไปประมวลผล ตัวแปลภาษาแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ คอมไพเลอร์ (Compiler) และอินเตอร์พีทเตอร์ (Interpeter) 2.1.3 ยูติลิตี้ โปรแกรม (Utility Program) คือซอฟต์แวร์เสริมช่วยให้เครื่องทา งานมีประสิทธิภาพ มากขึ้น เช่น ช่วยในการตรวจสอบดิสก์ ช่วยในการจัดเก็บข้อมูลในดิสก์ ช่วยสา เนาข้อมูล ช่วยซ่อมอาการชา รุดของดิสก์ ช่วยค้นหาและกา จัดไวรัส ฯลฯ เป็นต้นโปรแกรมในกลุ่มนี้ได้แก่ โปรแกรม Norton Winzip Scan virus Sidekick Scandisk Screen Saver เป็นต้น 2.1.4 ติดตั้งและปรับปรุงระบบ (Diagonostic Program) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการติดตั้งระบบ เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อและใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่นา มาติดตั้งระบบ ได้แก่ โปรแกรม Setupและ Driver ต่าง ๆ เช่น โปรแกรม Setup Microsoft Office โปรแกรม Driver Sound , Driver Printer , Driver Scanner เป็นต้น 2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทา ให้คอมพิวเตอร์ทา งานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจา แนก ได้เป็น 2 ประเภท คือ 2.2.1 ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน (Special Purpose Software) คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทา งานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ บางที่เรียกว่า User’s Program เช่น โปรแกรมการทา บัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ โปรแกรมการทา สินค้าคงคลัง เป็นต้น 2.2.2 ซอฟต์แวร์สา หรับงานทั่วไป (General Purpose Software) เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทา ไว้ เพื่อใช้ในการทา งานประเภทต่างๆ ทั่วไป 3 บุคลากร ( Peopleware ) บุคลากรจะเป็นสิ่งสา คัญที่จะเป็นตัวกา หนดถึงประสิทธิภาพถึงความสา เร็จและความคุ้มค่าในการใช้งานคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถแบ่งบุคลากรตามหน้าที่เกี่ยวข้องตามลักษณะงานได้ 6 ด้าน ดังนี้
  • 10. 3.1 นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (Systems Analyst and Designer : SA ) ทา หน้าที่ศึกษาและรวบรวมความต้องการของผู้ใช้ระบบ และทา หน้าที่เป็นสื่อกลางระหว่างผู้ใช้ระบบและนักเขียนโปรแกรม (Programmer) หรือปรับปรุงคุณภาพงานเดิม นักวิเคราะห์ระบบต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ พื้นฐานการเขียนโปรแกรม และควรจะเป็นผู้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี 3.2 โปรแกรมเมอร์ ( Programmer ) คือบุคคลที่ทา หน้าที่เขียนซอฟต์แวร์ต่างๆ(Software )หรือเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงานให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทา งานตามความต้ องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้ 3.3 ผู้ใช้ ( User ) เป็นผู้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเป็นผู้ปฏิบัติหรือกา หนดความต้องการในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ว่าทา งานอะไรได้บ้าง ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป จะต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทา งานได้ตามที่ต้องการ 3.4 ผู้ปฏิบัติการ (Operator ) สา หรับระบบขนาดใหญ่ เช่น เมนเฟรม จะต้องมีเจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ที่คอยปิดและเปิดเครื่อง และเฝ้าดูจอภาพเมื่อมีปัญหาซึ่งอาจเกิดขัดข้อง จะต้องแจ้ง System Programmer ซึ่งเป็นผู้ดูแลตรวจสอบแก้ไขโปรแกรมระบบควบคุมเครื่อง (System Software) อีกทีหนึ่ง 3.5 ผู้บริหารฐานข้อมูล ( Database Administrator : DBA ) กลุ่มบุคคลที่ทา หน้าที่ดูแลข้อมูลผ่านระบบจัดการฐานข้อมูล ซึ่งจะควบคุมให้การทา งานเป็นไปอย่างราบรื่น 3.6 ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน เป็นผู้ที่มีความหมายต่อความสา เร็จหรือล้มเหลวของการนา ระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งานเป็นอย่างมาก 4. ข้อมูล ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แล้วใช้ตัวเลขตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ ต่างๆ ทา ความหมายแทนสิ่งเหล่านั้น ข้อมูล คือค่าของตัวแปรในเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ ที่อยู่ในความควบคุมของกลุ่มของสิ่งต่าง ๆ ข้อมูลในเรื่องการคอมพิวเตอร์ (หรือการประมวลผลข้อมูล) จะแสดงแทนด้วยโครงสร้างอย่างหนึ่ง ซึ่งมักจะเป็นโครงสร้างตาราง การเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงการเผยแพร่ความรู้ผ่านสื่อเน็ตเวิร์ค ในปัจจุบันเทคโนโลยีมีบทบาทสา คัญต่อการดา รงชีวิตของเราเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะระบบอินเตอร์เน็ต ซึ่งส่งผลดีต่อการเรียนรู้ของเยาวชนไทยใน ปัจจุบันระบบปฏิบัติการไม่ได้นา มาใช้งานกับคอมพิวเตอร์เท่านั้น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิคส์สมัยใหม่ต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ เครื่องเล่นเกมส์ หรือแม้กระทั่งเครื่องซักผ้า ก็มีระบบปฏิบัติการในการควบคุมการทา งานเช่นกัน แต่จะเป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาสา หรับอุปกรณ์นั้น ๆ โดยเฉพาะ
  • 11. 1. ข้อมูลที่เกี่ยวกับการ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ สื่อสังคมออนไลน์ (Social Network) หมายถึง สื่อหรือช่องทางในการติดต่อในลักษณะของการสื่อสารแบบสองทางผ่านระบบเครือ ข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นสื่อรูปแบบใหม่ (new media) ที่บุคคลทั่วไปสามารถนา เสนอและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารได้ด้วยตนเองออกสู่ สาธารณะโดยใช้อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารประเภทต่างๆ ในปัจจุบันมีแหล่งให้บริการเครือข่ายทางสังคมเกิด ขึ้นบนระบบเครือข่ายอิน เทอร์เน็ตเป็นจา นวนมาก ตัวอย่างเช่น Facebook, Twitter และกระดานข่าว(webboard) เป็นต้นเนื่อง จากสื่อสังคมออนไลน์ (Social Network) เป็นเครื่องมือที่มีทั้ง ประโยชน์และโทษที่ควรระวัง โดยเฉพาะข้อมูลข่าวสารบางอย่างที่เผยแพร่ออกสู่สาธารณะไปแล้ว อาจไม่สามารถ เรียกกลับคืนได้ และอาจก่อให้เกิดความเสียหายทั้งต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และต่อองค์กร 2. โปรแกรมที่ใช้ในการดาเนินงาน 2.1. โปรแกรม Microsoft Word ไมโครซอฟท์เวิร์ด (Microsoft Word) คือโปรแกรมประเภท word processor ที่ใช้เหมาะสาหรับการพิมพ์รายงาน พิมพ์จดหมาย หรือจะใช้ สา หรับแต่งนิยายก็ยังได้ เป็นหนึ่งในโปรแกรม ไมโครซอฟท์ออฟฟิศ ซึ่งมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง หลากหลายเวอร์ชัน แต่อย่างไรก็ตาม โดยหลักการ ถ้าเราศึกษาไมโครซอฟท์เวิร์ดเวอร์ชันใดเวอร์ชันหนึ่ง เราก็จะสามารถเรียนรู้เวอร์ชันอื่นๆ ได้ค่อนข้างง่ายเพราะส่วนใหญ่เวอร์ชันใหม่ๆ ก็จะการเปลี่ยนแปลงในลักษณะเพิ่มเติมเสียมากกว่าการลบออกไป 2.2. โปรแกรม Google chrome กูเกิล โครม (อังกฤษ: Google Chrome) เป็นซอฟต์แวร์เว็บเบราว์เซอร์แบบโอเพนซอร์ซ พัฒนาโดยกูเกิล ใช้เว็บคิตเป็นเรนเดอริงเอนจินสา หรับวาดหน้าจอ และนา บางส่วนจากเว็บเบราว์เซอร์ไฟร์ฟอกซ์มาพัฒนาต่อ
  • 12. โครมมีให้ดาวน์โหลดเพื่อทดสอบใช้งานสาหรับวินโดวส์ และมีภาษาที่ให้ใช้ได้มากกว่า50 ภาษารวมถึงภาษาไทย รุ่นสาหรับ แมคโอเอส และ ลินุกซ์ นั้นกา ลังอยู่ระหว่างการพัฒนา ซึ่งจะเปิดให้ทดสอบในอนาคต โครม เป็นตัวพัฒนาจากโค้ดของซอฟต์แวร์ โครเมียม ซึ่งใช้สัญลักษณ์เดียวกัน แต่คนละสี 2.3. โปรแกรม blogger โปรแกรม blogger หมายถึง เว็บไซต์ประเภทหนึ่ง ที่เจ้าของ หรือ Blogger สามารถบันทึกเรื่องราวของตนเองลงในเว็บได้ตลอดเวลา นอกจากนี้แล้ว Blog ยังเป็นพื้นที่ให้ Blogger โพสต์ข้อมูล หรือใส่ความรู้ประสบการณ์ เพื่อเป็นวิทยาทานให้คนอื่นๆ เช่น คุณหมอ เปิด บล็อกแนะนาเรื่องสุขภาพ เป็นต้น การสร้างเว็บบล็อกสามารถทา ได้ง่ายๆ ด้วยตัวเอง ไม่ซับซ้อน ไม่จา เป็นต้องรู้ภาษา HTML อย่างน้อยขอให้มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์ ภายในเว็บบล็อก จะมีระบบบริหารจัดการเว็บไซต์พื้นฐานให้แล้ว โดยการสร้างเครื่องมือสา หรับ เขียนเรื่อง โพสรูป จัดหมวดหมู่ และลูกเล่นอื่นๆ ที่ผู้จัดทา พยายามสร้างเพื่อดึงดูดผู้คนจากทั่วโลก ให้เข้าไปใช้บริการ เสน่ห์ของบล็อกอยู่ที่ผู้อ่านและผู้เขียนสามารถโต้ตอบกันได้ (Interactive) โดยการแสดงความคิดเห็นต่อท้ายที่เรื่องนั้นๆ ข้อแตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์ทั่วไป คือ บล็อกจะเปิดให้ผู้เข้ามาอ่านข้อมูล สามารถแสดงความคิดเห็นต่อท้ายข้อความที่เจ้าของบล็อกเป็นคนเขียน ซึ่งทา ให้ผู้เขียนสามารถได้ผลตอบกลับโดยทันทีในปัจจุบันบล็อก ถูกใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารรูปแบบใหม่ ไม่ว่าจะเป็นการประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ผลงาน ฯลฯ และกา ลังเป็นที่นิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยขณะนี้ได้มีผู้ให้บริการบล็อกมากมาย ทั้งแบบให้บริการฟรี และเสียค่าใช้จ่าย ตัวอย่างผู้ให้บริการ Blog เช่น Blogger บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดาเนินการ การจัดทา โครงงานคอมพิวเตอร์ การศึกษาระบบปฏิบัติการ มีวิธีการดา เนินโครงงานตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1.วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการศึกษาระบบปฏิบัติการ 1.1เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 1.2โปรแกรมที่ใช้ในการดา เนินงาน 1.3โปรแกรม Microsoft Word
  • 13. 2.ข้นัตอนการดาเนินงาน 2.1คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนออาจารย์ 2.2ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ คือเรื่องระบบปฏิบัติการ และศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพียงใดจากเว็บไซต์ต่าง ๆ และจัดเก็บข้อมูลเพื่อจักทา เนื้อหาดังต่อไป 2.3ศึกษาการใช้ระบบปฏิบัติการ 2.4จักทา โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อนา เสนออาจารย์ 2.5จักทา โครงงานคอมพิวเตอร์การศึกษาเรื่องระบบปฏิบัติการ โดยสร้างบทเรียนที่สนใจตามแบบเสนอโครงร่างที่เสนอ 2.6นา เสนอรายงานความก้าวหน้าให้อาจารย์ได้ตรวจสอบ ซึ่งอาจารย์จะให้ข้อเสนอต่าง ๆ เพื่อให้จัดทา เนื้อหาและการนา เสนอที่น่าสนใจ ทั้งนี้เมื่อได้รับแนะนา ก็จะนา มาปรับปรุงแก้ไขให้เป็นที่น่าสนใจ 2.7จัดทา เอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 2.8ประเมินผลงานโดยให้อาจารย์ประเมินผลงานและให้เพื่อนผู้ที่สนใจร่วมประเมิน บทที่ 4 ผลการดาเนินโครงงาน ในการศึกษางานครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงสา รวจเพื่อศึกษา”ความพึงพอใจในการเพื่อเผยแพร่ บทความรู้ออนล์ไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (Operating System)” ซึ่งประกอบไปด้วย 1.วิชา ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น (2204-2002) 2.วิชา โปรแกรมประมวลผลคา (2204-2108) 3.วิชา คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ(2001-2001) รวม 3 รายวิชาดังกล่าว โดยการบูรณาการร่วมกัน เป็นการเก็บข้อมูลจากกลุ้มนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
  • 14. ห้อง พณ. 1/12 ผู้จัดทา ขอนา เสนองาน รวม Blogspot ทุกชั้นเรียน ระดับ ปวช. แผนกคอมพิวเตอร์ ผู้จัดทา ได้จัดทา ของครู ธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์ http://kvcthidarat.blogspot.com/ ซึ่งรวมทุก Blogspot ในระดับชั้น ปวช.1 แผนก สาขาคอมพิวเตอร์ผู้จัดทา ได้จัดทา Blogspot เพื่อเผยแพร่ ความรู้ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (Operating System) http://kvcthidarat.blogspot.com/ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยจา แนกรายละเอียด ตามวิธีการศึกษาข้อมูลดังนี้ Blogspot ของครูธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์ รวมทุก Blogspot ของ นัเรียน ระดับ ปวช. แผนกคอมพิวเตอร์ธุระกิจ
  • 15. Blogspot http://kvcthidarat.blogspot.com/ ซึ่งเป็นของ คณะผู้จัดทา ได้ทา บทความรู้ออนล์ไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (Operating System) และใน Blogspot ได้นา เอาบทความรู้ออนล์ไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ(Operating System) ลงในบทความ โดยการแปลง File จาก โปรแกรม Microting Word เป็น Pdf file เพื่อ Upload ลงใน Website : slideshare.net บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงานและข้อเสนอแนะ การจักทา โครงงานคอมพิวเตอร์ การศึกษาเรื่องระบบปฏิบัติการ นี้สรุปผลการดา เนินงานโครงงานและข้อเสนอแนะ ได้ดังนี้ 1.สรุปผลการศึกษาระบบปฏิบัติการ ผู้จักทา ได้ศึกษาเรื่องระบบปฏิบัติการ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1.1แบบบทสอบก่อนเรียน 1.2เนื้อหาบทเรียน
  • 16. 1.3แบบทดสอบหลังเรียน 1.4ใบความรู้ บรรณานุกรม ความสา คัญของคอมพิวเตอร์ https://sites.google.com/site/operatingsystemeng1/khwam-hmay-khxng-rabb-ptibati-kar หนังสือวิชาระบบปฏิบัติการเบื้องต้น หนังสือวิชาประมวลผลคา หนังสือวิชาคอมสารสนเทศเพื่องานอาชีพ