SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
18

ใบความรูที่ 4.1
เรื่อง ความรูเกี่ยวกับสตอรี่บอรด (Storyboard)
แผนการจัดการเรียนรูที่ 4
เรื่อง การเขียนสตอรี่บอรด (Storyboard)
รายวิชา คอมพิวเตอรมัลติมิเดีย
รหัสวิชา ง30201

หนวยการเรียนรูที่ 2
เวลา 10 นาที

ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนสตอรี่บอรด (Storyboard)

การเขียนสตอรี่บอรด (Storyboard)
หลายคนอาจจะกลัววา ตัวเองวาดรูปไมเกงแลวจะวาดสตอรีบอรดไมได ไมเปน ความจริง
่
การวาดสตอรี่บอรดเปนเพียงรูปทีวาดงาย ๆ ก็ได โดยมีจดมุงหมายเพื่อถายทอดไอเดีย (Idea) หรือ
่
ุ
แนวความคิดวา ภาพควรออกมาอยางไรบนจอภาพ
การเขียนสตอรี่บอรด แตกตางจากการวาดภาพการตูน หรือ ภาพที่เนนความสวยงามแบบ
ศิลปะ เปนการรางภาพอยางคราว ๆ เทานัน วัตถุประสงคเพื่อนําไปสรางเปน ภาพเคลือนไหว เชน
้
่
ภาพยนตร การตูน โฆษณา สารคดี เปนตน โดยคํานึงถึงมุมกลอง อาจมีบทสนทนาหรือไมมี
บทสนทนาก็ได
ความหมายของสตอรี่บอรด (Storyboard)
สตอรี่บอรด คือ การเขียนภาพนิ่งเพื่อสรางเปนภาพเคลื่อนไหวในรูปของสื่อ มัลติมีเดีย
(Multimedia) หรือ สื่อประสม หมายถึง สื่อหลายแบบ เปนการใชสื่อในหลาย รูปแบบ ทั้งขอความ
เสียง รูปภาพหรือภาพเคลื่อนไหว เพื่อกําหนดแนวทางใหทีมผลิตเกิดความเขาใจไปในแนวทาง
เดียวกันในการถายทําเปนภาพเคลื่อนไหวรูปแบบตาง ๆ ไดแก ภาพยนตร ภาพยนตรโฆษณา
ภาพยนตรสั้น ภาพยนตรการตูน ภาพยนตรสารคดี หรือแมแต การทําผลงาน โดยแสดงออกถึง
ความตอเนื่องของการเลาเรื่อง
จุดประสงคของสตอรี่บอรด
จุดประสงคของสตอรี่บอรด คือ เพื่อการเลาเรือง ลําดับเรื่อง มุมกลอง ภาพไมจําเปนตอง
่
ละเอียดมาก แคบอกองคประกอบสําคัญได ตําแหนงตัวละครที่สมพันธกับฉากและตัวละครอื่น ๆ
ั
มุมกลอง แสงเงา เปนการสเก็ตซภาพของเฟรม (Shot) ตาง ๆ จากบทเหมือนการตนและวาด
ู
ตัวละครเปนวงกลม สีเ่ หลียม ฉากเปนสีเ่ หลียม การสรางสตอรีบอรดจะชวยใหผกํากับไดเห็นภาพ
่
่
่
ู
ของรายการทีจะถายทําเปนรูปธรรมชัดเจนขึนไดในแตละเฟรมที่จะดําเนินการ
่
้
19

สวนประกอบของสตอรี่บอรด
สตอรี่บอรด ประกอบดวยชุดของภาพโครงรางของตอนตาง ๆ พรอมคําบรรยายหรือบท
สนทนาในเรื่อง อาจเขียนเรื่องยอและบทกอน หรือรางภาพกอน แลวจึงใสคําบรรยายที่จําเปนลงไป
สิ่งสําคัญที่ตองพิจารณาคือ ภาพและเสียงตองใหไปดวยกันได อาจมีบทสนทนาหรือไมมีบท
สนทนาก็ได หรืออาจมีบทบรรยายหรือไมมีบทบรรยายก็ได โดยอาจมีเสียงประกอบดวย ไดแก
เสียงดนตรี เสียงธรรมชาติหรือ เสียงอื่น ๆ สําหรับการผลิต รายการที่สั้น ๆ อยางภาพยนตรโฆษณา
สามารถทําโดยใชสตอรีบอรดเปนหลัก ไมตองเขียนบทหรือเขียนสคริปตขึ้นมา
่
การทําสตอรี่บอรด
การทําสตอรีบอรดเปนการสรางตารางขึนมาเพื่อรางภาพลงไปตามลําดับ ขั้นตอนของเรื่อง
่
้
ตั้งแตตนจนจบ เพื่อใหทก ๆ ฝายสามารถมองเห็นภาพรวมของงานที่จะลงมือทําไดลวงหนา ซึ่งหาก
ุ
มีขอที่ตองแกไขใด ๆ เกิดขึ้นก็สามารถแกไขเปลี่ยนแปลงได และทําสตอรี่บอรดใหมได การทํา
สตอรี่บอรดนั้นโดยหลักแลว จะเปนตนแบบของการนําไปสรางภาพจริง และเปนตัวกําหนดในการ
ทํางานอื่น ๆ ไปดวยเชน เสียงพากย เสียงดนตรี เสียง ประกอบอื่น ๆ จึงเปนการรางภาพ พรอมกับ
การระบุรายละเอียดที่จําเปนทีตองทําลงไป
่
หลักการเขียนสตอรี่บอรด
รูปแบบของสตอรี่บอรด จะประกอบไปดวย 2 สวนคือ สวนเสียงกับสวนภาพโดยปกติ
การเขียน สตอรี่บอรด 24 เฟรม คือภาพ 24 ภาพ เมื่อถายทําเปนภาพยนตรใช เวลา 1 นาที ถาเปน
ภาพยนตรโฆษณา ในเวลา 30 วินาที ตองเขียน 12 เฟรม การเขียนบท บรรยายจะเปนสวน
สนับสนุนการนําเสนอภาพ ไมใชการนําเสนอบทบรรยายนั้น ความยาวของคําบรรยายมีหลักการใน
การจัดทํา 3 ประการคือ
1. ตองเหมาะสมกับลักษณะของผูชม
2. ตองมีความยาวพอที่จะครอบคลุมวัตถุประสงคทกําหนด
ี่
3. ตองใหสั้นที่สุดเทาที่จะทําได
สิ่งสําคัญที่อยูในสตอรี่บอรด ประกอบดวย
1. Subject หรือ Character ไมวาจะเปนคน สัตว สิ่งของ สถานที่ หรือ ตัวการตูน และที่
สําคัญคือ สิ่งเหลานั้นกําลังเคลื่อนไหวอยางไร
2. กลอง ทั้งในเรื่องของขนาดภาพ มุมภาพและการเคลื่อนกลอง
3. เสียง การพูดกันระหวางตัวละคร มีเสียงประกอบหรือ เสียงดนตรีอยางไร
20

วิธีเขียน Storyboard
กอนลงมือเขียนสตอรี่บอรดใหวางเคาโครงเรื่อง กําหนดจํานวนฉาก แลวจึงจะลงมือเขียน
สตอรี่บอรดซึ่งในการเขียนใหเราคิดวา เรากําลังจะดูภาพยนตร และใหเราคิดวาเราอยากเห็นภาพ
อะไรในจอ แลววาดออกมาเปนการตนโดยไมตองเนนความสวยงาม แตใหคํานึงถึงองคประกอบ
ู
ของภาพ เชน ตําแหนงของตัวละคร มุมกลอง ฉาก เสียง แสงเงา การเคลื่อนไหว เปนตน
ตัวอยางสตอรี่บอรด
ตัวอยางที่ 1

(ที่มาจาก http://province.m-culture.go.th/trat/storyboard2553/3.pdf)
21

ตัวอยางที่ 2
ตัวอยาง Storyboard การตูนเรืองกระตายกับเตา
่

(ที่มาจาก http://province.m-culture.go.th/trat/storyboard2553/3.pdf)
22

ตัวอยางแบบสําหรับเขียนสตอรีบอรด
่
ตัวอยางแบบที่ 1

(ที่มาภาพ http://kroosuveera.blogspot.com/p/blog-page_235.html)
ตัวอยางแบบที่ 2

(ที่มาภาพ http://krutu.mycom108.com/tip-flash/)
23

ตัวอยางแบบที่ 3

(ที่มาภาพ http://cafe.monkiezgrove.com/2009/09/21/how-to-make-story-board-withmonkiezgrove/)
24

ตัวอยางแบบที่ 4

(ที่มาภาพ http://www.e-lat.or.th/joomla/index.php/Th/home-th/78-courseware-dev/72-scriptstory-board-e-learning-courseware)

More Related Content

More from Duangsuwun Lasadang

การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงานDuangsuwun Lasadang
 
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงานแบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงานDuangsuwun Lasadang
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Duangsuwun Lasadang
 
การนำเสนอโครงงาน
การนำเสนอโครงงานการนำเสนอโครงงาน
การนำเสนอโครงงานDuangsuwun Lasadang
 
การเขียน Flowchart
การเขียน Flowchartการเขียน Flowchart
การเขียน FlowchartDuangsuwun Lasadang
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์Duangsuwun Lasadang
 
ประกาศรับสมัครครูสามโก้
ประกาศรับสมัครครูสามโก้ประกาศรับสมัครครูสามโก้
ประกาศรับสมัครครูสามโก้Duangsuwun Lasadang
 
ตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอมตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอมDuangsuwun Lasadang
 
ใบปฏิบัติงานที่ 014 1
ใบปฏิบัติงานที่ 014 1ใบปฏิบัติงานที่ 014 1
ใบปฏิบัติงานที่ 014 1Duangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้ ซักผ้า
ใบความรู้ ซักผ้าใบความรู้ ซักผ้า
ใบความรู้ ซักผ้าDuangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้ การเก็บรักษาเสื้อผ้า
ใบความรู้  การเก็บรักษาเสื้อผ้าใบความรู้  การเก็บรักษาเสื้อผ้า
ใบความรู้ การเก็บรักษาเสื้อผ้าDuangsuwun Lasadang
 
การกรอกใบสมัครงาน
การกรอกใบสมัครงานการกรอกใบสมัครงาน
การกรอกใบสมัครงานDuangsuwun Lasadang
 
ใบปฏิบัติงานที่ 020 1
ใบปฏิบัติงานที่ 020 1ใบปฏิบัติงานที่ 020 1
ใบปฏิบัติงานที่ 020 1Duangsuwun Lasadang
 
ใบปฏิบัติงานที่ 018 1
ใบปฏิบัติงานที่ 018 1ใบปฏิบัติงานที่ 018 1
ใบปฏิบัติงานที่ 018 1Duangsuwun Lasadang
 
ใบปฏิบัติงานที่ 017 1
ใบปฏิบัติงานที่ 017 1ใบปฏิบัติงานที่ 017 1
ใบปฏิบัติงานที่ 017 1Duangsuwun Lasadang
 
ใบปฏิบัติงานที่ 016 1
ใบปฏิบัติงานที่ 016 1ใบปฏิบัติงานที่ 016 1
ใบปฏิบัติงานที่ 016 1Duangsuwun Lasadang
 

More from Duangsuwun Lasadang (20)

การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงานแบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การนำเสนอโครงงาน
การนำเสนอโครงงานการนำเสนอโครงงาน
การนำเสนอโครงงาน
 
การเขียน Flowchart
การเขียน Flowchartการเขียน Flowchart
การเขียน Flowchart
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ประกาศรับสมัครครูสามโก้
ประกาศรับสมัครครูสามโก้ประกาศรับสมัครครูสามโก้
ประกาศรับสมัครครูสามโก้
 
3
33
3
 
1
11
1
 
2
22
2
 
Excel (1)
Excel (1)Excel (1)
Excel (1)
 
ตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอมตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอม
 
ใบปฏิบัติงานที่ 014 1
ใบปฏิบัติงานที่ 014 1ใบปฏิบัติงานที่ 014 1
ใบปฏิบัติงานที่ 014 1
 
ใบความรู้ ซักผ้า
ใบความรู้ ซักผ้าใบความรู้ ซักผ้า
ใบความรู้ ซักผ้า
 
ใบความรู้ การเก็บรักษาเสื้อผ้า
ใบความรู้  การเก็บรักษาเสื้อผ้าใบความรู้  การเก็บรักษาเสื้อผ้า
ใบความรู้ การเก็บรักษาเสื้อผ้า
 
การกรอกใบสมัครงาน
การกรอกใบสมัครงานการกรอกใบสมัครงาน
การกรอกใบสมัครงาน
 
ใบปฏิบัติงานที่ 020 1
ใบปฏิบัติงานที่ 020 1ใบปฏิบัติงานที่ 020 1
ใบปฏิบัติงานที่ 020 1
 
ใบปฏิบัติงานที่ 018 1
ใบปฏิบัติงานที่ 018 1ใบปฏิบัติงานที่ 018 1
ใบปฏิบัติงานที่ 018 1
 
ใบปฏิบัติงานที่ 017 1
ใบปฏิบัติงานที่ 017 1ใบปฏิบัติงานที่ 017 1
ใบปฏิบัติงานที่ 017 1
 
ใบปฏิบัติงานที่ 016 1
ใบปฏิบัติงานที่ 016 1ใบปฏิบัติงานที่ 016 1
ใบปฏิบัติงานที่ 016 1
 

1storyboard

  • 1. 18 ใบความรูที่ 4.1 เรื่อง ความรูเกี่ยวกับสตอรี่บอรด (Storyboard) แผนการจัดการเรียนรูที่ 4 เรื่อง การเขียนสตอรี่บอรด (Storyboard) รายวิชา คอมพิวเตอรมัลติมิเดีย รหัสวิชา ง30201 หนวยการเรียนรูที่ 2 เวลา 10 นาที ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนสตอรี่บอรด (Storyboard)  การเขียนสตอรี่บอรด (Storyboard) หลายคนอาจจะกลัววา ตัวเองวาดรูปไมเกงแลวจะวาดสตอรีบอรดไมได ไมเปน ความจริง ่ การวาดสตอรี่บอรดเปนเพียงรูปทีวาดงาย ๆ ก็ได โดยมีจดมุงหมายเพื่อถายทอดไอเดีย (Idea) หรือ ่ ุ แนวความคิดวา ภาพควรออกมาอยางไรบนจอภาพ การเขียนสตอรี่บอรด แตกตางจากการวาดภาพการตูน หรือ ภาพที่เนนความสวยงามแบบ ศิลปะ เปนการรางภาพอยางคราว ๆ เทานัน วัตถุประสงคเพื่อนําไปสรางเปน ภาพเคลือนไหว เชน ้ ่ ภาพยนตร การตูน โฆษณา สารคดี เปนตน โดยคํานึงถึงมุมกลอง อาจมีบทสนทนาหรือไมมี บทสนทนาก็ได ความหมายของสตอรี่บอรด (Storyboard) สตอรี่บอรด คือ การเขียนภาพนิ่งเพื่อสรางเปนภาพเคลื่อนไหวในรูปของสื่อ มัลติมีเดีย (Multimedia) หรือ สื่อประสม หมายถึง สื่อหลายแบบ เปนการใชสื่อในหลาย รูปแบบ ทั้งขอความ เสียง รูปภาพหรือภาพเคลื่อนไหว เพื่อกําหนดแนวทางใหทีมผลิตเกิดความเขาใจไปในแนวทาง เดียวกันในการถายทําเปนภาพเคลื่อนไหวรูปแบบตาง ๆ ไดแก ภาพยนตร ภาพยนตรโฆษณา ภาพยนตรสั้น ภาพยนตรการตูน ภาพยนตรสารคดี หรือแมแต การทําผลงาน โดยแสดงออกถึง ความตอเนื่องของการเลาเรื่อง จุดประสงคของสตอรี่บอรด จุดประสงคของสตอรี่บอรด คือ เพื่อการเลาเรือง ลําดับเรื่อง มุมกลอง ภาพไมจําเปนตอง ่ ละเอียดมาก แคบอกองคประกอบสําคัญได ตําแหนงตัวละครที่สมพันธกับฉากและตัวละครอื่น ๆ ั มุมกลอง แสงเงา เปนการสเก็ตซภาพของเฟรม (Shot) ตาง ๆ จากบทเหมือนการตนและวาด ู ตัวละครเปนวงกลม สีเ่ หลียม ฉากเปนสีเ่ หลียม การสรางสตอรีบอรดจะชวยใหผกํากับไดเห็นภาพ ่ ่ ่ ู ของรายการทีจะถายทําเปนรูปธรรมชัดเจนขึนไดในแตละเฟรมที่จะดําเนินการ ่ ้
  • 2. 19 สวนประกอบของสตอรี่บอรด สตอรี่บอรด ประกอบดวยชุดของภาพโครงรางของตอนตาง ๆ พรอมคําบรรยายหรือบท สนทนาในเรื่อง อาจเขียนเรื่องยอและบทกอน หรือรางภาพกอน แลวจึงใสคําบรรยายที่จําเปนลงไป สิ่งสําคัญที่ตองพิจารณาคือ ภาพและเสียงตองใหไปดวยกันได อาจมีบทสนทนาหรือไมมีบท สนทนาก็ได หรืออาจมีบทบรรยายหรือไมมีบทบรรยายก็ได โดยอาจมีเสียงประกอบดวย ไดแก เสียงดนตรี เสียงธรรมชาติหรือ เสียงอื่น ๆ สําหรับการผลิต รายการที่สั้น ๆ อยางภาพยนตรโฆษณา สามารถทําโดยใชสตอรีบอรดเปนหลัก ไมตองเขียนบทหรือเขียนสคริปตขึ้นมา ่ การทําสตอรี่บอรด การทําสตอรีบอรดเปนการสรางตารางขึนมาเพื่อรางภาพลงไปตามลําดับ ขั้นตอนของเรื่อง ่ ้ ตั้งแตตนจนจบ เพื่อใหทก ๆ ฝายสามารถมองเห็นภาพรวมของงานที่จะลงมือทําไดลวงหนา ซึ่งหาก ุ มีขอที่ตองแกไขใด ๆ เกิดขึ้นก็สามารถแกไขเปลี่ยนแปลงได และทําสตอรี่บอรดใหมได การทํา สตอรี่บอรดนั้นโดยหลักแลว จะเปนตนแบบของการนําไปสรางภาพจริง และเปนตัวกําหนดในการ ทํางานอื่น ๆ ไปดวยเชน เสียงพากย เสียงดนตรี เสียง ประกอบอื่น ๆ จึงเปนการรางภาพ พรอมกับ การระบุรายละเอียดที่จําเปนทีตองทําลงไป ่ หลักการเขียนสตอรี่บอรด รูปแบบของสตอรี่บอรด จะประกอบไปดวย 2 สวนคือ สวนเสียงกับสวนภาพโดยปกติ การเขียน สตอรี่บอรด 24 เฟรม คือภาพ 24 ภาพ เมื่อถายทําเปนภาพยนตรใช เวลา 1 นาที ถาเปน ภาพยนตรโฆษณา ในเวลา 30 วินาที ตองเขียน 12 เฟรม การเขียนบท บรรยายจะเปนสวน สนับสนุนการนําเสนอภาพ ไมใชการนําเสนอบทบรรยายนั้น ความยาวของคําบรรยายมีหลักการใน การจัดทํา 3 ประการคือ 1. ตองเหมาะสมกับลักษณะของผูชม 2. ตองมีความยาวพอที่จะครอบคลุมวัตถุประสงคทกําหนด ี่ 3. ตองใหสั้นที่สุดเทาที่จะทําได สิ่งสําคัญที่อยูในสตอรี่บอรด ประกอบดวย 1. Subject หรือ Character ไมวาจะเปนคน สัตว สิ่งของ สถานที่ หรือ ตัวการตูน และที่ สําคัญคือ สิ่งเหลานั้นกําลังเคลื่อนไหวอยางไร 2. กลอง ทั้งในเรื่องของขนาดภาพ มุมภาพและการเคลื่อนกลอง 3. เสียง การพูดกันระหวางตัวละคร มีเสียงประกอบหรือ เสียงดนตรีอยางไร
  • 3. 20 วิธีเขียน Storyboard กอนลงมือเขียนสตอรี่บอรดใหวางเคาโครงเรื่อง กําหนดจํานวนฉาก แลวจึงจะลงมือเขียน สตอรี่บอรดซึ่งในการเขียนใหเราคิดวา เรากําลังจะดูภาพยนตร และใหเราคิดวาเราอยากเห็นภาพ อะไรในจอ แลววาดออกมาเปนการตนโดยไมตองเนนความสวยงาม แตใหคํานึงถึงองคประกอบ ู ของภาพ เชน ตําแหนงของตัวละคร มุมกลอง ฉาก เสียง แสงเงา การเคลื่อนไหว เปนตน ตัวอยางสตอรี่บอรด ตัวอยางที่ 1 (ที่มาจาก http://province.m-culture.go.th/trat/storyboard2553/3.pdf)
  • 4. 21 ตัวอยางที่ 2 ตัวอยาง Storyboard การตูนเรืองกระตายกับเตา ่ (ที่มาจาก http://province.m-culture.go.th/trat/storyboard2553/3.pdf)