SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
DEMO : Purchase from www.A-PDF.com to remove the watermark
การประชุมวิชาการระดับชาติดานอีเลิรนนิง ประจําป 2556
“Strengthening Learning Quality: Bridging Engineering and Education”
หลักการและเหตุผล
การจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิง ถือเปนนวัตกรรมทางการศึกษาที่สําคัญในปจจุบัน การนําอีเลิรนนิงมาใชใน
การจัดการศึกษาในรูปแบบและระดับที่เหมาะสมจะชวยเพิ่มคุณภาพการศึกษาไดอยางมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ
ความรูเกี่ยวกับการจัดการศึกษาอีเลิรนนิงครอบคลุมทั้งแนวกวางและแนวลึก ซึ่งครอบคลุมตั้งแต นโยบาย
และยุทธศาสตรขององคกรการศึกษาในการบูรณาการอีเลิรนนิงเขาสูวิถีการจัดการเรียนการสอน การประกันคุณภาพ
การศึกษาอีเลิรนนิง การบริหารโครงการอีเลิรนนิง การบริหารศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษาเพื่อการใหบริการ การออกแบบ
และผลิตอีเลิรนนิงคอรสแวร เทคนิคและวิธีการสอนและการประเมินผลในระบบอีเลิรนนิง ฯลฯ ในปจจุบันเทคโนโลยี
แนวคิด และนวัตกรรมที่ใชในการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิงไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่องและรวดเร็วในทุกดาน
โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีพันธกิจที่สําคัญที่จะสงเสริมการจัด
การศึกษาอีเลิรนนิงใหกวางขวาง โดยการสรางความรวมมือกับองคกร สถาบันการศึกษาทั้งในประเทศและตางประเทศ
เห็นถึงความสําคัญในการจัดการความรูดานอีเลิรนนิง เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจที่ชัดเจน จึงไดจัดการประชุมวิชาการ
ระดับชาติดานอีเลิรนนิง ป 2556 ระหวางวันที่ 5-6 สิงหาคม 2556 โดยมีหัวขอหลักของงานคือ "Strengthening
Learning Quality: Bridging Engineering and Education" เพื่อเปนตัวกลางในการระดมผูรู ผูเชี่ยวชาญทั้งในระดับชาติ
และนานาชาติมารวมกันประมวลความรู เพื่อสรางความรูในวิทยาการอีเลิรนนิง วิเคราะห และสังเคราะหแนวทาง
การใชอีเลิรนนิงเพื่อเพิ่มคุณภาพการศึกษาของประเทศ ดําเนินการจัดทําเปนคลังความรูสําหรับการศึกษาและอางอิง ของ
นักวิชาการการศึกษา นักวิจัย คณาจารย และนิสิตนักศึกษาตอไป
วัตถุประสงค
1) เพื่อใหสถาบันการศึกษาไทยและผูเกี่ยวของไดรับความรูดานอีเลิรนนิงที่ทันสมัยจากผูทรงคุณวุฒิทั้งในและ
ตางประเทศ
2) เพื่อเปดโอกาสใหนักวิชาการไทยและนักศึกษาไดมีเวทีเผยแพรแลกเปลี่ยนเรียนรู ดานอีเลิรนนิงที่ครอบคลุม
และงานวิจัยเพื่อพัฒนาอยางกวางขวาง
3) เพื่อสรางความรวมมือทางการศึกษาในระดับชาติและนานาชาติ
กิจกรรมภายในงาน
1) การสัมมนาวิชาการโดยเชิญวิทยากรผูทรงคุณวุฒิเฉพาะดานจากตางประเทศและในประเทศ ใหเปน
ผูประมวลความรู และเปนผูนําเสนอหลักในการบรรยายและเสวนาความรู
2) การนําเสนอผลงานวิจัยดานอีเลิรนนิง
3
กําหนดการ
ประชุมวิชาการระดับชาติดานอีเลิรนนิง
Strengthening Learning Quality: Bridging Engineering and Education
ของโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจําป 2556
วันจันทรที่ 5 สิงหาคม 2556
Main Session: Sapphire 101-104
MC: ชญาวัต ยอดมณี
8.00 - 9.00 น. ลงทะเบียน
9.15 - 9.30 น. กลาวเปดงาน และพิธีมอบโล
การประกาศเกียรติคุณหนวยงานเผยแพรความรูแบบอีเลิรนนิง ประจําป 2556
โดยนายสุภัทร จําปาทอง
ผูชวยเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
9.30 - 10.15 น. Keynote Speaker 1
Lifelong Learning in Aging Societies
Professor Dr. Okabe Yoichi
President, The Open University of Japan, Japan
10.15 - 10.45 น. พักรับประทานอาหารวาง
10.45 - 11.30 น. Keynote Speaker 2
Challenges facing emerging technology in new learning model
เทคโนโลยีอุบัติใหม ความทาทายตอการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเรียนรู
รองศาสตราจารย ยืน ภูวรวรรณ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
11.30 - 12.15 น. Keynote Speaker 3
Learning Styles and Brain-Based Learning
รองศาสตราจารย ดร.นพ.ชัยเลิศ พิชิตพรชัย
อธิการบดีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช
6
วันจันทรที่ 5 สิงหาคม 2556
Session A1: Paper Presentation
Venue: Sapphire Room 108
Chairperson: ผศ.ดร.ดิเรก ธีระภูธร
13.30-14.00 น. พิธีมอบประกาศนียบัตร หลักสูตรผูเชี่ยวชาญอีเลิรนนิง
(เฉพาะผูเรียน e-Pro)
14.00-14.20 น. การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรูผานการประมวลผล
แบบกลุมเมฆ
Development of Information System for Knowledge Sharing
via Cloud Computing
กรรวิภา หวังทอง, ปณิตา วรรณพิรุณ
A1_1
หนา 16
14.20-14.40 น. การนําเสนอแบบจําลองเพื่อวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอความตั้งใจที่จะใช
e-Learning บน Cloud Computing
Proposed Model of Factors Influencing Intention to use
e-Learning based on Cloud Computing
กนกวรรณ อัจฉริยะชาญวณิช, ณัฐพงศ ใจวงศ, ณัฐชนน สิริปูชกะ
A1_2
หนา 23
14.40-15.00 น. ชุมชนนักปฏิบัติเสมือนดานการพัฒนาบทเรียนอีเลิรนนิงแบบปฏิสัมพันธ
ผานเครือขายสังคมและคลาวดคอมพิวติง ของสํานักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา
Virtual Community of Practice in Interactive e-Learning
Development via Social Media and Cloud Computing for
office of vocational education commission
อภิชาติ อนุกูลเวช, ปณิตา วรรณพิรุณ
A1_3
หนา 29
15.00-15.20 น. การพัฒนาระบบบริหารสถานศึกษาอัจฉริยะเพื่อดูแลชวยเหลือผูเรียนผาน
คลาวดคอมพิวติง สําหรับสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน
Development of School Information System for Assistance
Learner via Cloud Computing for Office of the Private
Education Commission
นิพนธ สุขวิลัย, ปณิตา วรรณพิรุณ
A1_4
หนา 36
15.20-15.40 น. พักรับประทานอาหารวาง
8
15.40-16.00 น. การออกแบบระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการความรูเพื่อสนับสนุนการสราง
องคความรูผานสภาพแวดลอมแบบคลาวดสําหรับสถาบันอุดมศึกษา
Design of knowledge management system for facilitating
knowledge as a service (KaaS) in cloud computing
environment for Higher Education
อนุชิต อนุพันธ, ปณิตา วรรณพิรุณ
A1_5
หนา 44
16.00-16.20 น. การพัฒนา Private Cloud รูปแบบบริการ IaaS ถึง SaaS สําหรับอีเลิรนนิง
Development of IaaS to SaaS Private Cloud for e-Learning
ประณต บุญไชยอภิสิทธิ์
A1_6
หนา 53
16.20-16.40 น. การพัฒนาเกมคอมพิวเตอรเรื่องคุณภาพอากาศสําหรับเด็ก
Game Development for Learning Air Quality for Kids
สุวรรณี อัศวกุลชัย
A1_7
หนา 59
16.40-17.00 น. ตัวชี้นําดวยภาพแบบเคลื่อนไหวในบทเรียนมัลติมีเดียแบบเกม :
การเสริมสรางความสามารถดานมิติสัมพันธของผูเรียนที่มีความสามารถ
ดานมิติสัมพันธต่ํา
Dynamic Visual Cues in Game-Based Multimedia Lessons:
Enhancing learners with low spatial ability
พรรณปพร จตุวีรพงษ, ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ
A1_8
หนา 67
17.00-17.20 น. การพัฒนาเว็บฝกอบรมแบบรวมมือ เรื่องการจัดการความรู เพื่อสงเสริม
แลกเปลี่ยนเรียนรู สําหรับบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการของ
สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
Development of Collaborative Web-based Training on
knowledge to enhance Knowledge Sharing for
Administrative Staff of Pathumwan Institute of technology
ญาณิศา ทองหมื่นไวย, ปณิตา วรรณพิรุณ
A1_9
หนา 75
9
Session B1: Paper Presentation
Venue: Sapphire Room 109
Chairperson: ผศ.ดร.จารุวรรณ กฤตยประชา
13.30-14.00 น. Reflection on Teaching and Learning: From Books to MOOCs
and Beyond
Dr.Mei-Yan Lu
The Educational Leadership Department
San Jose State University, USA
B1_1
14.00-14.30 น. University 2.0: Participative, Collaborative, Sustainable
Dr.Daniel Tiong Hok TAN
Director Centre for excellence in learning & teaching
Nanyang technological university, Singapore
B1_2
14.30-14.50 น. การนําเสนอรูปแบบเกมสออนไลนในการเรียนการสอน: การสังเคราะห
เกมสออนไลนที่ไดรับความนิยม
Proposed Model of Online Games for Game-Based Education:
Synthesizing of the Popular Online Games
พรรณิสรา จั่นแยม, วีรชา ศิวเวทกุล, วลัยกร หงสทอง, โสภณ เสรีเสถียรทรัพย
B1_3
หนา 83
14.50-15.10 น. เกมเพื่อสงเสริมการเรียนรูสําหรับเด็กประถมวัย
Promoting Learning of Primary Children through Games
บีสุดา ดาวเรือง, ปรวัฒน วิสูตรศักดิ์
B1_4
หนา 92
15.10-15.30 น. การประยุกตใชเทคโนโลยีความจริงเสริม สรางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส
และกิจกรรมการเรียนรู เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง ความปลอดภัยของเทคโนโลยีสารสนเทศ
The application of Augmented Reality in making e-Learning
and educational activities to increase the learning
achievement of the security systems of information
technology lesson under the information technology subject.
จํารัส กลิ่นหนู
B1_5
หนา 96
15.30-15.50 น. พักรับประทานอาหารวาง
15.50-16.10 น. Development of Virtual Learning Centers in 3D Virtual Learning
Environment to Enhance Students’ Team Learning Ability
พีรภัทร ฉัตรสุวรรณ, เนาวนิตย สงคราม
B1_6
หนา 103
10
16.10-16.30 น. เว็บฝกอบรมแบบหองสมุดเสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรูสารสนเทศ
โดยใชกรณีศึกษา เรื่อง การใชสารสนเทศในหองสมุด
Web-Based Training using Case-Based Learning in using
Information in Library to Develop Information Literacy
แสงเดือน บํารุงภูมิ, ปรัชญนันท นิลสุข, ปณิตา วรรณพิรุณ
B1_7
หนา 107
16.30-16.50 น. การเตรียมความพรอมโครงการหองเรียนอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยรังสิต
The Preparation for Smart Classroom Project, Rangsit University
ณัฐพัชร หลวงพล, วลัยภรณ นาคพันธุ
B1_8
หนา 114
16.50-17.10 น. การออกแบบสื่อการสอนแบบปฏิสัมพันธดวยเทคโนโลยีเสมือนจริง
ในสภาพแวดลอมทางการเรียนแบบยูบิคิวตัสเพื่อลดภาระทางปญญา
ของผูเรียน
Design of Interactive Instructional Media Applying an
Augmented Reality in a Ubiquitous Learning Environment to
Reduce Student Cognitive Loads
สถาพร อยูสมบูรณ, ปณิตา วรรณพิรุณ
B1_9
หนา 120
17.10-17.30 น. การศึกษาเพื่อเสนอแนวทางสําหรับออกแบบกลยุทธการสอน
และสภาพแวดลอมการเรียนรูเชิงเสมือนเพื่อสงเสริมความคิดสรางสรรค
A Study to Propose Design Guide for Learning Strategies and
Virtual Learning Environment to Enhance Creative Thinking
ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ, เสมอกาญจน โสภณหิรัญรักษ, สุมาลี เชื้อชัย
B1_10
หนา 126
11
Session C1: Paper Presentation
Venue: Sapphire Room 110
Chairperson: ดร.อนิรุทธิ์ สติมั่น
13.30-13.50 น. ชุดเครื่องมือเรียนรูชนิดโตตอบ 3 มิติ บนเว็บไซต สําหรับการเขียน
แบบวิศวกรรม
VR-Learning: Interactive 3D Learning Toolkit on Web-based for
Engineering Drawing
กฤตชัย บุญศิวนนท
C1_1
หนา 133
13.50-14.10 น. การพัฒนามหาวิทยาลัยในโลกเสมือนเพื่อเสริมสรางความเปนนานาชาติ
ของมหาวิทยาลัยรังสิต
The development of RSU Virtual Campus for the promotion of
Internationalization
ศิราภรณ ศิริพัลลภ, วลัยภรณ นาคพันธุ, ดวงรัตน อาบใจ
C1_2
หนา 141
14.10-14.30 น. การพัฒนารูปแบบการสอนเอ็มเลิรนนิงโดยใชกลยุทธการจัดการความรู
Development of m-Learning Instruction Model by Using
Knowledge Management Strategies
เพ็ญศรี ศรีสวัสดิ์
C1_3
หนา 148
14.30-14.50 น. การเรียนรูแบบตนไมตัดสินใจดวยโทรศัพทอัจฉริยะสําหรับการวินิจฉัย
โรคเบื้องตน
A Mobile Learning by Decision Tree for Provisional Diagnosis on
Smartphone
รักษวริน วรรณศิลป, กฤตชัย บุญศิวนนท
C1_4
หนา 158
14.50-15.10 น. ความตองการบริการสารสนเทศผานอุปกรณเคลื่อนที่ของผูใชบริการ
ศูนยบรรณสารและสื่อการศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
Mobile Information Services: User Needs of the Center for
Library Resources and Educational Media, Suranaree University
of Technology
อินทิรา นนทชัย, กันยารัตน เควียเซน
C1_5
หนา 165
15.10-15.30 น. การเพิ่มประสิทธิภาพการสอนดวยอุปกรณคอมพิวเตอรแบบพกพา
Strengthening Instruction through Portable Device
พูลศรี เวศยอุฬาร
C1_6
หนา 173
15.30-15.50 น. พักรับประทานอาหารวาง
12
15.50-16.10 น. การพัฒนาแอพลิเคชั่นระบบนําชมพิพิธภัณฑเครือขาย ผานสมารทโฟน
เพื่อนําเสนอการปรับปรุงแอพลิเคชั่น สําหรับเพิ่มประสิทธิภาพการนําชม
A smart phone application development of network museum
guide to improve the visit efficiency.
สดใส วิเศษสุด, ทวีศักดิ์ สรรเพชุดา, กฤษฎา จินดา, ธิติพงษ วงสาโท, อนุวัฒน
ไชยวงคเย็น, ละออ โควาวิสารัช
C1_7
หนา 179
16.10-16.30 น. การสงเสริมทักษะการคิดดวยโมบายแอพลิเคชัน: แนวทางและการนําไปใช
Enhancing Thinking Skills with Mobile Applications: Guideline
and Implementation
ธัญญาพร เจียศิริพันธ, ณัฐริกา กอนเงิน, สิรภัทร ชลศรานนท, ณัชชา ปกิจเฟองฟู
C1_8
หนา 185
16.30-16.50 น. การปรึกษาทางไกลระหวางประเทศผานเครือขายสังคมและโมบาย
แอพพิเคชันเพื่อเสริมศักยภาพการวิจัยสําหรับนักศึกษาบัณฑิตศึกษา
The international Tele-Mentoring through social networking
and mobile applications to empower research for graduate
students
ปณิตา วรรณพิรุณ, ปรัชญนันท นิลสุข
C1_9
หนา 193
16.50-17.10 น. การใชงาน Google Apps for Education ในวิชาธรรมาธิปไตย
ของมหาวิทยาลัยรังสิต
The Use of Google Apps for Education in Dhammacracy class
at Rangsit University
วลัยภรณ นาคพันธุ, โสราวดี วิเศษสินธพ
C1_10
หนา 201
17.10-17.30 น. การพัฒนาเว็บฝกอบรมเรื่อง การใชงานระบบงานทะเบียนประมวลผล
และหลักสูตรสําหรับบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ ของสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
Developmentof Web-Based Trainingon Using RegistrationProcessing
and Curriculum System for Academic SupportStaff of Pathumwan
Institute of Technology.
สุทธวรรณ บุญราศรี, พัลลภ พิริยะสุรวงศ
C1_11
หนา 206
13
Session D1: Paper Presentation
Venue: Sapphire Room 111
Chairperson: ดร.น้ํามนต เรืองฤทธิ์
13.30-13.50 น. การพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรูผานเครือขายสังคม
และคลาวดเลิรนนิงเพื่อสงเสริมสมรรถนะการวิจัยและทักษะ
การใชสารสนเทศอยางมีวิจารณญาณ
Development of Group Collaboration System via Social
Networks and Cloud Learning to Enhance Research
Competence and Critical Thinking Skills in ICT
ปณิตา วรรณพิรุณ, ณพงศ วรรณพิรุณ
D1_1
หนา 213
13.50-14.10 น. รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใชโซเชียลบุคมารกและวิธีการ
ทางประวัติศาสตรเพื่อสงเสริมการรูสารสนเทศของนักเรียนมัธยมศึกษา
ตอนปลาย
Blended Learning Model Using Social Bookmarking with The
Historical Method to Enhance the Information Literacy of
Upper Secondary School Students
รัตตมา รัตนวงศา, กุลชัย กุลตวนิช
D1_2
หนา 221
14.10-14.30 น. การเรียนการสอนผาน Facebook รวมกับการใชปญหาเปนฐาน
วิชาการออกแบบและพัฒนาซอฟตแวร
Teaching and Learning Through Facebook with Problem-based
Learning in Software Design and Development Subject
ศราวุธ มากชิต
D1_3
หนา 228
14.30-14.50 น. ผลของการจัดการเรียนแบบผสมผสานผานเครือขายสังคมออนไลน
โดยใชกรณีศึกษาดวยวีดีโอแชรริงเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ
Effectof Blended Learning via SocialNetworkbyUsingCase-based
LearningonVideo Sharing for Developing CriticalThinkingSkills
กุลธวัชสมารักษ,ปณิตาวรรณพิรุณ,พัลลภพิริยะสุรวงศ
D1_4
หนา 236
14.50-15.10 น. ผลการใชการเรียนรูแบบรวมมืออีเลิรนนิ่งที่มีตอความสามารถดานการพูด
ภาษาอังกฤษของนักศึกษาในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจโรงแรม
The Effects of e-Cooperative Learning on Students’ English
Speaking Ability of the English Hotel Business Course
พูลสุข กรรณาริก
D1_5
หนา 245
14
15.10-15.30 น. Importance of English in eLearning Programs in Context of
ASEAN Economic Community (AEC)
Kuldeep Nagi
D1_6
หนา 254
15.30-15.50 น. พักรับประทานอาหารวาง
15.50-16.10 น. กรอบแนวคิดรูปแบบการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานโดยจัดกลุมผูเรียน
ตามการเรียนรูรูปแบบวีเออารเคในสภาพแวดลอมการเรียนรูแบบทุกหน
ทุกแหงและประเมินผลแบบรูบริค
A conceptual framework of Project-based Learning Model
using VARK Learning Style Groupings on Ubiquitous Learning
Environment and using Rubric for Evaluation
ธนาวุฒิ นิลมณี, มนตชัย เทียนทอง
D1_7
หนา 261
16.10-16.30 น. การศึกษาสมรรถนะดานการใชและพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี
สารสนเทศทางการศึกษาของครู
A Study of Teacher Competence on Using and Developing
Innovation and Information Technology in Education
สุวรรณ โชติการ, เพ็ญนภา ชูหมวกโชติ
D1_8
หนา 268
16.30-16.50 น. MOOCs PEDAGOGY: จาก OCW, OER สู MOOCs
เครื่องมือเพื่อการเรียนรูสําหรับผูเรียนยุคดิจิทัล
MOOCs PEDAGOGY: From OCW, OER, to MOOCs as Learning
Tools for Digital Learners
จินตวีร คลายสังข
D1_9
หนา 276
16.50-17.10 น. Thai-MOOC: Towards the New Era of e-Learning
วรสรวง ดวงจินดา
D1_10
หนา 286
15
การเพิ่มประสิทธิภาพการสอนด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพา
Strengthening Instruction through Portable Device
ดร. พูลศรี เวศย์อุฬาร
บัณฑิตวิทยาลัยการศึกษาทางอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
(poonsri.vate@gmail.com)
ABSTRACT
“One tablet per child” (OTPC) is a policy of the
Thai Government which will have significant
influence on educational technology applications
at the national level. The purpose of this
academic article is to present significant aspects
that need to be considered prior to the adoption
of portable devices for instruction to ensure
more effective implementation of this policy.
First of all, this study identifies five different
types of learning approaches in a diagram
format. The second section specifies a definition
of instruction through portable devices. The
third part details numerous cases that influence
instruction through portable devices. The fourth
aspect, covered in this study, reports on the
implementation of portable devices based upon
the “five moments of learning needs” – a concept
that will be defined. And the last section focuses
on concluding remarks related to strengthening
instruction through portable devices. This paper
aims to stimulate an enhanced understanding for
educators in terms of sustainable implementing
this essential policy.
Keywords: educational technology, e-Learning,
Instruction, m-Learning, mobile learning, One
Tablet Per Child, Portable Device
บทคัดย่อ
โครงการ Tablet PC เพื่อการศึกษาไทยหรือ One Tablet
Per Child (OTPC) เป็นนโยบายของรัฐบาลไทยที่มี
อิทธิพลสําคัญต่อการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการศึกษาใน
ระดับประเทศ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนําเสนอ
สาระสําคัญที่ควรจะพิจารณาก่อนการใช้อุปกรณ์
คอมพิวเตอร์แบบพกพาเพื่อการสอนทั้งนี้เพื่อเป็นการ
รับรองว่านโยบายดังกล่าวจะปฏิบัติได้อย่างมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น ประเด็นแรกในบทความนี้เป็นการ
ให้รายละเอียดของกระบวนการเรียนที่แตกต่างกัน 5
แบบด้วยแผนภาพ ในตอนที่ 2 เป็นการให้นิยามการสอน
ด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพา ส่วนในตอนที่ 3 เป็น
รายงานผลการศึกษาวิจัยต่างๆ ของการสอนบนอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์แบบพกพา ในส่วนที่ 4 คือ การใช้อุปกรณ์
คอมพิวเตอร์แบบพกพาตามอุปสงค์การเรียนรู้ 5 ขั้นซึ่งจะ
อธิบายต่อไป และในส่วนสุดท้ายเป็นการสรุปรวบยอด
ข้อคิดเห็นในตอนท้ายเกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพการสอน
บนเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา บทความนี้ต้องการที่จะ
ส่งเสริมความเข้าใจของนักการศึกษาเพื่อที่จะนํานโยบายที่
สําคัญนี้ไปสู่การปฏิบัติอย่างยั่งยืน
คําสําคัญ: เทคโนโลยีการศึกษา, อี-เลิร์นนิง, การสอน, เอ็ม-
เลิร์นนิง, โมบายเลิร์นนิง, โครงการ Tablet PC เพื่อการศึกษา
ไทย, อุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพา
บทนํา
ไม่ใช่เพียงแค่แนะนําเทคโนโลยีใหม่สําหรับการเรียนรู้
เป็นการแนะนําการคิดใหม่เกี่ยวกับการเรียนรู้
“We’re not just introducing new technology for learning –
we are introducing a new way to think about learning.”
Marc Rosenberg (2012), p.5
คํากล่าวของ มาร์ค โรเซนเบิร์ก (Marc Rosenberg) ข้างต้น
เป็นส่วนหนึ่งของบทความชื่อ How to build a mobile
learning strategy หรือ การสร้างกลยุทธ์สําหรับโมบายเลิร์น-
นิง ซึ่งปัจจุบันมักเรียกว่า เอ็มเลิร์นนิง (Mobile Learning or
mLearning) น่าจะเป็นการจุดประกายความคิดของนัก-
การศึกษาไทยที่กําลังสนใจ การเพิ่มประสิทธิภาพการสอน
ด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพา
โครงการ Tablet PC เพื่อการศึกษาไทยหรือ One Tablet Per
Child (OTPC) ของรัฐบาลไทย นับเป็นก้าวสําคัญของ
173
การศึกษาไทยที่กระจายการใช้เทคโนโลยีสื่อสาร
การศึกษาอย่างทั่วถึง และเป็นรูปธรรมในประเทศไทย
ด้วยโครงการดังกล่าวทําให้เกิดความจําเป็นที่จะต้องมี
การปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงการศึกษาของไทยอย่าง
มาก ซึ่งนําไปสู่ความต้องการต่างๆ เช่น ด้านบุคลากรทาง
การศึกษาเช่น ครูที่มีความสามารถในการใช้ Tablet
เพิ่มขึ้น สื่อการเรียนบน Tablet ที่มีประสิทธิภาพ
ความสามารถในการบริหารจัดการด้านเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ของครู เป็นต้น ด้วยเหตุผลดังกล่าวบทความ
นี้จึงขอนําเสนอสาระความรู้ และข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้อง
กับการจัดการเรียนการสอนด้วย Tablet PC หรือที่
ภาษาไทยเรียกว่าอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพา โดยจะ
นําเสนอสาระความรู้ที่สําคัญของการสอนด้วยอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์แบบพกพาจากวิสัยทัศน์แบบสากล ควบคู่
กับบริบทที่เป็นอยู่ของประเทศไทย
1) การเรียนกับอุปกรณ์และเทคโนโลยี
ในยุคที่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตมี
อิทธิพลต่อการสื่อสารเป็นอย่างมากนั้น ส่งผลให้มีการจัด
วิธีการเรียนรู้ตามลักษณะการใช้อุปกรณ์และเทคโนโลยี
ซึ่งสามารถแสดงเป็นภาพดังรูป และจะขออธิบาย
โดยสังเขปต่อไป
รูปที่ 1 การเรียนกับอุปกรณ์และเทคโนโลยี
1.1) การเรียนแบบเผชิญหน้า (Face-to-face)
การเรียนแบบเผชิญหน้า (Face-to-face) หมายถึงการ
เรียนในห้องเรียนที่ผู้สอนและผู้เรียนได้พบปะหน้ากัน
ไม่จํากัดเฉพาะในห้องเรียนเท่านั้น นับเป็นฐานของการ
เรียนรู้ที่ใหญ่ที่สุด ซึ่งแสดงให้เห็นด้วยรูปวงกลมขนาดใหญ่
กว่ารูปอื่น โดยปกติในปัจจุบันมีการใช้อุปกรณ์ต่างๆ เป็น
ส่วนหนึ่งของการสอน เช่น เครื่องฉาย Projector โทรทัศน์
เครื่อง Visualizer เป็นต้น
1.2) การเรียนแบบอีเลิร์นนิง (e-Learning)
การเรียนแบบอีเลิร์นนิง (e-Learning) หมายถึงการเรียนที่ใช้
คอมพิวเตอร์เป็นฐาน ซึ่งรวมถึงการเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ทาง
อินเทอร์เน็ต หรือไม่ใช้อินเทอร์เน็ตก็ตาม ผู้เรียนเข้าถึง
เนื้อหาผ่านคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์
Laptop Notebook หรือ Desktop เป็นต้น
1.3) การเรียนแบบเอ็มเลิร์นนิง (m-Learning)
การเรียนแบบเอ็มเลิร์นนิง (m-Learning) หมายถึงการเรียน
ด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพา เช่น เครื่องประเภท
Smart Phone, Tablet, Net book, Slate PC, Portable
Device Assistant (PDA) เป็นต้น
1.4) การเรียนแบบผสมผสาน (Blended Learning)
การเรียนแบบผสมผสาน (Blended Learning) หมายถึงการ
เรียนที่เกิดขึ้นเมื่อผสมผสานรูปแบบการเรียนต่างๆ เข้า
ด้วยกัน เช่น การนําอีเลิร์นนิง หรือเอ็มเลิร์นนิงมาใช้ใน
ห้องเรียนที่ดําเนินการเรียนแบบเผชิญหน้า เป็นต้น ดังนั้นจึง
แสดงให้เห็นด้วยพื้นที่ซึ่งซ้อนทับกันในภาพ นับเป็นรูปแบบ
การเรียนที่แพร่หลายอย่างมากในปัจจุบัน
1.5) การเรียนแบบทั่วทุกหนทุกแห่งหรือยูเลิร์นนิง
(Ubiquitous Learning or u-Learning)
การเรียนแบบทั่วทุกหนทุกแห่งหรือยูเลิร์นนิง (Ubiquitous
Learning or u-Learning) หมายถึงการเรียนที่เกิดขึ้นทุกหน
ทุกแห่งโดยมีการใช้คอมพิวเตอร์ แนวคิดนี้ต่อยอดมาจาก
Ubiquitous Computing ซึ่งหมายถึงการนําเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์เข้าเป็นส่วนหนึ่งของอุปกรณ์ใดใดที่มีอยู่ทุกหน
ทุกแห่งในชีวิตประจําวัน เช่น โทรศัพท์มือถือ Smart TV
รถยนต์ เป็นต้น
รูปดังกล่าวข้างต้นต้องการอธิบายความสัมพันธ์ของวิธีการ
เรียนรู้ 5 รูปแบบกับอุปกรณ์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ชนิดต่างๆ ที่ใช้ประกอบในการเรียนการสอนเท่านั้น สิ่งที่
สําคัญยิ่งไปกว่าอุปกรณ์ต่างๆ นั้นคือ วิธีการสอนตามทฤษฎี
174
ทางการศึกษาที่จะทําให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์การ
เรียนรู้ที่แท้จริง การออกแบบเนื้อหาสาระที่เหมาะสมกับ
ผู้เรียน ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิดของคุณครูผู้สอน
2) นิยามการสอนด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบ
พกพา
การสอนด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพาที่สมบูรณ์
จําเป็นจะต้องคํานึงถึงจุดเด่นและศักยภาพของอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์แบบพกพาที่แท้จริง ที่สําคัญคือความเข้าใจ
ที่ถูกต้องว่าการกระบวนเรียนรู้ด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
แบบพกพาไม่ใช่การใช้อีเลิร์นนิงผ่านคอมพิวเตอร์แบบ
พกพาเท่านั้น ด้วยเหตุผลสําคัญที่ว่าลักษณะของอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์แบบพกพาได้ถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนอง
การใช้งานตามวัตถุประสงค์ที่ต่างจากคอมพิวเตอร์ทั่วไป
โดยที่อุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพานั้นมักจะเป็น
เครื่องที่มีหน้าจอขนาดเล็กกว่า มีการใช้งานหน้าจอ
ระบบสัมผัส (Touch Screen) มีกล้องถ่ายรูป สามารถ
บันทึก Video และ อัดเสียงได้ มีระบบ Global
Positioning System (GPS) ระบบบอกตําแหน่งบน
พื้นผิวโลก สามารถ Scan บาร์โค้ด (Barcode),
ควิกเรสปอนส์ (Quick Response or QR), อ๊อกเม้นติด รี-
อาลีตี้ (Augmented Reality or AR) มีเซ็นเซอร์ตรวจจับ
ความเคลื่อนไหว (Motion Sensor) ในทางกลับกัน
คอมพิวเตอร์แบบพกพาจะไม่มี Keyboard ขนาดใหญ่
สําหรับป้อนข้อมูล ไม่ใช้Mouse เหมือนกับคอมพิวเตอร์
Notebook, Laptop หรือ Desktop นอกจากนี้คอมพิวเตอร์
แบบพกพาเป็นอุปกรณ์ที่พกติดตัวอยู่เสมอ ซึ่งผู้เรียนจะมี
ความรู้สึกเป็นส่วนตัวมากกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาด
ตั้งโต๊ะทั่วไป
จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องจากแหล่งข้อมูล
หลายแห่ง ทําให้สามารถสรุปสาระสําคัญเพื่อเป็นนิยาม
ได้ว่า การสอนด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ แบบพกพา
หมายถึง กระบวนการที่จัดให้ผู้เรียนเกิดความรู้จากการ
สร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับเนื้อหาและผู้สอนด้วย
เทคโนโลยีที่มีบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดพกพา เป็น
กระบวนการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีอิสรภาพมากขึ้นใน
การเลือกรับข้อมูล จากสถานที่ต่างๆ แม้จะเป็นในขณะที่
ผู้เรียนกําลังเดินทาง ไม่จําเป็นที่จะต้องอยู่ในห้องเรียนเท่านั้น
ซึ่งผู้เรี ยนสามารถเข้าถึงเนื้อหาและข้อมูลที่มีอยู่บน
อินเทอร์เน็ตด้วยการเชื่อมต่อแบบไร้สาย
การสอนด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพา (Portable
Devices) เป็นการเรียนรู้ภายใต้สภาพแวดล้อมที่มี
อินเทอร์เน็ตแบบ 4A’s กล่าวคือ
• at anytime, ณ เวลาใดก็ตาม
• from anywhere, ที่ใดก็ตาม
• for anyone and สําหรับใครก็ตาม
• on any appropriate devices. บนอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมชนิดใดก็ตาม
ข้อได้เปรียบที่ทําให้คอมพิวเตอร์แบบพกพาเหมาะที่จะ
นํามาใช้ในการเรียนการสอนในอนาคต ไม่เพียงแต่ขนาดของ
เครื่องที่ผู้เรียนสามารถพกพาติดตัวไปได้สะดวก นํ้าหนักที่
เบากว่า แบตเตอร์รี่ใช้ได้นานกว่า การมีโอกาสมากกว่าที่จะ
ใช้ Application ที่เป็นประโยชน์และส่งเสริมการเรียนรู้ได้
ราคาเครื่องที่ไม่แพงเกินไป แต่ยังรวมไปถึงการได้รับ
สนับสนุนจากรัฐบาลให้มีเครื่องใช้อีกด้วย อย่างไรก็ดีสิ่งที่
สําคัญคือ คอมพิวเตอร์แบบพกพานั้นไม่ได้สอน (Portable
Devices do not teach) ถึงแม้อุปกรณ์และเทคโนโลยีจะเข้ามา
มีบทบาทกับการเรียนการสอนมากขึ้นก็ตาม จากผล
การศึกษาเบื้องต้นของหลายสถาบันวิจัยต่างก็พบว่า “ครู”
เป็นกลไกสําคัญในห้องเรียน เพราะเป็นผู้ดําเนินการจัดการ
เรียนการสอน ควบคุม และส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ขณะที่คอมพิวเตอร์แบบพกพามีบทบาทเป็นเพียงส่วนหนึ่ง
ของอุปกรณ์การเรียนเท่านั้น ดังนั้นครูจะต้องมีการ
เตรียมพร้อมให้ดี เพื่อให้สามารถบรรลุแผนการสอนที่จะนํา
Application มาประยุกต์เป็นส่วนหนึ่งของการสอนได้ เพราะ
ความรู้ที่ผู้เรียนจะได้รับในแต่ละรายวิชานั้นยังขึ้นอยู่ที่
เทคนิคการสอน ศักยภาพ และประสบการณ์ของผู้สอนเป็น
สําคัญ ยกตัวอย่างเช่น การกําหนดให้เรียนด้วยคอมพิวเตอร์
แบบพกพานั้นอาจจะช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกฟังและออกเสียงทั้ง
ภาษาไทยและภาษาอังกฤษจากเจ้าของสําเนียงได้ชัดเจนขึ้น
แต่ข้อด้อยคือ Application ไม่สามารถอบรมสั่งสอน แสดง
ความเห็นอกเห็นใจ สังเกตอารมณ์ของผู้เรียน วิเคราะห์ความ
ต้องการของผู้เรียน เข้าใจนิสัยใจคอของผู้เรียน ให้กําลังใจ
175
ผู้เรียน หรือเป็นขวัญและกําลังได้ ดังนั้น การประยุกต์
และปรับกระบวนการเรียนการสอนควบคู่กับการใช้
เทคโนโลยีอย่างลงตัวจึงเป็นสิ่งที่จําเป็นที่สุด
3) อิทธิพลของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพา
กับการเรียนรู้
จากผลการศึกษาโดยบริษัท Ericsson คาดว่า ในปี พ.ศ.
2558 ร้อยละ 80 ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลกจะเข้าใช้
ผ่านทางอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพา (the New
Media Consortium & the EDUCAUSE Learning
Initiative an EDUCAUSE Program, 2011) นอกจากนี้
จากการรวบรวมผลงานวิจัยต่างๆ พบว่าการมี
คอมพิวเตอร์แบบพกพาทําให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้
อย่างมีประสิทธิภาพ (Onlinecolleges, 2012) เพราะ
• ผู้เรียนใช้เวลากับกิจกรรมการเรียนเพิ่มขึ้นถึง
10 เท่า (เปรียบเทียบเฉพาะในช่วงปี ค.ศ. 2011-
2012)
• ผู้เรียนจะสนใจความก้าวหน้าในการเรียนของ
ตนเองมากขึ้นกว่า 3 เท่า
• ประมาณร้อยละ 70 ของผู้เรียนติดตั้งโปรแกรม
เพื่อการศึกษาในเครื่องด้วยตนเอง
• กว่าร้อยละ 60 ยินดีจ่ายเงินเพื่อซื้อโปรแกรม
เพื่อการศึกษา
• ผู้เรียนที่มีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพาจะใช้
เครื่องเพื่อการศึกษาเฉลี่ยมากกว่าผู้ที่ไม่มี
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพาเฉลี่ยประมาณ
40 นาทีต่อสัปดาห์
รูปที่ 2 ผลการศึกษาการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบ
พกพาเพื่อการศึกษา
ที่มา (Onlinecolleges, 2012)
นอกจากนี้จากการวิจัยเปรียบเทียบพฤติกรรมการเลือกใช้
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพาแบบต่างๆ เช่น Smart
Phone, Laptop, Tablet/Slate , Mini Netbook พบว่าผู้ใช้ส่วน
ใหญ่เลือก และชอบที่จะใช้ Tablet หรือ Slate PC ในการ
ประกอบกิจกรรมต่างๆ สูงที่สุด (Evans, 2011) ซึ่งผลการวิจัย
ดังกล่าวสนับสนุนการตัดสินใจการดําเนินการโครงการ
OTPC ของรัฐบาลไทยเช่นกัน นอกจากนี้ จากรายงานของ
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เรื่องการติดตาม
ผลการใช้งานแท็บเล็ตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทั่ว
ประเทศ ตามโครงการ OTPC โดยทําการสํารวจโรงเรียน
จํานวน 20,700 โรง พบว่า ครูมีการให้เด็กใช้งานแท็บเล็ตเพื่อ
การเรียนการสอนเฉลี่ยสัปดาห์ละ 4 วัน วันละ 55 นาที โดย
ใช้แท็บเล็ตในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาหลักมากที่สุด คือ วิชา
ภาษาไทย ร้อยละ 56.05 สังคมศึกษา ร้อยละ 44.5
คณิตศาสตร์ ร้อยละ 42.7 วิทยาศาสตร์ ร้อยละ 38.1 และ
ภาษาอังกฤษ ร้อยละ 35.5 ในการสํารวจเดียวกันนี้ได้มีการ
สอบถามความคิดเห็นของผู้ปกครองเกี่ยวกับเรื่องนี้ด้วยซึ่ง
พบภาพรวมที่น่าพอใจคือ ผู้ปกครอง ร้อยละ 86.1 เชื่อว่าการ
ใช้แท็บเล็ตจะส่งผลดีต่อการศึกษาของเด็ก ขณะเดียวกัน
ผู้ปกครองเกือบทั้งหมดหรือร้อยละ 93.9 ยังเชื่อว่าแท็บเล็ต
ช่วยให้เด็กไทยก้าวทันเทคโนโลยี อีกทั้งผู้ปกครอง ร้อยละ
82 เชื่อว่าแท็บเล็ตจะช่วยให้เด็กไทยรู้จักค้นคว้าหาความรู้
อย่างไรก็ตามยังพบว่าสิ่งที่จําเป็นที่ต้องเร่งจัดหาในด้าน
กายภาพคือ ตู้จัดเก็บเครื่องและอุปกรณ์ชาร์จไฟ (เดลินิวส์,
2556)
อย่างไรก็ดีผลการวิจัยของโครงการวิจัยยุทธศาสตร์การ
ปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อสร้างความรับผิดชอบ โดย
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) พบว่าสิ่ง
ที่ต้องเร่งพัฒนาคือ การสร้าง Courseware, Software รวมไป
ถึง Application สําหรับแท็บเล็ตที่ใช้ศักยภาพเทคโนโลยีของ
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพาที่เหมาะสม การเปลี่ยนจาก
เล่มตําราหนังสือที่พิมพ์บนกระดาษเป็นไฟล์ให้อ่านบน
เครื่องแบบ Portable Documents File (PDF) นั้นยังไม่
น่าสนใจพอ จึงมีข้อเสนอแนะให้กระทรวงศึกษาธิการ
พิจารณาการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและศักยภาพของ
เครื่องฯ ให้มากกว่าที่เป็นอยู่ ยกตัวอย่างเช่น การเรียนรู้เรื่อง
แผ่นดินไหว ควรใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์แบบความจริง
176
เสมือน ซึ่งเด็กจะเห็นภาพ 3 มิติ หรือภาพเคลื่อนไหว
เป็นต้น (ทีมข่าวการศึกษา, 2556)
4) อุปสงค์การเรียนรู้ด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
แบบพกพา
นับเป็นสิ่งที่น่าเป็นห่วงหากเกิดความเข้าใจผิดว่าอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์แบบพกพาจะสามารถทดแทนผู้สอน หรือ
ห้องเรียนได้อย่างสมบูรณ์ ดังนั้นจึงควรมีความเข้าใจ
เกี่ยวกับอุปสงค์การเรียนรู้ตามที่ คอนราด ก๊อตต์เฟรดสัน
(Conrad Gottfredson, 2013) ได้อธิบายไว้ว่าความรู้จะ
เกิดขึ้นเมื่อ
1. การเรียนรู้ครั้งแรก (Learning for the First
Time)
2. การเรียนเพิ่ม (Wanting to Learn More)
3. การพยายามจดจํา (Trying to Remember)
4. การเปลี่ยนแปลง (Things Change)
5. การมีบางสิ่งผิดปกติ (Something Goes Wrong)
จากอุปสงค์การเรียนรู้ 5 ข้อข้างต้นนั้น ก๊อตต์เฟรดสัน
(2013) แนะนําว่าการสอนด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบ
พกพานั้นเหมาะสําหรับลักษณะในข้อที่ 3-5 เท่านั้น แม้
ในทางทฤษฏีจะสามารถเรียนได้ทุกขั้นก็ตาม อุปกรณ์
คอมพิวเตอร์แบบพกพาเป็นเพียงอุปกรณ์ส่งเสริมการ
เรียนรู้ ไม่ใช่อุปกรณ์หลักในห้องเรียน ซึ่งแนะนําให้ใช้
เพื่อทบทวนความรู้ก่อนเรียน (Activating knowledge
before a classroom) สรุป (Summarizing) ทบทวนความรู้
ซํ้าเพื่อช่วยให้จดจําได้นาน (Reactivating knowledge) ฝึก
ประยุกต์ความรู้ด้วยการทําแบบฝึ กหัดหรือเล่นเกม
(Providing application opportunities through pop
quizzes or learning games on mobile) เพื่อการสืบค้น
ข้อมูลอย่างทันท่วงที (Just-in-time search support)
(Gottfredson, 2013) เป็นต้น
5) ข้อสังเกตเพื่อพิจารณา
แม้การสอนด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพาจะเป็น
ประโยชน์อย่างมากต่อการศึกษา แต่การนําอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ร่วมไปถึงข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตมาใช้ใน
ระหว่างดําเนินการเรียนการสอนคงจะไม่ใช่คําตอบที่ถูกต้อง
เพียงข้อเดียวของการศึกษา ดังเช่น ผลการวิจัยของ Pew
Internet Project (2012) ในประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็น
ประเทศที่มีการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและคอมพิวเตอร์
เพื่อการศึกษาอย่างแพร่หลายแต่กลับสะท้อนข้อเท็จจริงอีก
มุมหนึ่ง นั่นคือ
• ร้อยละ 87 ของผู้สอนจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นคุณครู
กว่า 2,000 คน ระบุว่า การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อ
สืบค้นระหว่างเรียนเป็นการรบกวนสมาธิผู้เรียน
ทําให้มีความสนใจในบทเรียนเพียงช่วงเวลาสั้นๆ
• ร้อยละ 64 ของกลุ่มตัวอย่าง กล่าวว่าเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์รบกวนผู้เรียนมากกว่าส่งเสริมการ
เรียนรู้เสียอีก
จากผลดังกล่าวครูผู้สอนจึงควรจะต้องเอาใจใส่ รู้จักวางแผน
การสอนให้แยบยลเพื่อป้ องกันปัญหาที่เกิดขึ้นจากความลํ้า
สมัยของเทคโนโลยีและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เหล่านี้
โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องเน้นเรื่องคุณธรรม จริยธรรม มารยาท
ในห้องเรียน มารยาทในการสื่อสาร การเลือกรับข้อมูลจาก
แหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือและเป็นประโยชน์ การทํา
อ้างอิง และการเคารพลิขสิทธิ์ทางปัญญาของเจ้าของผลงานที่
เผยแพร่อยู่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (อธิปัตย์ คลี่สุนทร,
2555) การใช้ข้อความที่สุภาพ ถูกต้องตามหลักภาษา การ
หลีกเลี่ยงที่จะสื่อสารกับคนแปลกหน้าผ่านอินเทอร์เน็ต ฯลฯ
ครูและผู้ปกครองจะต้องสังเกตพฤติกรรมว่าผู้เรียนจะติด
อินเทอร์เน็ตหรือเกมคอมพิวเตอร์ที่ไร้สาระหรือไม่ เนื่องจาก
จะส่งผลเสียต่อสุขภาพ บุคลิกภาพและอนาคต เพราะมักจะ
ทําให้เป็นผู้ที่ชอบเก็บตัวอยู่คนเดียว มีความอดทนในการรอ
คอยอย่างจํากัด สมาธิสั้น และมักจะมีความกังวลที่จะต้องเข้า
ตรวจสอบข้อมูลใหม่ๆ ตลอดเวลา เป็นต้น
สรุป
ด้วยความจริงที่ว่าสิ่งต่างๆ ย่อมมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
การนําอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพามาใช้ในการศึกษา
ย่อมจะนําการเปลี่ยนแปลงมาสู่สังคม ทั้งนี้ผู้ที่เกี่ยวข้องทุก
ฝ่ายจะต้องร่วมแรงร่วมใจ สร้างแนวทางที่ชัดเจนในการ
พัฒนา ควรจะยึดมั่นในแก่นแท้ของการศึกษาที่มีเนื้อหาสาระ
เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต ความคิดและสร้างสมดุลทาง
177
ปัญญา เพื่อคงไว้ซึ่งความเจริญของอดีตปัจจุบันและ
อนาคต รวมทั้งมีการเตรียมครูเป็นอย่างดี ด้วยการเตรียม
ความพร้อมของผู้เรียนให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลง
ของยุคสมัยและเทคโนโลยีได้ต่อไป
เอกสารอ้างอิง
เดลินิวส์ (2556, 27 มี.ค.). การศึกษาไทย ยังใช้ประโยชน์
จากแท็บเล็ตไม่เต็มที่!! เดลินิวส์, from
http://www.dailynews.co.th/article/440/193330
ทีมข่าวการศึกษา (2556, 27 มี.ค.). วิจัยพบเนื้อหาแท็บ
เล็ตไม่หนุนการสอน. ไทยรัฐ, from
http://www.thairath.co.th/content/edu/335054
อธิปัตย์คลี่สุนทร. (2555) ระบบสารสนเทศเพื่อการ
บริหารการศึกษา. สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา
, สารานุกรมวิชาชีพครู เฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องจากใน
โอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระ
ชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2555. (pp.
379-386) กรุงเทพฯ.
Evans, S. (2011, May). Portable Devices Research
Report Retrieved 2nd April, 2013, from
http://www.harrisinteractive.com/vault/HI
_UK_Corp_News-Portable-Devices-
Report-Infographic.pdf
Gottfredson, C. (2013). Benefits & Applications of
Mobile Learning Retrieved 2nd April, 2013,
from
http://www.upsidelearning.com/benefits-
applications-mobile-learning.asp
Onlinecolleges (2012, 7th August). CONNECTING
APPS & EDUCATION Retrieved 2nd
April, 2013, from
http://www.onlinecolleges.net/2012/08/07/con
necting-apps-education/
Pew Internet Project. (2012, 1st November). How
Teens Do Research in the Digital World.
Retrieved 2nd April, 2013, from
http://www.pewinternet.org/~/media/Files/
Reports/2012/PIP_TeacherSurveyReport
WithMethodology110112.pdf
Rosenberg, M. (2012). 2 How to build a mobile
learning strategy. In N. Norman (Ed.), 7
things everyone should know about mobile
learning (Vol. 2013): Epic Whitepaper
the New Media Consortium, & the EDUCAUSE
Learning Initiative an EDUCAUSE Program
(2011, Dec 3). The 2011 Horizon Report,
from
http://net.educause.edu/ir/library/pdf/HR2011.p
df
178
544
545
Poonsri NEC2013:Strengthening Instruction through Portable Device การเพิ่มประสิทธิภาพการสอนด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพา

More Related Content

Viewers also liked

Cherokee County Tornado Drill testing Social Media
Cherokee County Tornado Drill testing Social MediaCherokee County Tornado Drill testing Social Media
Cherokee County Tornado Drill testing Social MediaConnie White
 
0659096 ROCKBAND!
0659096 ROCKBAND!0659096 ROCKBAND!
0659096 ROCKBAND!Ali G
 
Educational Technology Strategy for 21st Century for Schools under Bangkok Me...
Educational Technology Strategy for 21st Century for Schools under Bangkok Me...Educational Technology Strategy for 21st Century for Schools under Bangkok Me...
Educational Technology Strategy for 21st Century for Schools under Bangkok Me...Dr Poonsri Vate-U-Lan
 
Evolution of Enterprise Software Development
Evolution of Enterprise Software DevelopmentEvolution of Enterprise Software Development
Evolution of Enterprise Software DevelopmentMitchDenny
 
Hope (something we all need)
Hope  (something we all need)Hope  (something we all need)
Hope (something we all need)Billen
 
Futrinka utca Egyesület - 1. verzió
Futrinka utca Egyesület - 1. verzióFutrinka utca Egyesület - 1. verzió
Futrinka utca Egyesület - 1. verzióguestfc9287
 
Interfaces, Surface Computing and Ubiquitous Computing
Interfaces, Surface Computing and Ubiquitous ComputingInterfaces, Surface Computing and Ubiquitous Computing
Interfaces, Surface Computing and Ubiquitous ComputingChip Huyen
 
Desiderata
DesiderataDesiderata
DesiderataBillen
 
Web 2 and RSS
Web 2 and RSSWeb 2 and RSS
Web 2 and RSSgohawks
 
Australia Trek Itinerary 2009
Australia Trek Itinerary 2009Australia Trek Itinerary 2009
Australia Trek Itinerary 2009guest7859a
 
Crowdfunding Workshop Kennisfestival Delft
Crowdfunding Workshop Kennisfestival DelftCrowdfunding Workshop Kennisfestival Delft
Crowdfunding Workshop Kennisfestival DelftRonald Kleverlaan
 
Nando & Carol !
Nando & Carol !Nando & Carol !
Nando & Carol !guest841f
 
Quiz Topics For 1st Quiz 8th
Quiz Topics For 1st Quiz 8thQuiz Topics For 1st Quiz 8th
Quiz Topics For 1st Quiz 8thawltech
 
The Cloud as a Platform
The Cloud as a PlatformThe Cloud as a Platform
The Cloud as a Platformjineshvaria
 
1. Consulting Gallery Km & Dash Creator Final
1.  Consulting Gallery   Km & Dash Creator Final1.  Consulting Gallery   Km & Dash Creator Final
1. Consulting Gallery Km & Dash Creator Finalguestc908
 

Viewers also liked (19)

Cherokee County Tornado Drill testing Social Media
Cherokee County Tornado Drill testing Social MediaCherokee County Tornado Drill testing Social Media
Cherokee County Tornado Drill testing Social Media
 
Web Accessibility Thailand
Web Accessibility ThailandWeb Accessibility Thailand
Web Accessibility Thailand
 
0659096 ROCKBAND!
0659096 ROCKBAND!0659096 ROCKBAND!
0659096 ROCKBAND!
 
Educational Technology Strategy for 21st Century for Schools under Bangkok Me...
Educational Technology Strategy for 21st Century for Schools under Bangkok Me...Educational Technology Strategy for 21st Century for Schools under Bangkok Me...
Educational Technology Strategy for 21st Century for Schools under Bangkok Me...
 
Evolution of Enterprise Software Development
Evolution of Enterprise Software DevelopmentEvolution of Enterprise Software Development
Evolution of Enterprise Software Development
 
Hope (something we all need)
Hope  (something we all need)Hope  (something we all need)
Hope (something we all need)
 
Futrinka utca Egyesület - 1. verzió
Futrinka utca Egyesület - 1. verzióFutrinka utca Egyesület - 1. verzió
Futrinka utca Egyesület - 1. verzió
 
Interfaces, Surface Computing and Ubiquitous Computing
Interfaces, Surface Computing and Ubiquitous ComputingInterfaces, Surface Computing and Ubiquitous Computing
Interfaces, Surface Computing and Ubiquitous Computing
 
Desiderata
DesiderataDesiderata
Desiderata
 
Crowdfunding in nederland
Crowdfunding in nederlandCrowdfunding in nederland
Crowdfunding in nederland
 
Web 2 and RSS
Web 2 and RSSWeb 2 and RSS
Web 2 and RSS
 
Australia Trek Itinerary 2009
Australia Trek Itinerary 2009Australia Trek Itinerary 2009
Australia Trek Itinerary 2009
 
Crowdfunding Workshop Kennisfestival Delft
Crowdfunding Workshop Kennisfestival DelftCrowdfunding Workshop Kennisfestival Delft
Crowdfunding Workshop Kennisfestival Delft
 
Nando & Carol !
Nando & Carol !Nando & Carol !
Nando & Carol !
 
Quiz Topics For 1st Quiz 8th
Quiz Topics For 1st Quiz 8thQuiz Topics For 1st Quiz 8th
Quiz Topics For 1st Quiz 8th
 
Introduction to Mobile Development
Introduction to Mobile DevelopmentIntroduction to Mobile Development
Introduction to Mobile Development
 
The Cloud as a Platform
The Cloud as a PlatformThe Cloud as a Platform
The Cloud as a Platform
 
8 trail creationguide
8 trail creationguide8 trail creationguide
8 trail creationguide
 
1. Consulting Gallery Km & Dash Creator Final
1.  Consulting Gallery   Km & Dash Creator Final1.  Consulting Gallery   Km & Dash Creator Final
1. Consulting Gallery Km & Dash Creator Final
 

More from Dr Poonsri Vate-U-Lan

Role of ICT Improving Quality of Future Teachers: A Proposed ICT Competency...
Role of  ICT  Improving Quality of Future Teachers: A Proposed ICT Competency...Role of  ICT  Improving Quality of Future Teachers: A Proposed ICT Competency...
Role of ICT Improving Quality of Future Teachers: A Proposed ICT Competency...Dr Poonsri Vate-U-Lan
 
Honorable Life of Asst. Prof. Dr. Pairoj Bowjai
Honorable Life of Asst. Prof. Dr. Pairoj BowjaiHonorable Life of Asst. Prof. Dr. Pairoj Bowjai
Honorable Life of Asst. Prof. Dr. Pairoj BowjaiDr Poonsri Vate-U-Lan
 
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที...
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที...นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที...
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที...Dr Poonsri Vate-U-Lan
 
Toward Understanding the Impact of Artificial Intelligence on Education: An E...
Toward Understanding the Impact of Artificial Intelligence on Education: An E...Toward Understanding the Impact of Artificial Intelligence on Education: An E...
Toward Understanding the Impact of Artificial Intelligence on Education: An E...Dr Poonsri Vate-U-Lan
 
Pedagogical Innovations: Lessons Learned from École 42 นวัตกรรมการสอน บทเรียน...
Pedagogical Innovations: Lessons Learned from École 42 นวัตกรรมการสอน บทเรียน...Pedagogical Innovations: Lessons Learned from École 42 นวัตกรรมการสอน บทเรียน...
Pedagogical Innovations: Lessons Learned from École 42 นวัตกรรมการสอน บทเรียน...Dr Poonsri Vate-U-Lan
 
วารสารเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา มูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ในพระบ...
วารสารเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา มูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ในพระบ...วารสารเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา มูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ในพระบ...
วารสารเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา มูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ในพระบ...Dr Poonsri Vate-U-Lan
 
Pedagogical inno poonsri_23_april_2019_public
Pedagogical inno poonsri_23_april_2019_publicPedagogical inno poonsri_23_april_2019_public
Pedagogical inno poonsri_23_april_2019_publicDr Poonsri Vate-U-Lan
 
Unicef brochure by Thai students at TUP
Unicef brochure by Thai students at TUPUnicef brochure by Thai students at TUP
Unicef brochure by Thai students at TUPDr Poonsri Vate-U-Lan
 
eLearning in practice in Higher Education by Prof. Edward Reeve
eLearning in practice in Higher Education by Prof. Edward ReeveeLearning in practice in Higher Education by Prof. Edward Reeve
eLearning in practice in Higher Education by Prof. Edward ReeveDr Poonsri Vate-U-Lan
 
Writing a research article by Dr. Poonsri Vate-U-Lan
Writing a research article by Dr. Poonsri Vate-U-LanWriting a research article by Dr. Poonsri Vate-U-Lan
Writing a research article by Dr. Poonsri Vate-U-LanDr Poonsri Vate-U-Lan
 
Journal of Educational Technology 2560
Journal of Educational Technology 2560Journal of Educational Technology 2560
Journal of Educational Technology 2560Dr Poonsri Vate-U-Lan
 
Internet of Things in Agriculture: a Case Study of Smart Dairy Farming in On...
Internet of Things in Agriculture: a Case Study of  Smart Dairy Farming in On...Internet of Things in Agriculture: a Case Study of  Smart Dairy Farming in On...
Internet of Things in Agriculture: a Case Study of Smart Dairy Farming in On...Dr Poonsri Vate-U-Lan
 
Poonsri Vate-U-Lan, Donna Quigley, Panicos Masouras: Internet of things in ag...
Poonsri Vate-U-Lan, Donna Quigley, Panicos Masouras: Internet of things in ag...Poonsri Vate-U-Lan, Donna Quigley, Panicos Masouras: Internet of things in ag...
Poonsri Vate-U-Lan, Donna Quigley, Panicos Masouras: Internet of things in ag...Dr Poonsri Vate-U-Lan
 

More from Dr Poonsri Vate-U-Lan (20)

Yanan_Vate-U-Lan.pdf
Yanan_Vate-U-Lan.pdfYanan_Vate-U-Lan.pdf
Yanan_Vate-U-Lan.pdf
 
Liu_Vate-U-Lan.pdf
Liu_Vate-U-Lan.pdfLiu_Vate-U-Lan.pdf
Liu_Vate-U-Lan.pdf
 
Yang_Vate-U-Lan.pdf
Yang_Vate-U-Lan.pdfYang_Vate-U-Lan.pdf
Yang_Vate-U-Lan.pdf
 
Role of ICT Improving Quality of Future Teachers: A Proposed ICT Competency...
Role of  ICT  Improving Quality of Future Teachers: A Proposed ICT Competency...Role of  ICT  Improving Quality of Future Teachers: A Proposed ICT Competency...
Role of ICT Improving Quality of Future Teachers: A Proposed ICT Competency...
 
Honorable Life of Asst. Prof. Dr. Pairoj Bowjai
Honorable Life of Asst. Prof. Dr. Pairoj BowjaiHonorable Life of Asst. Prof. Dr. Pairoj Bowjai
Honorable Life of Asst. Prof. Dr. Pairoj Bowjai
 
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที...
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที...นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที...
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที...
 
Toward Understanding the Impact of Artificial Intelligence on Education: An E...
Toward Understanding the Impact of Artificial Intelligence on Education: An E...Toward Understanding the Impact of Artificial Intelligence on Education: An E...
Toward Understanding the Impact of Artificial Intelligence on Education: An E...
 
Poonsri pedagogy innovations_2019
Poonsri pedagogy innovations_2019Poonsri pedagogy innovations_2019
Poonsri pedagogy innovations_2019
 
Pedagogical Innovations: Lessons Learned from École 42 นวัตกรรมการสอน บทเรียน...
Pedagogical Innovations: Lessons Learned from École 42 นวัตกรรมการสอน บทเรียน...Pedagogical Innovations: Lessons Learned from École 42 นวัตกรรมการสอน บทเรียน...
Pedagogical Innovations: Lessons Learned from École 42 นวัตกรรมการสอน บทเรียน...
 
วารสารเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา มูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ในพระบ...
วารสารเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา มูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ในพระบ...วารสารเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา มูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ในพระบ...
วารสารเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา มูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ในพระบ...
 
Pedagogical inno poonsri_23_april_2019_public
Pedagogical inno poonsri_23_april_2019_publicPedagogical inno poonsri_23_april_2019_public
Pedagogical inno poonsri_23_april_2019_public
 
Edtech journal 2018_2561
Edtech journal 2018_2561Edtech journal 2018_2561
Edtech journal 2018_2561
 
Unicef brochure by Thai students at TUP
Unicef brochure by Thai students at TUPUnicef brochure by Thai students at TUP
Unicef brochure by Thai students at TUP
 
Unicef brochure in Thai
Unicef brochure in ThaiUnicef brochure in Thai
Unicef brochure in Thai
 
eLearning in practice in Higher Education by Prof. Edward Reeve
eLearning in practice in Higher Education by Prof. Edward ReeveeLearning in practice in Higher Education by Prof. Edward Reeve
eLearning in practice in Higher Education by Prof. Edward Reeve
 
Writing a research article by Dr. Poonsri Vate-U-Lan
Writing a research article by Dr. Poonsri Vate-U-LanWriting a research article by Dr. Poonsri Vate-U-Lan
Writing a research article by Dr. Poonsri Vate-U-Lan
 
Journal of Educational Technology 2560
Journal of Educational Technology 2560Journal of Educational Technology 2560
Journal of Educational Technology 2560
 
PhDeLM_TQF7_appendix_4-2
PhDeLM_TQF7_appendix_4-2PhDeLM_TQF7_appendix_4-2
PhDeLM_TQF7_appendix_4-2
 
Internet of Things in Agriculture: a Case Study of Smart Dairy Farming in On...
Internet of Things in Agriculture: a Case Study of  Smart Dairy Farming in On...Internet of Things in Agriculture: a Case Study of  Smart Dairy Farming in On...
Internet of Things in Agriculture: a Case Study of Smart Dairy Farming in On...
 
Poonsri Vate-U-Lan, Donna Quigley, Panicos Masouras: Internet of things in ag...
Poonsri Vate-U-Lan, Donna Quigley, Panicos Masouras: Internet of things in ag...Poonsri Vate-U-Lan, Donna Quigley, Panicos Masouras: Internet of things in ag...
Poonsri Vate-U-Lan, Donna Quigley, Panicos Masouras: Internet of things in ag...
 

Poonsri NEC2013:Strengthening Instruction through Portable Device การเพิ่มประสิทธิภาพการสอนด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพา

  • 1. DEMO : Purchase from www.A-PDF.com to remove the watermark
  • 2. การประชุมวิชาการระดับชาติดานอีเลิรนนิง ประจําป 2556 “Strengthening Learning Quality: Bridging Engineering and Education” หลักการและเหตุผล การจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิง ถือเปนนวัตกรรมทางการศึกษาที่สําคัญในปจจุบัน การนําอีเลิรนนิงมาใชใน การจัดการศึกษาในรูปแบบและระดับที่เหมาะสมจะชวยเพิ่มคุณภาพการศึกษาไดอยางมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ความรูเกี่ยวกับการจัดการศึกษาอีเลิรนนิงครอบคลุมทั้งแนวกวางและแนวลึก ซึ่งครอบคลุมตั้งแต นโยบาย และยุทธศาสตรขององคกรการศึกษาในการบูรณาการอีเลิรนนิงเขาสูวิถีการจัดการเรียนการสอน การประกันคุณภาพ การศึกษาอีเลิรนนิง การบริหารโครงการอีเลิรนนิง การบริหารศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษาเพื่อการใหบริการ การออกแบบ และผลิตอีเลิรนนิงคอรสแวร เทคนิคและวิธีการสอนและการประเมินผลในระบบอีเลิรนนิง ฯลฯ ในปจจุบันเทคโนโลยี แนวคิด และนวัตกรรมที่ใชในการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิงไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่องและรวดเร็วในทุกดาน โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีพันธกิจที่สําคัญที่จะสงเสริมการจัด การศึกษาอีเลิรนนิงใหกวางขวาง โดยการสรางความรวมมือกับองคกร สถาบันการศึกษาทั้งในประเทศและตางประเทศ เห็นถึงความสําคัญในการจัดการความรูดานอีเลิรนนิง เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจที่ชัดเจน จึงไดจัดการประชุมวิชาการ ระดับชาติดานอีเลิรนนิง ป 2556 ระหวางวันที่ 5-6 สิงหาคม 2556 โดยมีหัวขอหลักของงานคือ "Strengthening Learning Quality: Bridging Engineering and Education" เพื่อเปนตัวกลางในการระดมผูรู ผูเชี่ยวชาญทั้งในระดับชาติ และนานาชาติมารวมกันประมวลความรู เพื่อสรางความรูในวิทยาการอีเลิรนนิง วิเคราะห และสังเคราะหแนวทาง การใชอีเลิรนนิงเพื่อเพิ่มคุณภาพการศึกษาของประเทศ ดําเนินการจัดทําเปนคลังความรูสําหรับการศึกษาและอางอิง ของ นักวิชาการการศึกษา นักวิจัย คณาจารย และนิสิตนักศึกษาตอไป วัตถุประสงค 1) เพื่อใหสถาบันการศึกษาไทยและผูเกี่ยวของไดรับความรูดานอีเลิรนนิงที่ทันสมัยจากผูทรงคุณวุฒิทั้งในและ ตางประเทศ 2) เพื่อเปดโอกาสใหนักวิชาการไทยและนักศึกษาไดมีเวทีเผยแพรแลกเปลี่ยนเรียนรู ดานอีเลิรนนิงที่ครอบคลุม และงานวิจัยเพื่อพัฒนาอยางกวางขวาง 3) เพื่อสรางความรวมมือทางการศึกษาในระดับชาติและนานาชาติ กิจกรรมภายในงาน 1) การสัมมนาวิชาการโดยเชิญวิทยากรผูทรงคุณวุฒิเฉพาะดานจากตางประเทศและในประเทศ ใหเปน ผูประมวลความรู และเปนผูนําเสนอหลักในการบรรยายและเสวนาความรู 2) การนําเสนอผลงานวิจัยดานอีเลิรนนิง 3
  • 3. กําหนดการ ประชุมวิชาการระดับชาติดานอีเลิรนนิง Strengthening Learning Quality: Bridging Engineering and Education ของโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจําป 2556 วันจันทรที่ 5 สิงหาคม 2556 Main Session: Sapphire 101-104 MC: ชญาวัต ยอดมณี 8.00 - 9.00 น. ลงทะเบียน 9.15 - 9.30 น. กลาวเปดงาน และพิธีมอบโล การประกาศเกียรติคุณหนวยงานเผยแพรความรูแบบอีเลิรนนิง ประจําป 2556 โดยนายสุภัทร จําปาทอง ผูชวยเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา 9.30 - 10.15 น. Keynote Speaker 1 Lifelong Learning in Aging Societies Professor Dr. Okabe Yoichi President, The Open University of Japan, Japan 10.15 - 10.45 น. พักรับประทานอาหารวาง 10.45 - 11.30 น. Keynote Speaker 2 Challenges facing emerging technology in new learning model เทคโนโลยีอุบัติใหม ความทาทายตอการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเรียนรู รองศาสตราจารย ยืน ภูวรวรรณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 11.30 - 12.15 น. Keynote Speaker 3 Learning Styles and Brain-Based Learning รองศาสตราจารย ดร.นพ.ชัยเลิศ พิชิตพรชัย อธิการบดีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช 6
  • 4. วันจันทรที่ 5 สิงหาคม 2556 Session A1: Paper Presentation Venue: Sapphire Room 108 Chairperson: ผศ.ดร.ดิเรก ธีระภูธร 13.30-14.00 น. พิธีมอบประกาศนียบัตร หลักสูตรผูเชี่ยวชาญอีเลิรนนิง (เฉพาะผูเรียน e-Pro) 14.00-14.20 น. การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรูผานการประมวลผล แบบกลุมเมฆ Development of Information System for Knowledge Sharing via Cloud Computing กรรวิภา หวังทอง, ปณิตา วรรณพิรุณ A1_1 หนา 16 14.20-14.40 น. การนําเสนอแบบจําลองเพื่อวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอความตั้งใจที่จะใช e-Learning บน Cloud Computing Proposed Model of Factors Influencing Intention to use e-Learning based on Cloud Computing กนกวรรณ อัจฉริยะชาญวณิช, ณัฐพงศ ใจวงศ, ณัฐชนน สิริปูชกะ A1_2 หนา 23 14.40-15.00 น. ชุมชนนักปฏิบัติเสมือนดานการพัฒนาบทเรียนอีเลิรนนิงแบบปฏิสัมพันธ ผานเครือขายสังคมและคลาวดคอมพิวติง ของสํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา Virtual Community of Practice in Interactive e-Learning Development via Social Media and Cloud Computing for office of vocational education commission อภิชาติ อนุกูลเวช, ปณิตา วรรณพิรุณ A1_3 หนา 29 15.00-15.20 น. การพัฒนาระบบบริหารสถานศึกษาอัจฉริยะเพื่อดูแลชวยเหลือผูเรียนผาน คลาวดคอมพิวติง สําหรับสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน Development of School Information System for Assistance Learner via Cloud Computing for Office of the Private Education Commission นิพนธ สุขวิลัย, ปณิตา วรรณพิรุณ A1_4 หนา 36 15.20-15.40 น. พักรับประทานอาหารวาง 8
  • 5. 15.40-16.00 น. การออกแบบระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการความรูเพื่อสนับสนุนการสราง องคความรูผานสภาพแวดลอมแบบคลาวดสําหรับสถาบันอุดมศึกษา Design of knowledge management system for facilitating knowledge as a service (KaaS) in cloud computing environment for Higher Education อนุชิต อนุพันธ, ปณิตา วรรณพิรุณ A1_5 หนา 44 16.00-16.20 น. การพัฒนา Private Cloud รูปแบบบริการ IaaS ถึง SaaS สําหรับอีเลิรนนิง Development of IaaS to SaaS Private Cloud for e-Learning ประณต บุญไชยอภิสิทธิ์ A1_6 หนา 53 16.20-16.40 น. การพัฒนาเกมคอมพิวเตอรเรื่องคุณภาพอากาศสําหรับเด็ก Game Development for Learning Air Quality for Kids สุวรรณี อัศวกุลชัย A1_7 หนา 59 16.40-17.00 น. ตัวชี้นําดวยภาพแบบเคลื่อนไหวในบทเรียนมัลติมีเดียแบบเกม : การเสริมสรางความสามารถดานมิติสัมพันธของผูเรียนที่มีความสามารถ ดานมิติสัมพันธต่ํา Dynamic Visual Cues in Game-Based Multimedia Lessons: Enhancing learners with low spatial ability พรรณปพร จตุวีรพงษ, ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ A1_8 หนา 67 17.00-17.20 น. การพัฒนาเว็บฝกอบรมแบบรวมมือ เรื่องการจัดการความรู เพื่อสงเสริม แลกเปลี่ยนเรียนรู สําหรับบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการของ สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน Development of Collaborative Web-based Training on knowledge to enhance Knowledge Sharing for Administrative Staff of Pathumwan Institute of technology ญาณิศา ทองหมื่นไวย, ปณิตา วรรณพิรุณ A1_9 หนา 75 9
  • 6. Session B1: Paper Presentation Venue: Sapphire Room 109 Chairperson: ผศ.ดร.จารุวรรณ กฤตยประชา 13.30-14.00 น. Reflection on Teaching and Learning: From Books to MOOCs and Beyond Dr.Mei-Yan Lu The Educational Leadership Department San Jose State University, USA B1_1 14.00-14.30 น. University 2.0: Participative, Collaborative, Sustainable Dr.Daniel Tiong Hok TAN Director Centre for excellence in learning & teaching Nanyang technological university, Singapore B1_2 14.30-14.50 น. การนําเสนอรูปแบบเกมสออนไลนในการเรียนการสอน: การสังเคราะห เกมสออนไลนที่ไดรับความนิยม Proposed Model of Online Games for Game-Based Education: Synthesizing of the Popular Online Games พรรณิสรา จั่นแยม, วีรชา ศิวเวทกุล, วลัยกร หงสทอง, โสภณ เสรีเสถียรทรัพย B1_3 หนา 83 14.50-15.10 น. เกมเพื่อสงเสริมการเรียนรูสําหรับเด็กประถมวัย Promoting Learning of Primary Children through Games บีสุดา ดาวเรือง, ปรวัฒน วิสูตรศักดิ์ B1_4 หนา 92 15.10-15.30 น. การประยุกตใชเทคโนโลยีความจริงเสริม สรางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส และกิจกรรมการเรียนรู เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง ความปลอดภัยของเทคโนโลยีสารสนเทศ The application of Augmented Reality in making e-Learning and educational activities to increase the learning achievement of the security systems of information technology lesson under the information technology subject. จํารัส กลิ่นหนู B1_5 หนา 96 15.30-15.50 น. พักรับประทานอาหารวาง 15.50-16.10 น. Development of Virtual Learning Centers in 3D Virtual Learning Environment to Enhance Students’ Team Learning Ability พีรภัทร ฉัตรสุวรรณ, เนาวนิตย สงคราม B1_6 หนา 103 10
  • 7. 16.10-16.30 น. เว็บฝกอบรมแบบหองสมุดเสมือนจริงเพื่อพัฒนาการรูสารสนเทศ โดยใชกรณีศึกษา เรื่อง การใชสารสนเทศในหองสมุด Web-Based Training using Case-Based Learning in using Information in Library to Develop Information Literacy แสงเดือน บํารุงภูมิ, ปรัชญนันท นิลสุข, ปณิตา วรรณพิรุณ B1_7 หนา 107 16.30-16.50 น. การเตรียมความพรอมโครงการหองเรียนอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยรังสิต The Preparation for Smart Classroom Project, Rangsit University ณัฐพัชร หลวงพล, วลัยภรณ นาคพันธุ B1_8 หนา 114 16.50-17.10 น. การออกแบบสื่อการสอนแบบปฏิสัมพันธดวยเทคโนโลยีเสมือนจริง ในสภาพแวดลอมทางการเรียนแบบยูบิคิวตัสเพื่อลดภาระทางปญญา ของผูเรียน Design of Interactive Instructional Media Applying an Augmented Reality in a Ubiquitous Learning Environment to Reduce Student Cognitive Loads สถาพร อยูสมบูรณ, ปณิตา วรรณพิรุณ B1_9 หนา 120 17.10-17.30 น. การศึกษาเพื่อเสนอแนวทางสําหรับออกแบบกลยุทธการสอน และสภาพแวดลอมการเรียนรูเชิงเสมือนเพื่อสงเสริมความคิดสรางสรรค A Study to Propose Design Guide for Learning Strategies and Virtual Learning Environment to Enhance Creative Thinking ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ, เสมอกาญจน โสภณหิรัญรักษ, สุมาลี เชื้อชัย B1_10 หนา 126 11
  • 8. Session C1: Paper Presentation Venue: Sapphire Room 110 Chairperson: ดร.อนิรุทธิ์ สติมั่น 13.30-13.50 น. ชุดเครื่องมือเรียนรูชนิดโตตอบ 3 มิติ บนเว็บไซต สําหรับการเขียน แบบวิศวกรรม VR-Learning: Interactive 3D Learning Toolkit on Web-based for Engineering Drawing กฤตชัย บุญศิวนนท C1_1 หนา 133 13.50-14.10 น. การพัฒนามหาวิทยาลัยในโลกเสมือนเพื่อเสริมสรางความเปนนานาชาติ ของมหาวิทยาลัยรังสิต The development of RSU Virtual Campus for the promotion of Internationalization ศิราภรณ ศิริพัลลภ, วลัยภรณ นาคพันธุ, ดวงรัตน อาบใจ C1_2 หนา 141 14.10-14.30 น. การพัฒนารูปแบบการสอนเอ็มเลิรนนิงโดยใชกลยุทธการจัดการความรู Development of m-Learning Instruction Model by Using Knowledge Management Strategies เพ็ญศรี ศรีสวัสดิ์ C1_3 หนา 148 14.30-14.50 น. การเรียนรูแบบตนไมตัดสินใจดวยโทรศัพทอัจฉริยะสําหรับการวินิจฉัย โรคเบื้องตน A Mobile Learning by Decision Tree for Provisional Diagnosis on Smartphone รักษวริน วรรณศิลป, กฤตชัย บุญศิวนนท C1_4 หนา 158 14.50-15.10 น. ความตองการบริการสารสนเทศผานอุปกรณเคลื่อนที่ของผูใชบริการ ศูนยบรรณสารและสื่อการศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี Mobile Information Services: User Needs of the Center for Library Resources and Educational Media, Suranaree University of Technology อินทิรา นนทชัย, กันยารัตน เควียเซน C1_5 หนา 165 15.10-15.30 น. การเพิ่มประสิทธิภาพการสอนดวยอุปกรณคอมพิวเตอรแบบพกพา Strengthening Instruction through Portable Device พูลศรี เวศยอุฬาร C1_6 หนา 173 15.30-15.50 น. พักรับประทานอาหารวาง 12
  • 9. 15.50-16.10 น. การพัฒนาแอพลิเคชั่นระบบนําชมพิพิธภัณฑเครือขาย ผานสมารทโฟน เพื่อนําเสนอการปรับปรุงแอพลิเคชั่น สําหรับเพิ่มประสิทธิภาพการนําชม A smart phone application development of network museum guide to improve the visit efficiency. สดใส วิเศษสุด, ทวีศักดิ์ สรรเพชุดา, กฤษฎา จินดา, ธิติพงษ วงสาโท, อนุวัฒน ไชยวงคเย็น, ละออ โควาวิสารัช C1_7 หนา 179 16.10-16.30 น. การสงเสริมทักษะการคิดดวยโมบายแอพลิเคชัน: แนวทางและการนําไปใช Enhancing Thinking Skills with Mobile Applications: Guideline and Implementation ธัญญาพร เจียศิริพันธ, ณัฐริกา กอนเงิน, สิรภัทร ชลศรานนท, ณัชชา ปกิจเฟองฟู C1_8 หนา 185 16.30-16.50 น. การปรึกษาทางไกลระหวางประเทศผานเครือขายสังคมและโมบาย แอพพิเคชันเพื่อเสริมศักยภาพการวิจัยสําหรับนักศึกษาบัณฑิตศึกษา The international Tele-Mentoring through social networking and mobile applications to empower research for graduate students ปณิตา วรรณพิรุณ, ปรัชญนันท นิลสุข C1_9 หนา 193 16.50-17.10 น. การใชงาน Google Apps for Education ในวิชาธรรมาธิปไตย ของมหาวิทยาลัยรังสิต The Use of Google Apps for Education in Dhammacracy class at Rangsit University วลัยภรณ นาคพันธุ, โสราวดี วิเศษสินธพ C1_10 หนา 201 17.10-17.30 น. การพัฒนาเว็บฝกอบรมเรื่อง การใชงานระบบงานทะเบียนประมวลผล และหลักสูตรสําหรับบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ ของสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน Developmentof Web-Based Trainingon Using RegistrationProcessing and Curriculum System for Academic SupportStaff of Pathumwan Institute of Technology. สุทธวรรณ บุญราศรี, พัลลภ พิริยะสุรวงศ C1_11 หนา 206 13
  • 10. Session D1: Paper Presentation Venue: Sapphire Room 111 Chairperson: ดร.น้ํามนต เรืองฤทธิ์ 13.30-13.50 น. การพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรูผานเครือขายสังคม และคลาวดเลิรนนิงเพื่อสงเสริมสมรรถนะการวิจัยและทักษะ การใชสารสนเทศอยางมีวิจารณญาณ Development of Group Collaboration System via Social Networks and Cloud Learning to Enhance Research Competence and Critical Thinking Skills in ICT ปณิตา วรรณพิรุณ, ณพงศ วรรณพิรุณ D1_1 หนา 213 13.50-14.10 น. รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใชโซเชียลบุคมารกและวิธีการ ทางประวัติศาสตรเพื่อสงเสริมการรูสารสนเทศของนักเรียนมัธยมศึกษา ตอนปลาย Blended Learning Model Using Social Bookmarking with The Historical Method to Enhance the Information Literacy of Upper Secondary School Students รัตตมา รัตนวงศา, กุลชัย กุลตวนิช D1_2 หนา 221 14.10-14.30 น. การเรียนการสอนผาน Facebook รวมกับการใชปญหาเปนฐาน วิชาการออกแบบและพัฒนาซอฟตแวร Teaching and Learning Through Facebook with Problem-based Learning in Software Design and Development Subject ศราวุธ มากชิต D1_3 หนา 228 14.30-14.50 น. ผลของการจัดการเรียนแบบผสมผสานผานเครือขายสังคมออนไลน โดยใชกรณีศึกษาดวยวีดีโอแชรริงเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ Effectof Blended Learning via SocialNetworkbyUsingCase-based LearningonVideo Sharing for Developing CriticalThinkingSkills กุลธวัชสมารักษ,ปณิตาวรรณพิรุณ,พัลลภพิริยะสุรวงศ D1_4 หนา 236 14.50-15.10 น. ผลการใชการเรียนรูแบบรวมมืออีเลิรนนิ่งที่มีตอความสามารถดานการพูด ภาษาอังกฤษของนักศึกษาในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจโรงแรม The Effects of e-Cooperative Learning on Students’ English Speaking Ability of the English Hotel Business Course พูลสุข กรรณาริก D1_5 หนา 245 14
  • 11. 15.10-15.30 น. Importance of English in eLearning Programs in Context of ASEAN Economic Community (AEC) Kuldeep Nagi D1_6 หนา 254 15.30-15.50 น. พักรับประทานอาหารวาง 15.50-16.10 น. กรอบแนวคิดรูปแบบการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานโดยจัดกลุมผูเรียน ตามการเรียนรูรูปแบบวีเออารเคในสภาพแวดลอมการเรียนรูแบบทุกหน ทุกแหงและประเมินผลแบบรูบริค A conceptual framework of Project-based Learning Model using VARK Learning Style Groupings on Ubiquitous Learning Environment and using Rubric for Evaluation ธนาวุฒิ นิลมณี, มนตชัย เทียนทอง D1_7 หนา 261 16.10-16.30 น. การศึกษาสมรรถนะดานการใชและพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษาของครู A Study of Teacher Competence on Using and Developing Innovation and Information Technology in Education สุวรรณ โชติการ, เพ็ญนภา ชูหมวกโชติ D1_8 หนา 268 16.30-16.50 น. MOOCs PEDAGOGY: จาก OCW, OER สู MOOCs เครื่องมือเพื่อการเรียนรูสําหรับผูเรียนยุคดิจิทัล MOOCs PEDAGOGY: From OCW, OER, to MOOCs as Learning Tools for Digital Learners จินตวีร คลายสังข D1_9 หนา 276 16.50-17.10 น. Thai-MOOC: Towards the New Era of e-Learning วรสรวง ดวงจินดา D1_10 หนา 286 15
  • 12. การเพิ่มประสิทธิภาพการสอนด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพา Strengthening Instruction through Portable Device ดร. พูลศรี เวศย์อุฬาร บัณฑิตวิทยาลัยการศึกษาทางอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (poonsri.vate@gmail.com) ABSTRACT “One tablet per child” (OTPC) is a policy of the Thai Government which will have significant influence on educational technology applications at the national level. The purpose of this academic article is to present significant aspects that need to be considered prior to the adoption of portable devices for instruction to ensure more effective implementation of this policy. First of all, this study identifies five different types of learning approaches in a diagram format. The second section specifies a definition of instruction through portable devices. The third part details numerous cases that influence instruction through portable devices. The fourth aspect, covered in this study, reports on the implementation of portable devices based upon the “five moments of learning needs” – a concept that will be defined. And the last section focuses on concluding remarks related to strengthening instruction through portable devices. This paper aims to stimulate an enhanced understanding for educators in terms of sustainable implementing this essential policy. Keywords: educational technology, e-Learning, Instruction, m-Learning, mobile learning, One Tablet Per Child, Portable Device บทคัดย่อ โครงการ Tablet PC เพื่อการศึกษาไทยหรือ One Tablet Per Child (OTPC) เป็นนโยบายของรัฐบาลไทยที่มี อิทธิพลสําคัญต่อการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการศึกษาใน ระดับประเทศ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนําเสนอ สาระสําคัญที่ควรจะพิจารณาก่อนการใช้อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์แบบพกพาเพื่อการสอนทั้งนี้เพื่อเป็นการ รับรองว่านโยบายดังกล่าวจะปฏิบัติได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น ประเด็นแรกในบทความนี้เป็นการ ให้รายละเอียดของกระบวนการเรียนที่แตกต่างกัน 5 แบบด้วยแผนภาพ ในตอนที่ 2 เป็นการให้นิยามการสอน ด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพา ส่วนในตอนที่ 3 เป็น รายงานผลการศึกษาวิจัยต่างๆ ของการสอนบนอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์แบบพกพา ในส่วนที่ 4 คือ การใช้อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์แบบพกพาตามอุปสงค์การเรียนรู้ 5 ขั้นซึ่งจะ อธิบายต่อไป และในส่วนสุดท้ายเป็นการสรุปรวบยอด ข้อคิดเห็นในตอนท้ายเกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพการสอน บนเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา บทความนี้ต้องการที่จะ ส่งเสริมความเข้าใจของนักการศึกษาเพื่อที่จะนํานโยบายที่ สําคัญนี้ไปสู่การปฏิบัติอย่างยั่งยืน คําสําคัญ: เทคโนโลยีการศึกษา, อี-เลิร์นนิง, การสอน, เอ็ม- เลิร์นนิง, โมบายเลิร์นนิง, โครงการ Tablet PC เพื่อการศึกษา ไทย, อุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพา บทนํา ไม่ใช่เพียงแค่แนะนําเทคโนโลยีใหม่สําหรับการเรียนรู้ เป็นการแนะนําการคิดใหม่เกี่ยวกับการเรียนรู้ “We’re not just introducing new technology for learning – we are introducing a new way to think about learning.” Marc Rosenberg (2012), p.5 คํากล่าวของ มาร์ค โรเซนเบิร์ก (Marc Rosenberg) ข้างต้น เป็นส่วนหนึ่งของบทความชื่อ How to build a mobile learning strategy หรือ การสร้างกลยุทธ์สําหรับโมบายเลิร์น- นิง ซึ่งปัจจุบันมักเรียกว่า เอ็มเลิร์นนิง (Mobile Learning or mLearning) น่าจะเป็นการจุดประกายความคิดของนัก- การศึกษาไทยที่กําลังสนใจ การเพิ่มประสิทธิภาพการสอน ด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพา โครงการ Tablet PC เพื่อการศึกษาไทยหรือ One Tablet Per Child (OTPC) ของรัฐบาลไทย นับเป็นก้าวสําคัญของ 173
  • 13. การศึกษาไทยที่กระจายการใช้เทคโนโลยีสื่อสาร การศึกษาอย่างทั่วถึง และเป็นรูปธรรมในประเทศไทย ด้วยโครงการดังกล่าวทําให้เกิดความจําเป็นที่จะต้องมี การปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงการศึกษาของไทยอย่าง มาก ซึ่งนําไปสู่ความต้องการต่างๆ เช่น ด้านบุคลากรทาง การศึกษาเช่น ครูที่มีความสามารถในการใช้ Tablet เพิ่มขึ้น สื่อการเรียนบน Tablet ที่มีประสิทธิภาพ ความสามารถในการบริหารจัดการด้านเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ของครู เป็นต้น ด้วยเหตุผลดังกล่าวบทความ นี้จึงขอนําเสนอสาระความรู้ และข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้อง กับการจัดการเรียนการสอนด้วย Tablet PC หรือที่ ภาษาไทยเรียกว่าอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพา โดยจะ นําเสนอสาระความรู้ที่สําคัญของการสอนด้วยอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์แบบพกพาจากวิสัยทัศน์แบบสากล ควบคู่ กับบริบทที่เป็นอยู่ของประเทศไทย 1) การเรียนกับอุปกรณ์และเทคโนโลยี ในยุคที่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตมี อิทธิพลต่อการสื่อสารเป็นอย่างมากนั้น ส่งผลให้มีการจัด วิธีการเรียนรู้ตามลักษณะการใช้อุปกรณ์และเทคโนโลยี ซึ่งสามารถแสดงเป็นภาพดังรูป และจะขออธิบาย โดยสังเขปต่อไป รูปที่ 1 การเรียนกับอุปกรณ์และเทคโนโลยี 1.1) การเรียนแบบเผชิญหน้า (Face-to-face) การเรียนแบบเผชิญหน้า (Face-to-face) หมายถึงการ เรียนในห้องเรียนที่ผู้สอนและผู้เรียนได้พบปะหน้ากัน ไม่จํากัดเฉพาะในห้องเรียนเท่านั้น นับเป็นฐานของการ เรียนรู้ที่ใหญ่ที่สุด ซึ่งแสดงให้เห็นด้วยรูปวงกลมขนาดใหญ่ กว่ารูปอื่น โดยปกติในปัจจุบันมีการใช้อุปกรณ์ต่างๆ เป็น ส่วนหนึ่งของการสอน เช่น เครื่องฉาย Projector โทรทัศน์ เครื่อง Visualizer เป็นต้น 1.2) การเรียนแบบอีเลิร์นนิง (e-Learning) การเรียนแบบอีเลิร์นนิง (e-Learning) หมายถึงการเรียนที่ใช้ คอมพิวเตอร์เป็นฐาน ซึ่งรวมถึงการเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ทาง อินเทอร์เน็ต หรือไม่ใช้อินเทอร์เน็ตก็ตาม ผู้เรียนเข้าถึง เนื้อหาผ่านคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ Laptop Notebook หรือ Desktop เป็นต้น 1.3) การเรียนแบบเอ็มเลิร์นนิง (m-Learning) การเรียนแบบเอ็มเลิร์นนิง (m-Learning) หมายถึงการเรียน ด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพา เช่น เครื่องประเภท Smart Phone, Tablet, Net book, Slate PC, Portable Device Assistant (PDA) เป็นต้น 1.4) การเรียนแบบผสมผสาน (Blended Learning) การเรียนแบบผสมผสาน (Blended Learning) หมายถึงการ เรียนที่เกิดขึ้นเมื่อผสมผสานรูปแบบการเรียนต่างๆ เข้า ด้วยกัน เช่น การนําอีเลิร์นนิง หรือเอ็มเลิร์นนิงมาใช้ใน ห้องเรียนที่ดําเนินการเรียนแบบเผชิญหน้า เป็นต้น ดังนั้นจึง แสดงให้เห็นด้วยพื้นที่ซึ่งซ้อนทับกันในภาพ นับเป็นรูปแบบ การเรียนที่แพร่หลายอย่างมากในปัจจุบัน 1.5) การเรียนแบบทั่วทุกหนทุกแห่งหรือยูเลิร์นนิง (Ubiquitous Learning or u-Learning) การเรียนแบบทั่วทุกหนทุกแห่งหรือยูเลิร์นนิง (Ubiquitous Learning or u-Learning) หมายถึงการเรียนที่เกิดขึ้นทุกหน ทุกแห่งโดยมีการใช้คอมพิวเตอร์ แนวคิดนี้ต่อยอดมาจาก Ubiquitous Computing ซึ่งหมายถึงการนําเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เข้าเป็นส่วนหนึ่งของอุปกรณ์ใดใดที่มีอยู่ทุกหน ทุกแห่งในชีวิตประจําวัน เช่น โทรศัพท์มือถือ Smart TV รถยนต์ เป็นต้น รูปดังกล่าวข้างต้นต้องการอธิบายความสัมพันธ์ของวิธีการ เรียนรู้ 5 รูปแบบกับอุปกรณ์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ชนิดต่างๆ ที่ใช้ประกอบในการเรียนการสอนเท่านั้น สิ่งที่ สําคัญยิ่งไปกว่าอุปกรณ์ต่างๆ นั้นคือ วิธีการสอนตามทฤษฎี 174
  • 14. ทางการศึกษาที่จะทําให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์การ เรียนรู้ที่แท้จริง การออกแบบเนื้อหาสาระที่เหมาะสมกับ ผู้เรียน ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิดของคุณครูผู้สอน 2) นิยามการสอนด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบ พกพา การสอนด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพาที่สมบูรณ์ จําเป็นจะต้องคํานึงถึงจุดเด่นและศักยภาพของอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์แบบพกพาที่แท้จริง ที่สําคัญคือความเข้าใจ ที่ถูกต้องว่าการกระบวนเรียนรู้ด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ แบบพกพาไม่ใช่การใช้อีเลิร์นนิงผ่านคอมพิวเตอร์แบบ พกพาเท่านั้น ด้วยเหตุผลสําคัญที่ว่าลักษณะของอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์แบบพกพาได้ถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนอง การใช้งานตามวัตถุประสงค์ที่ต่างจากคอมพิวเตอร์ทั่วไป โดยที่อุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพานั้นมักจะเป็น เครื่องที่มีหน้าจอขนาดเล็กกว่า มีการใช้งานหน้าจอ ระบบสัมผัส (Touch Screen) มีกล้องถ่ายรูป สามารถ บันทึก Video และ อัดเสียงได้ มีระบบ Global Positioning System (GPS) ระบบบอกตําแหน่งบน พื้นผิวโลก สามารถ Scan บาร์โค้ด (Barcode), ควิกเรสปอนส์ (Quick Response or QR), อ๊อกเม้นติด รี- อาลีตี้ (Augmented Reality or AR) มีเซ็นเซอร์ตรวจจับ ความเคลื่อนไหว (Motion Sensor) ในทางกลับกัน คอมพิวเตอร์แบบพกพาจะไม่มี Keyboard ขนาดใหญ่ สําหรับป้อนข้อมูล ไม่ใช้Mouse เหมือนกับคอมพิวเตอร์ Notebook, Laptop หรือ Desktop นอกจากนี้คอมพิวเตอร์ แบบพกพาเป็นอุปกรณ์ที่พกติดตัวอยู่เสมอ ซึ่งผู้เรียนจะมี ความรู้สึกเป็นส่วนตัวมากกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาด ตั้งโต๊ะทั่วไป จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องจากแหล่งข้อมูล หลายแห่ง ทําให้สามารถสรุปสาระสําคัญเพื่อเป็นนิยาม ได้ว่า การสอนด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ แบบพกพา หมายถึง กระบวนการที่จัดให้ผู้เรียนเกิดความรู้จากการ สร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับเนื้อหาและผู้สอนด้วย เทคโนโลยีที่มีบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดพกพา เป็น กระบวนการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีอิสรภาพมากขึ้นใน การเลือกรับข้อมูล จากสถานที่ต่างๆ แม้จะเป็นในขณะที่ ผู้เรียนกําลังเดินทาง ไม่จําเป็นที่จะต้องอยู่ในห้องเรียนเท่านั้น ซึ่งผู้เรี ยนสามารถเข้าถึงเนื้อหาและข้อมูลที่มีอยู่บน อินเทอร์เน็ตด้วยการเชื่อมต่อแบบไร้สาย การสอนด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพา (Portable Devices) เป็นการเรียนรู้ภายใต้สภาพแวดล้อมที่มี อินเทอร์เน็ตแบบ 4A’s กล่าวคือ • at anytime, ณ เวลาใดก็ตาม • from anywhere, ที่ใดก็ตาม • for anyone and สําหรับใครก็ตาม • on any appropriate devices. บนอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมชนิดใดก็ตาม ข้อได้เปรียบที่ทําให้คอมพิวเตอร์แบบพกพาเหมาะที่จะ นํามาใช้ในการเรียนการสอนในอนาคต ไม่เพียงแต่ขนาดของ เครื่องที่ผู้เรียนสามารถพกพาติดตัวไปได้สะดวก นํ้าหนักที่ เบากว่า แบตเตอร์รี่ใช้ได้นานกว่า การมีโอกาสมากกว่าที่จะ ใช้ Application ที่เป็นประโยชน์และส่งเสริมการเรียนรู้ได้ ราคาเครื่องที่ไม่แพงเกินไป แต่ยังรวมไปถึงการได้รับ สนับสนุนจากรัฐบาลให้มีเครื่องใช้อีกด้วย อย่างไรก็ดีสิ่งที่ สําคัญคือ คอมพิวเตอร์แบบพกพานั้นไม่ได้สอน (Portable Devices do not teach) ถึงแม้อุปกรณ์และเทคโนโลยีจะเข้ามา มีบทบาทกับการเรียนการสอนมากขึ้นก็ตาม จากผล การศึกษาเบื้องต้นของหลายสถาบันวิจัยต่างก็พบว่า “ครู” เป็นกลไกสําคัญในห้องเรียน เพราะเป็นผู้ดําเนินการจัดการ เรียนการสอน ควบคุม และส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ขณะที่คอมพิวเตอร์แบบพกพามีบทบาทเป็นเพียงส่วนหนึ่ง ของอุปกรณ์การเรียนเท่านั้น ดังนั้นครูจะต้องมีการ เตรียมพร้อมให้ดี เพื่อให้สามารถบรรลุแผนการสอนที่จะนํา Application มาประยุกต์เป็นส่วนหนึ่งของการสอนได้ เพราะ ความรู้ที่ผู้เรียนจะได้รับในแต่ละรายวิชานั้นยังขึ้นอยู่ที่ เทคนิคการสอน ศักยภาพ และประสบการณ์ของผู้สอนเป็น สําคัญ ยกตัวอย่างเช่น การกําหนดให้เรียนด้วยคอมพิวเตอร์ แบบพกพานั้นอาจจะช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกฟังและออกเสียงทั้ง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษจากเจ้าของสําเนียงได้ชัดเจนขึ้น แต่ข้อด้อยคือ Application ไม่สามารถอบรมสั่งสอน แสดง ความเห็นอกเห็นใจ สังเกตอารมณ์ของผู้เรียน วิเคราะห์ความ ต้องการของผู้เรียน เข้าใจนิสัยใจคอของผู้เรียน ให้กําลังใจ 175
  • 15. ผู้เรียน หรือเป็นขวัญและกําลังได้ ดังนั้น การประยุกต์ และปรับกระบวนการเรียนการสอนควบคู่กับการใช้ เทคโนโลยีอย่างลงตัวจึงเป็นสิ่งที่จําเป็นที่สุด 3) อิทธิพลของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพา กับการเรียนรู้ จากผลการศึกษาโดยบริษัท Ericsson คาดว่า ในปี พ.ศ. 2558 ร้อยละ 80 ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลกจะเข้าใช้ ผ่านทางอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพา (the New Media Consortium & the EDUCAUSE Learning Initiative an EDUCAUSE Program, 2011) นอกจากนี้ จากการรวบรวมผลงานวิจัยต่างๆ พบว่าการมี คอมพิวเตอร์แบบพกพาทําให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ (Onlinecolleges, 2012) เพราะ • ผู้เรียนใช้เวลากับกิจกรรมการเรียนเพิ่มขึ้นถึง 10 เท่า (เปรียบเทียบเฉพาะในช่วงปี ค.ศ. 2011- 2012) • ผู้เรียนจะสนใจความก้าวหน้าในการเรียนของ ตนเองมากขึ้นกว่า 3 เท่า • ประมาณร้อยละ 70 ของผู้เรียนติดตั้งโปรแกรม เพื่อการศึกษาในเครื่องด้วยตนเอง • กว่าร้อยละ 60 ยินดีจ่ายเงินเพื่อซื้อโปรแกรม เพื่อการศึกษา • ผู้เรียนที่มีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพาจะใช้ เครื่องเพื่อการศึกษาเฉลี่ยมากกว่าผู้ที่ไม่มี อุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพาเฉลี่ยประมาณ 40 นาทีต่อสัปดาห์ รูปที่ 2 ผลการศึกษาการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบ พกพาเพื่อการศึกษา ที่มา (Onlinecolleges, 2012) นอกจากนี้จากการวิจัยเปรียบเทียบพฤติกรรมการเลือกใช้ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพาแบบต่างๆ เช่น Smart Phone, Laptop, Tablet/Slate , Mini Netbook พบว่าผู้ใช้ส่วน ใหญ่เลือก และชอบที่จะใช้ Tablet หรือ Slate PC ในการ ประกอบกิจกรรมต่างๆ สูงที่สุด (Evans, 2011) ซึ่งผลการวิจัย ดังกล่าวสนับสนุนการตัดสินใจการดําเนินการโครงการ OTPC ของรัฐบาลไทยเช่นกัน นอกจากนี้ จากรายงานของ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เรื่องการติดตาม ผลการใช้งานแท็บเล็ตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทั่ว ประเทศ ตามโครงการ OTPC โดยทําการสํารวจโรงเรียน จํานวน 20,700 โรง พบว่า ครูมีการให้เด็กใช้งานแท็บเล็ตเพื่อ การเรียนการสอนเฉลี่ยสัปดาห์ละ 4 วัน วันละ 55 นาที โดย ใช้แท็บเล็ตในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาหลักมากที่สุด คือ วิชา ภาษาไทย ร้อยละ 56.05 สังคมศึกษา ร้อยละ 44.5 คณิตศาสตร์ ร้อยละ 42.7 วิทยาศาสตร์ ร้อยละ 38.1 และ ภาษาอังกฤษ ร้อยละ 35.5 ในการสํารวจเดียวกันนี้ได้มีการ สอบถามความคิดเห็นของผู้ปกครองเกี่ยวกับเรื่องนี้ด้วยซึ่ง พบภาพรวมที่น่าพอใจคือ ผู้ปกครอง ร้อยละ 86.1 เชื่อว่าการ ใช้แท็บเล็ตจะส่งผลดีต่อการศึกษาของเด็ก ขณะเดียวกัน ผู้ปกครองเกือบทั้งหมดหรือร้อยละ 93.9 ยังเชื่อว่าแท็บเล็ต ช่วยให้เด็กไทยก้าวทันเทคโนโลยี อีกทั้งผู้ปกครอง ร้อยละ 82 เชื่อว่าแท็บเล็ตจะช่วยให้เด็กไทยรู้จักค้นคว้าหาความรู้ อย่างไรก็ตามยังพบว่าสิ่งที่จําเป็นที่ต้องเร่งจัดหาในด้าน กายภาพคือ ตู้จัดเก็บเครื่องและอุปกรณ์ชาร์จไฟ (เดลินิวส์, 2556) อย่างไรก็ดีผลการวิจัยของโครงการวิจัยยุทธศาสตร์การ ปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อสร้างความรับผิดชอบ โดย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) พบว่าสิ่ง ที่ต้องเร่งพัฒนาคือ การสร้าง Courseware, Software รวมไป ถึง Application สําหรับแท็บเล็ตที่ใช้ศักยภาพเทคโนโลยีของ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพาที่เหมาะสม การเปลี่ยนจาก เล่มตําราหนังสือที่พิมพ์บนกระดาษเป็นไฟล์ให้อ่านบน เครื่องแบบ Portable Documents File (PDF) นั้นยังไม่ น่าสนใจพอ จึงมีข้อเสนอแนะให้กระทรวงศึกษาธิการ พิจารณาการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและศักยภาพของ เครื่องฯ ให้มากกว่าที่เป็นอยู่ ยกตัวอย่างเช่น การเรียนรู้เรื่อง แผ่นดินไหว ควรใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์แบบความจริง 176
  • 16. เสมือน ซึ่งเด็กจะเห็นภาพ 3 มิติ หรือภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น (ทีมข่าวการศึกษา, 2556) 4) อุปสงค์การเรียนรู้ด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ แบบพกพา นับเป็นสิ่งที่น่าเป็นห่วงหากเกิดความเข้าใจผิดว่าอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์แบบพกพาจะสามารถทดแทนผู้สอน หรือ ห้องเรียนได้อย่างสมบูรณ์ ดังนั้นจึงควรมีความเข้าใจ เกี่ยวกับอุปสงค์การเรียนรู้ตามที่ คอนราด ก๊อตต์เฟรดสัน (Conrad Gottfredson, 2013) ได้อธิบายไว้ว่าความรู้จะ เกิดขึ้นเมื่อ 1. การเรียนรู้ครั้งแรก (Learning for the First Time) 2. การเรียนเพิ่ม (Wanting to Learn More) 3. การพยายามจดจํา (Trying to Remember) 4. การเปลี่ยนแปลง (Things Change) 5. การมีบางสิ่งผิดปกติ (Something Goes Wrong) จากอุปสงค์การเรียนรู้ 5 ข้อข้างต้นนั้น ก๊อตต์เฟรดสัน (2013) แนะนําว่าการสอนด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบ พกพานั้นเหมาะสําหรับลักษณะในข้อที่ 3-5 เท่านั้น แม้ ในทางทฤษฏีจะสามารถเรียนได้ทุกขั้นก็ตาม อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์แบบพกพาเป็นเพียงอุปกรณ์ส่งเสริมการ เรียนรู้ ไม่ใช่อุปกรณ์หลักในห้องเรียน ซึ่งแนะนําให้ใช้ เพื่อทบทวนความรู้ก่อนเรียน (Activating knowledge before a classroom) สรุป (Summarizing) ทบทวนความรู้ ซํ้าเพื่อช่วยให้จดจําได้นาน (Reactivating knowledge) ฝึก ประยุกต์ความรู้ด้วยการทําแบบฝึ กหัดหรือเล่นเกม (Providing application opportunities through pop quizzes or learning games on mobile) เพื่อการสืบค้น ข้อมูลอย่างทันท่วงที (Just-in-time search support) (Gottfredson, 2013) เป็นต้น 5) ข้อสังเกตเพื่อพิจารณา แม้การสอนด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพาจะเป็น ประโยชน์อย่างมากต่อการศึกษา แต่การนําอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ร่วมไปถึงข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตมาใช้ใน ระหว่างดําเนินการเรียนการสอนคงจะไม่ใช่คําตอบที่ถูกต้อง เพียงข้อเดียวของการศึกษา ดังเช่น ผลการวิจัยของ Pew Internet Project (2012) ในประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็น ประเทศที่มีการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและคอมพิวเตอร์ เพื่อการศึกษาอย่างแพร่หลายแต่กลับสะท้อนข้อเท็จจริงอีก มุมหนึ่ง นั่นคือ • ร้อยละ 87 ของผู้สอนจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นคุณครู กว่า 2,000 คน ระบุว่า การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อ สืบค้นระหว่างเรียนเป็นการรบกวนสมาธิผู้เรียน ทําให้มีความสนใจในบทเรียนเพียงช่วงเวลาสั้นๆ • ร้อยละ 64 ของกลุ่มตัวอย่าง กล่าวว่าเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์รบกวนผู้เรียนมากกว่าส่งเสริมการ เรียนรู้เสียอีก จากผลดังกล่าวครูผู้สอนจึงควรจะต้องเอาใจใส่ รู้จักวางแผน การสอนให้แยบยลเพื่อป้ องกันปัญหาที่เกิดขึ้นจากความลํ้า สมัยของเทคโนโลยีและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เหล่านี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องเน้นเรื่องคุณธรรม จริยธรรม มารยาท ในห้องเรียน มารยาทในการสื่อสาร การเลือกรับข้อมูลจาก แหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือและเป็นประโยชน์ การทํา อ้างอิง และการเคารพลิขสิทธิ์ทางปัญญาของเจ้าของผลงานที่ เผยแพร่อยู่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (อธิปัตย์ คลี่สุนทร, 2555) การใช้ข้อความที่สุภาพ ถูกต้องตามหลักภาษา การ หลีกเลี่ยงที่จะสื่อสารกับคนแปลกหน้าผ่านอินเทอร์เน็ต ฯลฯ ครูและผู้ปกครองจะต้องสังเกตพฤติกรรมว่าผู้เรียนจะติด อินเทอร์เน็ตหรือเกมคอมพิวเตอร์ที่ไร้สาระหรือไม่ เนื่องจาก จะส่งผลเสียต่อสุขภาพ บุคลิกภาพและอนาคต เพราะมักจะ ทําให้เป็นผู้ที่ชอบเก็บตัวอยู่คนเดียว มีความอดทนในการรอ คอยอย่างจํากัด สมาธิสั้น และมักจะมีความกังวลที่จะต้องเข้า ตรวจสอบข้อมูลใหม่ๆ ตลอดเวลา เป็นต้น สรุป ด้วยความจริงที่ว่าสิ่งต่างๆ ย่อมมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การนําอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพามาใช้ในการศึกษา ย่อมจะนําการเปลี่ยนแปลงมาสู่สังคม ทั้งนี้ผู้ที่เกี่ยวข้องทุก ฝ่ายจะต้องร่วมแรงร่วมใจ สร้างแนวทางที่ชัดเจนในการ พัฒนา ควรจะยึดมั่นในแก่นแท้ของการศึกษาที่มีเนื้อหาสาระ เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต ความคิดและสร้างสมดุลทาง 177
  • 17. ปัญญา เพื่อคงไว้ซึ่งความเจริญของอดีตปัจจุบันและ อนาคต รวมทั้งมีการเตรียมครูเป็นอย่างดี ด้วยการเตรียม ความพร้อมของผู้เรียนให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลง ของยุคสมัยและเทคโนโลยีได้ต่อไป เอกสารอ้างอิง เดลินิวส์ (2556, 27 มี.ค.). การศึกษาไทย ยังใช้ประโยชน์ จากแท็บเล็ตไม่เต็มที่!! เดลินิวส์, from http://www.dailynews.co.th/article/440/193330 ทีมข่าวการศึกษา (2556, 27 มี.ค.). วิจัยพบเนื้อหาแท็บ เล็ตไม่หนุนการสอน. ไทยรัฐ, from http://www.thairath.co.th/content/edu/335054 อธิปัตย์คลี่สุนทร. (2555) ระบบสารสนเทศเพื่อการ บริหารการศึกษา. สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา , สารานุกรมวิชาชีพครู เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องจากใน โอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระ ชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2555. (pp. 379-386) กรุงเทพฯ. Evans, S. (2011, May). Portable Devices Research Report Retrieved 2nd April, 2013, from http://www.harrisinteractive.com/vault/HI _UK_Corp_News-Portable-Devices- Report-Infographic.pdf Gottfredson, C. (2013). Benefits & Applications of Mobile Learning Retrieved 2nd April, 2013, from http://www.upsidelearning.com/benefits- applications-mobile-learning.asp Onlinecolleges (2012, 7th August). CONNECTING APPS & EDUCATION Retrieved 2nd April, 2013, from http://www.onlinecolleges.net/2012/08/07/con necting-apps-education/ Pew Internet Project. (2012, 1st November). How Teens Do Research in the Digital World. Retrieved 2nd April, 2013, from http://www.pewinternet.org/~/media/Files/ Reports/2012/PIP_TeacherSurveyReport WithMethodology110112.pdf Rosenberg, M. (2012). 2 How to build a mobile learning strategy. In N. Norman (Ed.), 7 things everyone should know about mobile learning (Vol. 2013): Epic Whitepaper the New Media Consortium, & the EDUCAUSE Learning Initiative an EDUCAUSE Program (2011, Dec 3). The 2011 Horizon Report, from http://net.educause.edu/ir/library/pdf/HR2011.p df 178
  • 18. 544
  • 19. 545