SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น (การทาขนมตาล)
บทคัดย่อ
ขนมตาล เป็นขนมไทยแท้ดั้งเดิม และเริ่มหาซื้อรับประทานยากขึ้น ตามจานวนของต้นตาล
ที่นับวันจะลดน้อยลงไป ความเด่นของขนมตาล อยู่ที่ความหอมหวลของน้าคั้นจากผลตาลสุก
งอม ความหวานมันที่ได้จาก มะพร้าวขูดเป็นเส้นโรยอยู่หน้าขนม ว่ากันว่าที่ใดมีต้นตาลที่นั่น
ต้องมี ขนมตาล เพราะต้นตาลเป็นไม้ยืนต้นที่ให้ประโยชน์กับคนไทยมากมาย นับแต่ลูกตาลเนื้อ
นิ่มใสหวานชื่นใจ ที่จะรับประทานสด ๆ หรือนาไปเชื่อม รับประทานกับน้าแข็งก็อร่อยไม่แพ้
กัน จาวตาล หรือส่วนที่อยู่ด้านใน ของเมล็ดตาลที่แก่จัด เฉาะเอามาเชื่อมกับน้าตาลก็
รับประทานได้แถมน้า หวานที่ได้จากงวงตาลก็นามาทาน้าตาลโตนด ที่มีความหอมและหวาน
แหลมอย่างที่น้าตาลทรายก็สู้ไม่ได้คนไทยนิยมเอามาปรุงอาหารไทย
การทาขนมหวานไทยให้ดี ต้องประกอบด้วยปัจจัยหลายอย่าง คือ ต้องมีใจรัก ชอบทามี
ความอดทนตั้งใจมีความพิถีพิถันในการประดิษฐ์ให้ขนมมีรูปร่างที่น่ารับประทาน ขนมหวาน
ไทยบางชนิดต้องฝึกทาหลายๆ ครั้งจึงจะได้ลักษณะที่ดี ประสบการณ์ และความชานาญในการ
ทาบ่อย ๆ ผู้ประกอบขนมหวานไทย จะประสบความสาเร็จในการทา
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเล่มนี้จะสาเร็จไปมิได้หากไม่ได้รับความสนับสนุน และคาปรึกษาจาก อาจารย์
พรทิพย์มหันตมรรค และขอขอบพระคุณ คุณปราณี พรหมทอง และผู้ปกครองที่คอยเป็น
กาลังใจ จนโครงงานเล่มนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี หากเนื้อหาในโครงงานเล่มนี้มีข้อผิดพลาด
ประการใด ขออภัยไว้ณ ที่นี้ด้วย
บทที่ 1
บทนา
แนวคิดที่มาและความสาคัญ
สืบเนื่องมาจากมีความชื่นชอบในขนมตาล ซึ่งในปัจจุบันขนมตาลเป็นขนมที่หากินได้
ยากและกระบวนการทาส่วนผสมมีความยุ่งยาก ส่วนต้นทุนในการลงทุนสูงแต่ได้กาไรน้อย
เพราะส่วนมากในกลุ่มลูกค้าโดยทั่วไปจะเป็นผู้สูงอายุ แต่เด็กวัยรุ่นส่วนใหญ่ไม่นิยมบริโภค
ขนมตาลเพราะไม่ทราบว่ามันคือขนมอะไร รสชาติเป็นยังไง และรูปลักษณ์การบรรจุภัณฑ์ไม่น่า
ดึงดูดใจเหมือนขนมขบเคี้ยวทั่วไป จึงทาให้ดิฉันมีความสนใจในการทาโครงงานเรื่องการทา
ขนมตาลเพื่ออนุรักษ์การทาขนมไทยและเพื่อเป็นประโยชน์ในการประการอาชีพ
วัตถุประสงค์
1.จัดทาขึ้นเพื่ออนุรักษ์และสืบทอดการทาขนมตาล
2.จัดทาขึ้นเพื่อได้รู้วิธีการทาขนมตาล
3.สามารถนาไปเผื่อแพร่ให้กับผู้ที่สนใจเกี่ยวกับวิธีการทา
หลักการและทฤษฎี
เนื่องจากเด็กไทยสมัยนี้มีความนิยมจากชาติตะวันตกมากจนเกินไป จนลืมไปความเป็น
ไทยว่าไทยเราก็มีของดีเยอะมากมาย เช่น เสื้อผ้าการแต่งกาย สถานที่ท่องเที่ยว และอาหารไทย
(ขนมตาล) ข้าพเจ้าได้มองเห็นความสาคัญของอาหารไทย(ขนมตาล) จึงได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูล
เพื่อที่จะสืบทอดของไทย
ขอบเขตของโครงงาน
1.ศึกษาค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต
2.ศึกษาค้นคว้าจาก คุณปราณี พรหมทอง
สถานที่
ต.ปากน้า อ.เมือง จ.กระบี่
ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้ทาเป็นอาชีพเสริมเพื่อหารายได้เพิ่มขึ้น
2.ได้มีประสบการณ์ในการลงพื้นที่ได้มากขึ้นกว่าเดิม
3.ได้รักษาอรุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นนี้ไว้เพื่อให้เยาวชนรุ่นหลัง
4.ได้ใช้เวลาว่างให้เกินประโยชน์
5.เพื่อนาความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้แก่ผู้ที่สนใจ
6.เพื่อฝึกการทางานเป็นกลุ่ม
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
จากบทสัมภาษณ์
คุณปราณี พรหมทอง
ขนมตาลเป็นขนมที่มีรสชาติหวาน มัน ขั้นตอนในการทานั้นมีความยากพอสมควร
ปัจจุบันขนมตาลจะหานามารับประทานนั้นก็ยากขึ้น เพราะวัตถุดิบในการทาเริ่มมีปริมาณลดลง
และคนที่ทาขายส่วนใหญ่จะเป็นผู้สูงอายุ เด็กวัยรุ่นสมัยใหม่ก็ไม่ค่อยนิยมซื้อไปบริโภค อาจ
เพราะเหตุว่า เป็นขนมที่ไม่ทันสมัย จึงไม่นิยมบริโภค
วัตถุดิบในการทา
1. ลูกตาลสุก 2. ข้าวสารเก่า 3. แป้ง 4. น้าตาลทราย
5. หัวกะทิ 6.มะพร้าวทึกขูดฝอย 7. เกลือป่น
บทที่ 3
วิธีการดาเนินงาน
วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า
การศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยได้ดาเนินการศึกษาค้นคว้าตามลาดับดังต่อไปนี้
1. ขั้นศึกษาข้อมูล
1.1 ขั้นสารวจและศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง โดยการสารวจและศึกษาเอกสารที่ให้ความรู้
เกี่ยวกับเรื่องการทาขนมตาล
1.2 ศึกษาวัตถุดิบและส่วนประกอบการทาขนมตาล
2. ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล
2.1ได้มีการเก็บรวมรวมข้อมูลจากการสารวจและศึกษาจากเอกสารที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องการทาขนมตาล
2.2ได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากการได้สังเกต และสัมภาษณ์
3. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล
นาข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาศึกษา และวิเคราะห์ตามวัตถุประสงค์และเรียบเรียงนาเสนอ
ในเชิงความเรียง
อุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต
1.ลูกตาลสุก
2. ข้าวสารเก่า
3. แป้ง
4. น้าตาลทราย
5. หัวกะทิ
6. มะพร้าวทึกขูดฝอย
7. เกลือป่น
บทที่ 4
ผลการศึกษา
ขั้นตอนการผลิต
1.อันดับแรกต้องลอกเปลือกลูกตาลออกให้หมด แล้วขูดเอาเนื้อสีเหลืองออก ตัวลูกตาลแช่น้าไว้จนเนื้อลูกตาลละลายออกหมด ใช้ผ้าห่อเนื้อลูก
ตาล และน้าที่ละลายผูกมัดปากรวมไว้ให้แน่นแขวนหรือทับไว้ให้แห้ง
ลูกตาลสุก ล้าง ปอก ขูดเนื้อตาลออก
เนื้อตาลที่ได้ ส่วนเมล็ดตาลนาไปขยากับน้าให้เนื้อออกให้
กรองด้วยกระชอน แล้วกรองด้วยถุงผ้าขาวหนา แขวนไว้ให้น้าตกจนหมด ทาก่อนใช้ 1 คืน
2. โม่ข้าวสารที่แช่น้าไว้ให้ละเอียด แล้วทับให้แห้ง
3. จากนั้นผสมข้าวสารที่โม่และทับจนแห้งแล้ว รวมกับแป้งท้าวยายม่อม และลูกตาลที่ทับจน
แห้งแล้วนวดส่วนผสมทั้งหมด เข้าด้วยกันจนแป้งที่ผสมเนียนและนุ่มมือ(ประมาณ 30-60 นาที)
ใส่น้าตาลสลับกับหัวกะทิ นวดจนหัวกะทิและน้าตาล ละลายหมด พักไว้ประมาณ 5-10 ชั่วโมง
นาเนื้อตาลที่ได้มานวดกับแป้ งแล้วเติมกะทิ(ผสมกับน้าตาลทรายตั้งไฟให้เดือดพักให้เย็น)
นวดเนื้อลูกตาลกับแป้ งข้าวเจ้าให้เข้ากัน แล้วค่อยๆเติมกะทิที่เคี่ยวไว้จนหมด
เมื่อเติมกะทิจนหมดได้ลักษณะดังภาพ ปิดฝาพักไว้ 4-5 ชั่วโมงจนขึ้นฟู (เป็นฟองปุดๆๆ)
4. ขั้นตอนรองสุดท้ายให้ตักแป้ งที่ผสมแล้วใส่กระทงหรือถ้วยตะไล โรยมะพร้าว แล้วนึ่งให้สุก
ยกลงถ้าใส่ถ้วยตะไลรอให้เย็นก่อนแล้วจึงนาออกจากถ้วยจัดใส่ภาชนะ
บทที่ 5
สรุปผลการศึกษา
การวิจัยเรื่องการทาขนมตาล ทาให้ได้รู้ถึงรู้หลักวิธีการทา และวัฒนธรรมการการ
อนุรักษ์ของชุมชนในท้องถิ่นภาคใต้อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะที่สมควรรับการส่งเสริม และ
อนุรักษ์ตลอดไป
จากการศึกษาพบว่า ขนมตาล เป็นขนมไทยที่นิยมกินกันมาตั้งแต่โบราณ โดยให้นา
สิ่งแวดล้อมความเป็นธรรมชาติมาพัฒนาปรับปรุง เพื่อให้เข้ากับชุมชน การทาขนมตาลเป็นอีก
ภูมิปัญญาหนึ่งที่เราควร อนุรักษ์ถึงวัฒนธรรมของชุมชนที่ได้สะท้อนความเป็นอยู่ของชาวบ้าน
ในท้องถิ่นตามที่ผู้วิจัยได้ทาการศึกษา
ประโยชน์ที่ได้รับ
1.ได้ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการทาขนมตาล
2. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม และรักษา
ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของท้องถิ่น
3. .ทราบว่าท้องถิ่นใด ที่ยังมีความนิยมขนมตาลอยู่
ข้อเสนอแนะ
การวิจัยเรื่องขนมตาล เพื่อประกอบการศึกษาข้อมูล ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะดังต่อไปนี้
1. ข้อเสนอแนะทั่วไป
1.1 ควรจะนาผลจากการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ไปปรับใช้ หรือบอกต่อคนในชุมชนอื่นๆที่
สนใจเพื่อการอนุรักษ์และสืบสานต่อไป
1.2 ควรจะนาผลการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้เผยแพร่ให้กับบุคคลที่สนใจ เพื่อนาไปพัฒนา
ปรับปรุง เพื่อให้เข้ากับชุมชน
2. ข้อเสนอแนะเพื่อการทาวิจัยครั้งต่อไป
2.1 ควรจะได้ศึกษา รูปแบบวิถีชีวิตว่าการประกอบอาชีพเป็นอย่างไร และควรจะศึกษา
ข้อแตกต่างจากหลายๆชุมชนเพิ่มเติม

More Related Content

What's hot

โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
Nontagan Lertkachensri
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
พัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
พัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
พัน พัน
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
พัน พัน
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
Rawinnipha Joy
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
Chok Ke
 

What's hot (20)

โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 

Viewers also liked

โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)
โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)
โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)
Wasan Woonson
 
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่
ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
sukanya5729
 

Viewers also liked (7)

รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)
โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)
โครงงาน การสานสาด(เสื่อ)
 
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่
 
สบู่ก้อนถ่านไม้ไผ่
สบู่ก้อนถ่านไม้ไผ่สบู่ก้อนถ่านไม้ไผ่
สบู่ก้อนถ่านไม้ไผ่
 
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 

โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น

  • 1. โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น (การทาขนมตาล) บทคัดย่อ ขนมตาล เป็นขนมไทยแท้ดั้งเดิม และเริ่มหาซื้อรับประทานยากขึ้น ตามจานวนของต้นตาล ที่นับวันจะลดน้อยลงไป ความเด่นของขนมตาล อยู่ที่ความหอมหวลของน้าคั้นจากผลตาลสุก งอม ความหวานมันที่ได้จาก มะพร้าวขูดเป็นเส้นโรยอยู่หน้าขนม ว่ากันว่าที่ใดมีต้นตาลที่นั่น ต้องมี ขนมตาล เพราะต้นตาลเป็นไม้ยืนต้นที่ให้ประโยชน์กับคนไทยมากมาย นับแต่ลูกตาลเนื้อ นิ่มใสหวานชื่นใจ ที่จะรับประทานสด ๆ หรือนาไปเชื่อม รับประทานกับน้าแข็งก็อร่อยไม่แพ้ กัน จาวตาล หรือส่วนที่อยู่ด้านใน ของเมล็ดตาลที่แก่จัด เฉาะเอามาเชื่อมกับน้าตาลก็ รับประทานได้แถมน้า หวานที่ได้จากงวงตาลก็นามาทาน้าตาลโตนด ที่มีความหอมและหวาน แหลมอย่างที่น้าตาลทรายก็สู้ไม่ได้คนไทยนิยมเอามาปรุงอาหารไทย การทาขนมหวานไทยให้ดี ต้องประกอบด้วยปัจจัยหลายอย่าง คือ ต้องมีใจรัก ชอบทามี ความอดทนตั้งใจมีความพิถีพิถันในการประดิษฐ์ให้ขนมมีรูปร่างที่น่ารับประทาน ขนมหวาน ไทยบางชนิดต้องฝึกทาหลายๆ ครั้งจึงจะได้ลักษณะที่ดี ประสบการณ์ และความชานาญในการ ทาบ่อย ๆ ผู้ประกอบขนมหวานไทย จะประสบความสาเร็จในการทา กิตติกรรมประกาศ โครงงานเล่มนี้จะสาเร็จไปมิได้หากไม่ได้รับความสนับสนุน และคาปรึกษาจาก อาจารย์ พรทิพย์มหันตมรรค และขอขอบพระคุณ คุณปราณี พรหมทอง และผู้ปกครองที่คอยเป็น กาลังใจ จนโครงงานเล่มนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี หากเนื้อหาในโครงงานเล่มนี้มีข้อผิดพลาด ประการใด ขออภัยไว้ณ ที่นี้ด้วย บทที่ 1 บทนา แนวคิดที่มาและความสาคัญ
  • 2. สืบเนื่องมาจากมีความชื่นชอบในขนมตาล ซึ่งในปัจจุบันขนมตาลเป็นขนมที่หากินได้ ยากและกระบวนการทาส่วนผสมมีความยุ่งยาก ส่วนต้นทุนในการลงทุนสูงแต่ได้กาไรน้อย เพราะส่วนมากในกลุ่มลูกค้าโดยทั่วไปจะเป็นผู้สูงอายุ แต่เด็กวัยรุ่นส่วนใหญ่ไม่นิยมบริโภค ขนมตาลเพราะไม่ทราบว่ามันคือขนมอะไร รสชาติเป็นยังไง และรูปลักษณ์การบรรจุภัณฑ์ไม่น่า ดึงดูดใจเหมือนขนมขบเคี้ยวทั่วไป จึงทาให้ดิฉันมีความสนใจในการทาโครงงานเรื่องการทา ขนมตาลเพื่ออนุรักษ์การทาขนมไทยและเพื่อเป็นประโยชน์ในการประการอาชีพ วัตถุประสงค์ 1.จัดทาขึ้นเพื่ออนุรักษ์และสืบทอดการทาขนมตาล 2.จัดทาขึ้นเพื่อได้รู้วิธีการทาขนมตาล 3.สามารถนาไปเผื่อแพร่ให้กับผู้ที่สนใจเกี่ยวกับวิธีการทา หลักการและทฤษฎี เนื่องจากเด็กไทยสมัยนี้มีความนิยมจากชาติตะวันตกมากจนเกินไป จนลืมไปความเป็น ไทยว่าไทยเราก็มีของดีเยอะมากมาย เช่น เสื้อผ้าการแต่งกาย สถานที่ท่องเที่ยว และอาหารไทย (ขนมตาล) ข้าพเจ้าได้มองเห็นความสาคัญของอาหารไทย(ขนมตาล) จึงได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูล เพื่อที่จะสืบทอดของไทย ขอบเขตของโครงงาน 1.ศึกษาค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต 2.ศึกษาค้นคว้าจาก คุณปราณี พรหมทอง สถานที่ ต.ปากน้า อ.เมือง จ.กระบี่ ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.ได้ทาเป็นอาชีพเสริมเพื่อหารายได้เพิ่มขึ้น
  • 3. 2.ได้มีประสบการณ์ในการลงพื้นที่ได้มากขึ้นกว่าเดิม 3.ได้รักษาอรุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นนี้ไว้เพื่อให้เยาวชนรุ่นหลัง 4.ได้ใช้เวลาว่างให้เกินประโยชน์ 5.เพื่อนาความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้แก่ผู้ที่สนใจ 6.เพื่อฝึกการทางานเป็นกลุ่ม บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง จากบทสัมภาษณ์ คุณปราณี พรหมทอง ขนมตาลเป็นขนมที่มีรสชาติหวาน มัน ขั้นตอนในการทานั้นมีความยากพอสมควร ปัจจุบันขนมตาลจะหานามารับประทานนั้นก็ยากขึ้น เพราะวัตถุดิบในการทาเริ่มมีปริมาณลดลง และคนที่ทาขายส่วนใหญ่จะเป็นผู้สูงอายุ เด็กวัยรุ่นสมัยใหม่ก็ไม่ค่อยนิยมซื้อไปบริโภค อาจ เพราะเหตุว่า เป็นขนมที่ไม่ทันสมัย จึงไม่นิยมบริโภค วัตถุดิบในการทา 1. ลูกตาลสุก 2. ข้าวสารเก่า 3. แป้ง 4. น้าตาลทราย 5. หัวกะทิ 6.มะพร้าวทึกขูดฝอย 7. เกลือป่น บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า การศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยได้ดาเนินการศึกษาค้นคว้าตามลาดับดังต่อไปนี้ 1. ขั้นศึกษาข้อมูล 1.1 ขั้นสารวจและศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง โดยการสารวจและศึกษาเอกสารที่ให้ความรู้ เกี่ยวกับเรื่องการทาขนมตาล
  • 4. 1.2 ศึกษาวัตถุดิบและส่วนประกอบการทาขนมตาล 2. ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล 2.1ได้มีการเก็บรวมรวมข้อมูลจากการสารวจและศึกษาจากเอกสารที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องการทาขนมตาล 2.2ได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากการได้สังเกต และสัมภาษณ์ 3. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล นาข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาศึกษา และวิเคราะห์ตามวัตถุประสงค์และเรียบเรียงนาเสนอ ในเชิงความเรียง อุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต 1.ลูกตาลสุก 2. ข้าวสารเก่า 3. แป้ง 4. น้าตาลทราย 5. หัวกะทิ 6. มะพร้าวทึกขูดฝอย 7. เกลือป่น บทที่ 4 ผลการศึกษา ขั้นตอนการผลิต 1.อันดับแรกต้องลอกเปลือกลูกตาลออกให้หมด แล้วขูดเอาเนื้อสีเหลืองออก ตัวลูกตาลแช่น้าไว้จนเนื้อลูกตาลละลายออกหมด ใช้ผ้าห่อเนื้อลูก ตาล และน้าที่ละลายผูกมัดปากรวมไว้ให้แน่นแขวนหรือทับไว้ให้แห้ง ลูกตาลสุก ล้าง ปอก ขูดเนื้อตาลออก
  • 5. เนื้อตาลที่ได้ ส่วนเมล็ดตาลนาไปขยากับน้าให้เนื้อออกให้ กรองด้วยกระชอน แล้วกรองด้วยถุงผ้าขาวหนา แขวนไว้ให้น้าตกจนหมด ทาก่อนใช้ 1 คืน 2. โม่ข้าวสารที่แช่น้าไว้ให้ละเอียด แล้วทับให้แห้ง 3. จากนั้นผสมข้าวสารที่โม่และทับจนแห้งแล้ว รวมกับแป้งท้าวยายม่อม และลูกตาลที่ทับจน แห้งแล้วนวดส่วนผสมทั้งหมด เข้าด้วยกันจนแป้งที่ผสมเนียนและนุ่มมือ(ประมาณ 30-60 นาที) ใส่น้าตาลสลับกับหัวกะทิ นวดจนหัวกะทิและน้าตาล ละลายหมด พักไว้ประมาณ 5-10 ชั่วโมง นาเนื้อตาลที่ได้มานวดกับแป้ งแล้วเติมกะทิ(ผสมกับน้าตาลทรายตั้งไฟให้เดือดพักให้เย็น) นวดเนื้อลูกตาลกับแป้ งข้าวเจ้าให้เข้ากัน แล้วค่อยๆเติมกะทิที่เคี่ยวไว้จนหมด
  • 6. เมื่อเติมกะทิจนหมดได้ลักษณะดังภาพ ปิดฝาพักไว้ 4-5 ชั่วโมงจนขึ้นฟู (เป็นฟองปุดๆๆ) 4. ขั้นตอนรองสุดท้ายให้ตักแป้ งที่ผสมแล้วใส่กระทงหรือถ้วยตะไล โรยมะพร้าว แล้วนึ่งให้สุก ยกลงถ้าใส่ถ้วยตะไลรอให้เย็นก่อนแล้วจึงนาออกจากถ้วยจัดใส่ภาชนะ บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา การวิจัยเรื่องการทาขนมตาล ทาให้ได้รู้ถึงรู้หลักวิธีการทา และวัฒนธรรมการการ อนุรักษ์ของชุมชนในท้องถิ่นภาคใต้อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะที่สมควรรับการส่งเสริม และ อนุรักษ์ตลอดไป จากการศึกษาพบว่า ขนมตาล เป็นขนมไทยที่นิยมกินกันมาตั้งแต่โบราณ โดยให้นา สิ่งแวดล้อมความเป็นธรรมชาติมาพัฒนาปรับปรุง เพื่อให้เข้ากับชุมชน การทาขนมตาลเป็นอีก ภูมิปัญญาหนึ่งที่เราควร อนุรักษ์ถึงวัฒนธรรมของชุมชนที่ได้สะท้อนความเป็นอยู่ของชาวบ้าน ในท้องถิ่นตามที่ผู้วิจัยได้ทาการศึกษา ประโยชน์ที่ได้รับ
  • 7. 1.ได้ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการทาขนมตาล 2. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ชุมชนมีบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม และรักษา ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของท้องถิ่น 3. .ทราบว่าท้องถิ่นใด ที่ยังมีความนิยมขนมตาลอยู่ ข้อเสนอแนะ การวิจัยเรื่องขนมตาล เพื่อประกอบการศึกษาข้อมูล ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะดังต่อไปนี้ 1. ข้อเสนอแนะทั่วไป 1.1 ควรจะนาผลจากการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ไปปรับใช้ หรือบอกต่อคนในชุมชนอื่นๆที่ สนใจเพื่อการอนุรักษ์และสืบสานต่อไป 1.2 ควรจะนาผลการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้เผยแพร่ให้กับบุคคลที่สนใจ เพื่อนาไปพัฒนา ปรับปรุง เพื่อให้เข้ากับชุมชน 2. ข้อเสนอแนะเพื่อการทาวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรจะได้ศึกษา รูปแบบวิถีชีวิตว่าการประกอบอาชีพเป็นอย่างไร และควรจะศึกษา ข้อแตกต่างจากหลายๆชุมชนเพิ่มเติม