SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
.Mean S FX & Rates Strategies
 KBank                                                                                                      Economics /
                                                                                                            Strategy
    วิกฤตนิวเคลียรญ่ปุน... เพิ่มความเสียงในการฟนตัวของเศรษฐกิจโลก
                     ี                   ่                                                                  FX / Rates
                                                                                                            21 March 2011



       เศรษฐกิจโลกเผชิญบททดสอบครั้งสําคัญจากเหตุการณแผนดินไหวครั้งรุนแรง                                    Warunee Sithithaworn
       ในรอบกวา 140 ป...ตามดวยวิกฤตนิวเคลียรครั้งรุนแรงในญี่ปุน                                         warunee.si @kasikornbank.com

       วิกฤตการณที่เกิดขึ้นสรางความปนปวนตอตลาดการเงินโลก ซ้ําเติมเหตุวุนวาย
       ในตะวันออกกลางและวิกฤตหนี้ในยุโรปที่ยังไมสามารถหาทางออก
       ทางการญี่ ปุ น อั ด ฉี ด เม็ ด เงิ น จํ า นวนมาเพื่ อ เสริ ม สภาพคล อ งและรั ก ษา
       เสถียรภาพตลาดการเงินของประเทศในระยะสั้น ขณะที่กลุมประเทศ G7
       หั น มาร ว มมื อ กั น สกั ด เงิ น เยนแข็ ง ค า ซึ่ ง เป น การดํ า เนิ น การครั้ ง แรกในรอบ
       กวา 10 ป
       นอกจากความเสียหายที่เกิดขึ้นกับตลาดการเงินของประเทศแลว ในระยะยาว
       การเร ง ฟ น ฟู ป ระเทศยั ง ทํ า ให ฐ านะการคลั ง ของญี่ ปุ น มี แ นวโน ม อ อ นแอลง
       และอาจสงผลกระทบตอความนาเชื่อถือของประเทศในอนาคต
       ในสวนของประเทศไทย สิ่งที่เกิดขึ้นยอมสงผลกระทบตอเศรษฐกิจไทยในฐานะ
       ที่ ญี่ ปุ น เป น ประเทศคู ค า หลั ก และมี บ ทบาทสํ า คั ญ ในห ว งโซ อุ ป ทานของ
       อุตสาหกรรมในประเทศ ขณะที่ในระยะยาวการเรงฟน ฟูบูรณะประเทศอาจ
       สงผลกระทบในแงเม็ดเงินลงทุนโดยตรงจากญี่ปุนที่ลดระดับลง

วิกฤตนิวเคลียรในญี่ปุน ....สั่นคลอนเศรษฐกิจญี่ปุน

              ภาพขาวที่ปรากฎตามสื่อตางๆ ทั้งรายงานทางโทรทัศนและสื่อสิ่งพิมพในชวงกวา 1 สัปดาห
ที่ผานมาคงไมมีประเด็นขาวใดรอนแรงไปกวาเหตุการณแผนดินไหวในญี่ปุน ตอเนื่องไปถึงความเสียหาย
ที่เกิดจากคลื่นยักษสูงระดับ 10 เมตรซึ่งพัดเขาถลมชายฝงทางดานตะวันออกของญี่ปุน แตสถานการณ
มีความรุนแรงมากขึ้นเมื่อภัยพิบัติดังกลาวไดสงใหโรงงานนิวเคลียรที่เมืองฟูกุชิมาเกิดการระเบิด ตามมา
ดวยการรั่วไหลของสารกัมมันตรังสีในบริเวณโดยรอบจนถึงขั้นที่ทางการญี่ปุนตองสั่งอพยพประชาชน
ออกจากพื้น ที่ เพื่อ ปอ งกันไมใ หป ระชาชนไดรับ อันตรายจากการรั่ วไหลของสารพิ ษ ตอ ไปนี้เปน ลํ า ดับ
เหตุการณที่เกิดขึ้นในญี่ปุน ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความรุนแรงของปญหาและความพยามยามของทางการ
ญี่ปุน รวมทั้งผูที่เกี่ยวของในการรับมือกับวิกฤตการณรายแรงในครั้งนี้




11

1
ตารางที่ 1 : ลําดับเหตุการณแผนดินไหวและวิกฤตการณนิวเคลียรในญี่ปุน

       วันที่                                                    สถานการณ
11 มีนาคม          เกิดเหตุแผนดินไหวขนาด 9 ริกเตอรและคลื่นยักษสินามิพัดเขาทางชายฝงตะวันออกของ
                   ญี่ปุน สงผลใหสนามบินเซนไดตองปดการใหบริการและเกิดเหตุเพลิงไหมที่โรงกลั่นน้ามัน
                                                                                                      ํ
                   ในเมืองจิบะ
12 มีนาคม          อาคารเตาที่ 1 โรงปฎิกรณที่ฟูกุชิมาระเบิด บริษทการไฟฟาญี่ปุน (เทปโค) เริ่มสูบน้ําทะเล
                                                                      ั
                   เขาไปในเตาที่ 1 และ 3 เพื่อลดความรอนในเตาปฎิกรณ รัฐบาลสั่งอพยพคนออกนอกพื้นที่
                   พรอมสงทีมกูภัยลงพื้นที่ ขณะที่มรายงานจํานวนผูเสียชีวิตราว 1,000 คนและกวา 4 ลาน
                                                          ี
                   ครัวเรือนขาดน้ําและไฟฟา
13 มีนาคม          ยอดผูเสียชีวตเพิ่มขึ้นเปน 1,300 คน และมีรายงานการรั่วไหลของสารกํามันตรังสี
                                  ิ
14 มีนาคม          อาคารเตาที่ 3 โรงปฎิกรณที่ฟูกุชิมาระเบิด บริษทการไฟฟาญี่ปุน (เทปโค) ฉีดน้ําทะเลเขาใส
                                                                        ั
                   เพื่อลดอุณหภูมภายในเตาที่ 2 เนืองจากระดับน้ําในเตาลดลงอยางรวดเร็ว
                                      ิ                 ่
15 มีนาคม          อาคารเตาที่ 2 และ 4 โรงปฎิกรณทฟูกุชิมาระเบิด และมีสารกัมมันตรังสีรั่วไหลในระดับสูง
                                                              ่ี
                   บริษัทการไฟฟาญี่ปุน (เทปโค) สังอพยพเจาหนาทีที่ไมเกี่ยวของออกจากพื้นที่ โดยเหลือ
                                                      ่                     ่
                   เจาหนาที่ประจําการเพียง 50 คน
16 มีนาคม          เพลิงไหมอาคารเตาที่ 4 เปนครั้งที่ 2 สํานักงานตํารวจแหงชาติสงรถบรรทุกน้ําเขาไปยังโรง
                   ปฎิกรณเพื่อฉีดน้าเขาใสบอเก็บกักเชื้อเพลิงใชแลวเพื่อลดอุณหภูมภายในเตาลง ขณะที่
                                          ํ                                           ิ
                   บริษัทการไฟฟาญี่ปุน (เทปโค) ใชเฮลิคอปเตอรปลอยน้ําลงมายังบอกักเก็บผานชองเพดาน
                   ที่พังจากเหตุระเบิดของอาคารเตาที่ 4
17 มีนาคม          เจาหนาที่ใชเฮลิคอปเตอรชีนุกฉีดน้ารดอาคารเตาที่ 3 และ 4 และเติมน้ําในบอเก็บแทง
                                                            ํ
                   เชื้อเพลิงใชแลวในเตาที่ 4 แตไมเปนผล ขณะที่สํานักงานพลังงานปรมาณูสากล (ไอเออีเอ)
                   เตือนวาอุณหภูมิในอางเก็บเชือเพลิงเตา 4, 5 และ 6 ยังเพิ่มขึ้นอยางตอเนืองและเกินกวาที่
                                                  ้                                          ่
                   ควรจะเปน
19 มีนาคม          เจาหนาที่ยังคงระดมฉีดน้ําเขาไปในบอเชื้อเพลิงเตาที่ 1-4 อยางตอเนือง และเรงวางสายไฟ
                                                                                         ่
                   เพื่อเชือมตอระบบไฟฟาภายในเตาที่ 1 และ 2 เพือใหระบบหลอเย็นสามารถกลับมาทํางาน
                           ่                                              ่
                   อีกครั้ง ขณะทีสํานักงานความปลอดภัยดานนิวเคลียรญี่ปุนยกระดับอันตรายนิวเคลียรจาก
                                    ่
                   ระดับ 4 เปน 5 ซึงเปนระดับเดียวกับเหตุระเบิดโรงไฟฟาเกาะทรี ไมลของสหรัฐฯ ในป 1979
                                        ่
20 มีนาคม          บริษัทการไฟฟาญี่ปุน (เทปโค) แจงวาสามารถเชื่อมตอระบบไฟฟาอาคารหมายเลข 5 และ 6
                   ซึ่งทําใหระบบหลอเย็นในอาคารกลับมาใชงานไดอีกครั้งและหวังวาจะสามารถเชือมตอระบบ
                                                                                                   ่
                   ไฟฟาในทุกอาคารปฎิกรณนิวเคลียรได




22

2
ประเมินความเสียหายตอเศรษฐกิจญี่ปุน
              สํ า หรั บ ความเสี ย หายและผลกระทบจากเหตุ แ ผ น ดิ น ไหวที่ มี ต อ เศรษฐกิ จ ญี่ ปุ น ครั้ ง นี้
ในเบื้ อ งต น หลายฝ า ยต า งเปรี ย บเที ย บความเสี ย หายจากเหตุ ก ารณ แ ผ น ดิ น ไหวครั้ ง นี้ กั บ การเกิ ด
แผนดินไหวครั้งรุนแรงที่เมืองโกเบในป 2538 ซึ่งในครั้งนั้นผลกระทบที่เกิดขึ้นตอเศรษฐกิจญี่ปุนคอนขาง
รุนแรง เนื่องจากโกเบเปนเมืองศูนยกลางทางเศรษฐกิจและมีความคั่งของกิจกรรมตางๆ ทางเศรษฐกิจ
ขณะที่เหตุการณแผนดินไหวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของญี่ปุนในรอบนี้ ในเบื้องตนมีการประเมินวา
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจะมีระดับต่ํากวา เนื่องจากพื้นที่เกิดเหตุไมไดเปนศูนยกลางเศรษฐกิจของประเทศ
โดยจากการประเมินเบื้องตนมองวาความเสียหายทางเศรษฐกิจจะอยูที่ราว 14-15 ลานลานเยน ซึ่งมูลคา
ความเสียหายต่ํากวาถึง 40% ที่เคยเกิดขึ้นที่โกเบซึ่งสงผลกระทบตอเศรษฐกิจญี่ปุนราว 40 ลานเยน

            อยางไรก็ดีการประเมินผลในขั้นตนดูจะใหภาพความเสียหายที่ต่ําเกินจริงเนื่องจากยังไมไดมี
การรวมปจจัยเสี่ยงจากการระเบิดของโรงงานนิวเคลียรที่มีความรุนแรงมากขึ้น โดยบริษัทการไฟฟาญี่ปุน
(เทปโค) กลาววาระดับของสารกัมมัตรังสีมีความรุนแรง มากขึ้นและเพิ่มขึ้นแตะระดับที่เปนอันตรายตอ
มนุษยที่ 10-200 มิลลิซีเวิรต ซึ่งสูงกวาระดับที่คนรับไดถึง160 เทาตัว ขณะที่ในเบื้องตนทางการญี่ปุนมี
การสั่งอพยพประชาชนรอบโรงงานทันที ขณะที่การแพรกระจายของสารกัมมันตรังสียังเริ่มสงผลกระทบตอ
กิจกรรมทางเศรษฐกิจในวงกวางและอาจกระจายตัวไกลออกไปถึงกรุงโตเกียวซึ่งเปนศูนยกลางเศรษฐกิจ
ของประเทศ ทํ า ให ค วามเสี ย หายต อ เศรษฐกิ จ ของประเทศมี แ นวโน ม บานปลายออกไป ล า สุ ด มี ก าร
ประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้นในครั้งนี้วาอาจทําใหเศรษฐกิจญี่ปุนมีการขยายตัวลดลงราว 0.2% จากเดิมที่
มองว าเศรษฐกิ จ จะขยายตัวไดร าว 1.4% ในปนี้ และผลกระทบจากเศรษฐกิจ อาจเพิ่มสูง ขึ้นหากการ
แข็งคาของเงินเยนสงผลกระทบตอภาคสงออกของประเทศ

             ทั้ง นี้ห ากพิจารณาในแงข องผลกระทบที่เกิดขึ้น กับ ตลาดการเงิน วิกกฤตการณ ในญี่ปุน ใน
ครั้งนี้สงผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตอภาวการณลงทุนในตลาดหุนตลาดหุนญี่ปุน เห็นไดจากดัชนีนิเกอิ
มีการปรับตัวลงนับจากเปดตลาดในวันทําการแรกของสัปดาห (14 มีนาคม) และมีการทรุดตัวลงกวา
14% ในชวงการซื้อขายระหวางวันภายหลังมีรายงานวาเกิดเหตุระเบิดที่โรงงานนิวเคลียรและมีขาวการ
รั่วไหลของสารกัมมันตรังสีซึ่งเปนสัญญาณเตือนวาสถานการณในญี่ปุนมีความรุนแรงมากขึ้นกระตุนให
นักลงทุนมีการเทขายอยางมาก ซึ่งสถานการณดังกลาวยังสงผลกระทบลุกลามไปสูตลาดหุนทั่วโลก ทั้ง
ตลาดหุนสหรัฐฯ ยุโรปและเอเชียที่มีปรับตัวในทิศทางเดียวกัน ซึ่งจากรูปที่ 1 เปนการเคลื่อนไหวของดัชนี
VIX Index ซึ่งเปนเครื่องชี้ความผันผวนในตลาดหุน จะเห็นไดวาดัชนีมีการพุงสูงขึ้นอีกครั้ง สะทอนถึง
ความไมมั่นใจหรือความกลัวของนักลงทุนตอเหตุการณที่เกิดขึ้น




33

3
รูปที่ 1 : ดัชนี VIX Index ปรับตัวสูงขึ้นสะทอนความผันผวนในตลาดหุน                                                    รูปที่ 2 : ดัชนี VIX Index ปรับตัวสูงขึ้นสะทอนความผันผวนในตลาดหุน
                                                      VIX Index                                                                                                  USD/JPY Movement
  80                                                                                                                      160
                                                                                                                                                                                                              USD/JPY
  70                                                                                                                      150                                                                                 MOV AVG 30 D
  60                                                                                                                      140                                                                                 MOV AVG 200 D
                                                                                                                          130
  50
                                                                                                                          120
  40
                                                                                                                          110
  30                                                                                                                      100
  20                                                                                                                       90
  10                                                                                                                       80
     0                                                                                                                     70




                                                                                                                                1991


                                                                                                                                         1993


                                                                                                                                                 1995


                                                                                                                                                          1997


                                                                                                                                                                  1999


                                                                                                                                                                           2001


                                                                                                                                                                                    2003


                                                                                                                                                                                              2005


                                                                                                                                                                                                       2007


                                                                                                                                                                                                                  2009


                                                                                                                                                                                                                         2011
         1991


                  1993


                            1995


                                     1997


                                               1999


                                                          2001


                                                                   2003


                                                                            2005


                                                                                        2007


                                                                                                 2009


                                                                                                                2011
Source: Bloomberg, KBank                                                                                               Source: Bloomberg, Kbank




              นอกจากนี้ สิ่งที่สรางความกังวลอยางมากตอผูกําหนดนโยบาย คือการเคลื่อนไหวของคาเงิน
 เยน โดยในชวงสัปดาหท่ีผานมา คาเงินเยนมีการปรับแข็งคาขึ้นอยางรวดเร็วจากการที่บริษัทประกันและ
 บริษัทญี่ปุนจะมีการเรงสงเงินกลับประเทศเพื่อนําไปฟนฟูกิจการที่ไดรับผลกระทบจากเหตุแผนดินไหว
 รวมทั้งกระแสเงินไหลกลับประเทศจากการที่นักลงทุนญี่ปุนที่เคยนําเงินลงทุนตนทุนดอกเบี้ยต่ําไปลงทุนใน
 สินทรัพยตางประเทศที่ใหผลตอบแทนที่ดีกวา เริ่มถอนเงินลงทุนกลับจากตางประเทศ ซึ่งเปนอีกปจจัยที่
 หนุนใหเงินเยนปรับแข็งคาขึ้น อยางไรก็ดีอีกปจจัยหนึ่งคือการที่นักลงทุนรวมทั้งนักเก็งกําไรตางเขาถือ
 ครองเงินเยนเพิ่มขึ้น จึงเปนอีกปจจัยที่ยิ่งเรงใหเงินเยนปรับแข็งคาขึ้นอยางรวดเร็ว โดยปรับตัวขึ้นทดสอบ
 ระดับ 76.25 ซึ่งเปนสถิติแข็งคาที่สุดและสูงกวาสถิติเดิมที่ 76.75 ที่เคยทําไวในชวงหลังเกิดเหตุการณ
 แผนดินไหวที่โกเบในป 2538

             อยางไรก็ดีในชวงปลายสัปดาห กลุมประเทศอุตสาหกรรมชั้นนํา G7 จะรวมมือกันเขาแทรกแซง
 ตลาดอัตราแลกเปลี่ยนโดยขายเงินเยนและเขาซื้อดอลลารสหรัฐฯ เพื่อสกัดการแข็งคาของเงิน เยนซึ่งเปน
 ความรวมมือกันเปนครั้งแรกในรอบกวา 10 ปหรือนับตั้งแตป 2000 เปนตนมา ซึ่งการดําเนินการดังกลาว
 สงผลใหเงินเยนในชวงเชาวันที่ 18 มีนาคม เริ่มออนคาลงโดยอยูที่ 81.81 ในตลาดเงินเอเชียหรือออนคา
 ลงกวา 3% จากระดับ 79.19 ในชวงกอนหนา
รูปที่ 3 : การเคลื่อนไหวของเงินเยนและสัญญาซื้อขายเงินเยนลวงหนา                                                       รูปที่ 4 : การเคลื่อนไหวของเงินเยนกับสวนตางอัตราดอกเบี้ยสหรัฐฯ-ญี่ปุน
 115                                                                                                      80
                                                                                                                         800                                                                                              140
 110                                                                                                      60
                                                                                                                         700                                                                                              130
 105                                                                                                      40             600                                                                                              120
 100
                                                                                                          20             500
  95                                                                                                                                                                                                                      110
                                                                                                          0              400
  90                                                                                                                                                                                                                      100
                                                                                                          -20            300
  85
                                                                                                          -40            200                                                                                              90
  80
  75                                                                                                      -60            100                                                                                              80

  70                                                                                                 -80                   0                                                            70
   Mar-08            Sep-08        Mar-09         Sep-09          Mar-10           Sep-10       Mar-11                      2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011

           JPY non-commercial net position (right axis : 1,000 contracts)           USD/JPY (left axis)                                2 yr US-Japan swap spread (left axis : bp)          USD/JPY (right axis)

Source: Bloomberg, KBank                                                                                               Source: Bloomberg, Kbank




 44

 4
อยางไรก็ดีสิ่งที่เกิดขึ้นดังกลาวอาจเปนผลกระทบที่เกิดขึ้นในระยะสั้น แตผลกระทบในระยะ
 ยาวที่เศรษฐกิจญี่ปุนตองเผชิญ นั่นคือ ฐานะการคลังที่มีแนวโนมแยลงเนื่องจากการเม็ดเงินจํานวนมากที่
 ทางการจําเปนตองอัดฉีดเขาสูระบบเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลนายนาโอโตะ คังไดประกาศแผนซอมแซมและ
 ฟนฟูบูรณะประเทศวงเงิน 4 ลานลานเยนเพื่อซอมแซมระบบสาธารณูปโภคและการบูรณะฟนฟูประเทศ
 ซึ่งจะยิ่งเปนการซ้ําเติมใหฐานะการคลังของประเทศย่ําแยลง จากปจจุบันที่ตัวเลขการกอหนี้ภาครัฐอยู
 ในระดับสูงกวา 200% ของ GDP ซึ่งสูงมากหากเทียบกับประเทศอุตสาหกรรมหลักหรือกลุม G7 ดวยกัน

                 ทั้งนี้ฐานะการคลังที่แยลงยอมสงผลบั่นทอนความนาเชื่อถือของประเทศในอนาคตเชนกัน
 หลังจากในชวงตนปสถานบันจัดอันดับความนาเชื่อถือ S&P มีการปรับลดอันดับความนาเชื่อถือของญี่ปุน
 ตามดวยมูดีส อินเวสเตอร เซอรวิสที่ดําเนินการในลักษณะเดียวกัน แนนอนวาเหตุการณแผนดินไหวครั้ง
 รุ น แรงที่ เ กิดขึ้ น และฐานะการคลัง ที่ ออ นแออาจเปน ปจ จัยที่ สถาบัน จั ดอัน ดับ ความนา เชื่อ ถื อ ระหวา ง
 ประเทศมีการปรับลดอันดับความนาเชื่อถือของญี่ปุนลงอีกในอนาคต
รูปที่ 4 : หนี้สาธารณะของญี่ปุนอยูในระดับสูงเทียบกับประเทศในกลุม G 7            รูปที่ 5 : อัตราผลตอบแทนพันธบัตรของญี่ปุน
                              G7 Public debt per GDP (%)                                                          Japan government bond yield (%)
  250                                                                                2.5
           204.2
  200                                                                                2.0

                     132.7
                                                                                     1.5
  150
                                98.5        97.1                                     1.0
                                                       88.6      85.5     81.3
  100
                                                                                     0.5
     50
                                                                                     0.0
     0                                                                                 Mar-07   Sep-07   Mar-08     Sep-08    Mar-09    Sep-09      Mar-10   Sep-10   Mar-11
          Japan       Italy     US        France           UK   Canada   Germany                                    2 yr       5 yr      10 yr

Source: Bloomberg, KBank                                                           Source: Bloomberg, Kbank




 การดําเนินการของธนาคารกลางญี่ปุน
             ความเสี ย หายจากเหตุแ ผน ดิน ไหวที่เ กิด ขึ้น ตอ สาธารณู ป โภคต า งๆ ในประเทศ ในขณะที่
 ทางการญี่ปุนระดมกําลังอยางเต็มที่ในการเขาคลี่คลายวิกฤตที่เกิดขึ้น ในอีกดานหนึ่งผลกระทบที่เกิดขึ้น
 ตอตลาดการเงินในประเทศยอมเปนหนาที่ของธนาคารกลางญี่ปุน (บีโอเจ) ที่จําเปนตองยื่นมือเขามาดูแล
 เพื่อสกัดวิกฤตปญหาที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะเพื่อดับความตื่นตะหนกของนักลงทุนที่มีการเทขายอยางหนัก
 ในตลาดหุ น ญี่ ปุ น เห็ น จากการดิ่ ง ลงอย า งรุ น แรงของดั ช นี นิ เ กอิ ต ลาดหุ น ญี่ ปุ น โดยวั น ที่ 14 มี น าคม
 ธนาคารกลางญี่ปุน (บีโอเจ) ประกาศอัดฉีดเงินหนุนระบบการเงินของประเทศวงเงินสูงเปนประวัติการณ
 ถึง 15 ลานลานเยน พรอมทั้งขยายมาตรการเขาซื้อหลักทรัพยเปนเงินอีก 10 ลานลานเยน หรือเพิ่มขึ้นถึง
 2 เทาจากวงเงินที่กําหนดไวเดิมเพื่อลดความกังวลในตลาดและปองกันไมใหตนทุนการกูยืมระยะสั้นพุง
 สูงขึ้นและยังมีการอัดฉีดเม็ดเงินเพิ่มเติมอีก 8 ลานลานเยนในวันที่ 15 มีนาคม โดยมีเปาประสงคเพื่อ
 รักษาเสถียรภาพตลาดการเงินของประเทศในระยะสั้นไว



 55

 5
การดําเนินการในชวงแรกจะไดรับการตอบรับในเชิงบวกจากตลาดการเงิน เห็นไดจากการดีด
 ตัวขึ้นของตลาดหุนญี่ปุน แตดูเหมือนยาที่ธนาคารกลางจัดใหยังไมแรงพอที่จะชวยลดความตื่นตระหนกที่
 เกิดขึ้น ขณะที่ความเสียหายและผลกระทบที่มีตอเศรษฐกิจยังไมสามารถประเมินออกมาเปนจํานวนเงิน
 ที่ ชั ด เจนได สถานการณ ดั ง กล า วทํ า ให นั ก ลงทุ น มี ก ารเทขายสิ น ทรั พ ย เ สี ย งและหั น กลั บ ไปถื อ เงิ น สด
 มากขึ้น สงผลใหภาวะการลงทุนในตลาดหุนญี่ปุนตองเผชิญแรงกดดันอยางหนักตลอดทั้งสัปดาห

            อยางไรก็ดีแมการดําเนินการในขั้นตนของทางการญี่ปุนจะไมสามารถทําใหความตื่นตระหนก
 ของนักลงทุนจบลงได แตอยางนอยก็เปนการแสดงใหเห็นถึงความพยายามของทางการในการเขามา
 กอบกูสถานการณใหฟนกลับคืนมาโดยเร็ว และสะทอนถึงความมุงมั่นของทางการในการทําทุกทางเพื่อ
 สรางเสถียรภาพแกตลาดการเงินของประเทศ และยังคงสะทอนถึงความพยายามของทางการที่ไมยอม
 ถอดใจในการประคับประคองตลาดการเงิน และชวยใหตลาดการเงินและเศรษฐกิจของประเทศเดินหนา
 ตอไปได

 ประเมินผลกระทบตอเศรษฐกิจไทย

                หายนะในญี่ปุนทําใหการฟนตัวของเศรษฐกิจโลกมีความไมแนนอนมากขึ้น ซ้ําเติมปจจัยเสี่ยง
 จากเหตุวุนวายในตะวันออกกลางที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น ทั้งนี้เหตุการณแผนดินไหวที่เกิดขึ้นในญี่ปุน
 สรางความเสียหายแกโครงสรางพื้นฐานในประเทศ และทําใหเกิดปญหาการขาดแคลนไฟฟาในหลาย
 พื้นที่และทําใหโรงงานอุตสาหกรรมสําคัญตองปดดําเนินการชั่วคราว ยอมสงผลกระทบไปถึงอุตสาหกรรม
 การผลิตทั่วโลก ในแงของซับพลายเชนหรือหวงโซอุปทานในตลาดโลก เนื่องจากญี่ปุนมีบทบาทสําคัญใน
 การเป น ซั บ พลายเชนของอุ ต สาหกรรมสํ า คั ญ ทั้ ง อุ ต สาหกรรมเคมี ภั ณ ฑ ป โ ตรเคมี รถยนต ชิ้ น ส ว น
 อิเลคทรอนิกส และวัตถุดิบตางๆ เมื่อระบบการขนสงไดรับความเสียหายจากเหตุแผนดินไหว กลุมผูผลิต
 ในญี่ปุนและประเทศอื่นๆ ยอมไดรับผลกระทบจากภาวะการขาดแคลนสินคา และทําใหมีคําถามตามมาวา
 สิ่งที่เกิดขึ้นจะสงผลกระทบตอเศรษฐกิจไทยอยางไรในฐานะที่ญี่ปุนเปนประเทศคูคาและประเทศผูลงทุน
 รายสําคัญของไทย
รูปที่ 6 : ตลาดสงออกสําคัญของไทย                                               รูปที่ 7 : ตลาดนําเขาสําคัญของไทย
                               Thailand's export destination 2010                                               Thailand's imports by country 2010
                                                       US                                                    Middle East                      US
                                                      10%                                                       11%                           6%
                                                                Japan
                                                                                                                                                Japan
                           Others                                10%                                                                             21%
                           35%                                                                             Others
                                                                                                            24%
                                                                    China
                                                                    11%
                                                                                                                                                China
                                                                                                                                                13%
                                                                EU
                                    ASEAN                                                                           ASEAN               EU
                                                               11%
                                     23%                                                                             17%                8%

Source: Bloomberg, KBank                                                        Source: Bloomberg, Kbank




 66

 6
ในแงของการสงออก การที่เศรษฐกิจญี่ปุนมีแนวโนมชะลอตัวลงยอมสงผลกระทบตอภาคสง
 ออกของไทย เนื่องจากญี่ปุนนับเปนตลาดสงออกสําคัญโดยมีสัดสวนราว 10.5% ของการสงออกรวมของ
 ไทย และหากพิจารณาลงไปในรายละเอียดสินคาพบวา สินคาที่ไทยสงออกไปญี่ปุนมากเปนอันดับแรก
 ไดแก คอมพิวเตอรและชิ้นสวน ชิ้นสวนยานยนต โดยมีสัดสวนราว 6% ของการสงออกรวม ตามดวย
 ยางพาราและชิ้ นสวนอิเลกทรอนิกสท่ีมีสัดสวนราว 5% ขณะที่สินคานําเขาสํ าคัญ ยังคงเปน สิน คา ใน
 หมวดวัตถุดิบและสินคาขั้นกลางที่มีสัดสวนราว 20.8% ซึ่งผลกระทบในระยะสั้นจะเกิดผลกระทบในแง
 ของความลาชาในการขนสงสินคาระหวางประเทศ
             ขณะที่การประเมินผลกระทบในรายอุตสาหกรรมเบื้องตนจากสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
 พบวาเหตุการณที่เกิดขึ้นจะสงผลกระทบทั้งแงบวกและแงลบแตกตางกันไป โดยคาดวาอุตสาหกรรมที่
 จะไดรับประโยชน ไดแกกลุมอุตสาหกรรมแกวและกระจกที่ไดรับผลดีจากการที่โรงงานแกวและกระจกใน
 ญี่ปุ นหยุดดํา เนิน การไปจึงเป นโอกาสสําหรับโรงงานของไทยในการผลิตเพื่อ การสงออก เชนเดียวกับ
 อุตสาหกรรมในหมวดอาหาร พลาสติก รวมทั้งอุตสาหกรรมไมและเฟอรนิเจอรไมที่ไดรับอานิสงสจาก
 ความตองการบริโภคและการฟนฟูบูรณะประเทศ แตสําหรับอุตสาหกรรมที่ไดรับผลในเชิงลบในระยะสั้น
 ไดแกกลุมอุตสาหกรรมยานยนตที่อาจไดรับผลกระทบเนื่องจากมีการนําเขาชิ้นสวนรถยนตจากประเทศ
 ญี่ปุนจํานวนมาก และอาจทําใหการผลิตมีโอกาสหยุดชะงักหากสถานการณในญี่ปุนยืดเยื้อออกไป
             แตในระยะยาว สิ่งที่นากังวลจะเปนผลกระทบจากการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ เพราะ
 เหตุ ก ารณ ที่เกิ ดขึ้ น จะทํา ใหบ ริษัท ในญี่ ปุน ซึ่ง ไดรั บ ความเสี ยหายหัน ไปเรง ซ อ มแซมและลงทุน เพิ่มใน
 ประเทศ สถานะการณดังกลาวยอมสงผลกระทบตอตัวเลขเม็ดเงินลงทุนจากตางประเทศของไทยที่อาจ
 ชะลอลง เนื่องจากญี่ปุนมีฐานะประเทศผูลงทุนโดยตรงอันดับ 1 ของไทย โดยในชวง 10 ปที่ผานมาการ
 ลงทุนจากญี่ปุนมีสัดสวนสูงราว 34.62% ของการลงทุนโดยตรงสุทธิของไทย ขณะที่ในชวง 5 ปที่ผานมา
 มีโครงการลงทุนจากญี่ปุนยื่นขอรับการสงเสริมจากบีโอไอรวม 2,006 โครงการ รวมมูลคาเงินลงทุน 7.2
 แสนล า นบาท โดยเน น ไปที่ ก ารลงทุ น ในอุ ต สาหกรรมยานยนต ชิ้ น ส ว นและเครื่ อ งจั ก รนั บ เป น กลุ ม
 อุตสาหกรรมที่นักลงทุนญี่ปุนใหความสนใจมากที่สุด

รูปที่ 8 : การลงทุนโดยตรงจากประเทศญี่ปน
                                       ุ                                               รูปที่ 9 : สัดสวนเงินลงทุนโดยตรงจากญี่ปุนตอการลงทุนโดยรวมของไทย
                                                                                                                  Japan investment as % of Total investments
     Mn $                         Japan investment in Thailand
                                                                                          70
  600
                                                                                          60
  500                                                                                     50
  400                                                                                     40
  300                                                                                     30
                                                                                                             10 year average = 34.62%
                                                                                          20
  200
                                                                                          10
  100                                                                                      0
     0                                                                                   -10
  -100                                                                                   -20
      2000   2001   2002   2003    2004    2005    2006    2007   2008   2009   2010           2000   2001    2002    2003     2004    2005    2006    2007    2008   2009   2010


Source: Bloomberg, KBank                                                               Source: Bloomberg, Kbank




 77

 7
ตารางที่ 2 . เครื่องชีเ้ ศรษฐกิจสําคัญของไทย                 Jul 10    Aug 10     Sep 10     Oct 10     Nov 10     Dec 10     Jan-11    Feb-11
Manufacturing index (ISIC)                                   190.1      183.7      201.5      191.2      190.4      190.2      190.2
     % YoY                                                     13.1        8.4        8.1        6.0        5.7       -2.5        5.9
Industrial capacity utilization rate (%) (ISIC)                64.8       63.6       64.4       63.9       63.6       62.4       62.1
Retail sales (% YoY)                                           12.3        8.6        9.1        5.4        8.1        7.4       n.a.
Passenger car sales (units)                                 65,672     65,724     68,261     72,012     78,874     93,122     93,122
Motorcycle sales (units)                                   175,926    153,256    147,932    145,916    154,971    165,658    165,658
Unemployed labor force ('000 persons)                          346        353        343        355        389        268        n.a.
Commercial car sales (units)                                    0.9        0.9        0.9        0.9        1.0        0.7       n.a.
Consumer prices (% YoY)                                         3.4        3.3        3.0        2.8        2.8        3.0        3.0      2.9
     core                                                       1.2        1.2        1.1        1.1        1.1        1.4        1.3      1.4
Producer prices (% YoY)                                        11.1       10.7        9.0        6.3        5.9        6.7        6.0      7.4
External Accounts (USD mn, unless specified otherwise)
Exports                                                    15,475.0   16,292.0   17,955.0   17,046.0   17,584.0   17,220.0   16,523.0
     % YoY                                                     21.2       23.6       21.8       16.6       28.7       18.6       21.4
Imports                                                    16,266.0   15,440.0   14,712.0   14,773.0   17,094.0   15,911.0   17,111.0
     % YoY                                                     36.5       41.8       15.7       14.4       35.0        8.8       31.2
Trade balance                                                -791.0     852.0     3,243.0    2,273.0     490.0     1,309.0     -588.0
Tourist arrivals ('000)                                      1,258      1,268      1,220      1,360      1,500      1,840      1,840
     % YoY                                                     14.7       12.5        1.9        6.3       10.3        9.5       14.7
Current account balance                                    -1,001.0     280.0     2,767.0    2,740.0    1,019.0    1,750.0    1,090.0
Balance of payments                                          1,412      3,589      4,270      5,822        820      2,263      1,689
FX reserves (USD bn)                                         151.5      154.7      163.1      171.1      168.2      172.1      174.0
Forward position (USD bn)                                  15,475.0   16,292.0   17,955.0   17,046.0   17,584.0   17,220.0   16,523.0
Monetary conditions (THB bn, unless specified otherwise)
M1                                                          1,173.0    1,181.4    1,175.5    1,202.3    1,235.4    1,302.4    1,326.7
     % YoY                                                     15.8       11.4       11.7       11.4       10.8       10.9       15.6
M2                                                         10,887.1   10,968.1   11,116.1   11,323.3   11,497.6   11,776.4   11,818.5
     % YoY                                                      8.8        8.5        9.9       11.2       11.1       10.9       11.5
Bank deposits                                               9,974.5   10,016.0   10,091.6   10,206.0   10,392.3   10,583.4   10,607.0
     % YoY                                                      7.6        6.6        7.8        8.5        8.1        8.7        8.9
Bank loans                                                  9,219.7    9,299.8    9,432.7    9,580.3    9,751.1    9,934.4   10,058.9
     % YoY                                                      9.1        9.8       10.8       12.1       12.2       12.5       14.4
Interest rates (% month end)
BOT 1 day repo (target)                                        1.50       1.75       1.75       1.75       1.75       2.00       2.25     2.25
Average large banks' minimum lending rate                      6.00       6.00       6.00       6.00       6.00       6.12       6.37     6.37
Average large banks' 1 year deposit rate                       0.98       0.98       1.11       1.11       1.11       1.32       1.51     1.51
Govt bond yield 1yr                                            1.91       1.99       2.01       1.98       2.11       2.38       2.54     2.68
Govt bond yield 5yr                                            3.08       2.69       2.56       2.83       2.98       3.26       3.40     3.48
Govt bond yield 10yr                                           3.44       3.01       3.12       3.18       3.59       3.77       3.85     3.89
Key FX (month end)
DXY US dollar index                                          81.54      83.20      78.72      77.27      81.20      79.03      77.74     76.89
USD/THB                                                      32.24      31.27      30.35      29.94      30.21      30.06      30.93     30.60
JPY/THB                                                      37.29      37.14      36.34      37.18      36.11      37.01      37.60     37.47
EUR/THB                                                      42.08      39.65      41.38      41.76      39.22      40.23      42.35     42.25
Source: Bloomberg




88

8
Disclaimer
    For private circulation only. The foregoing is for informational purposes only and not to be considered as an offer to buy or
    sell, or a solicitation of an offer to buy or sell any security. Although the information herein was obtained from sources we
    believe to be reliable, we do not guarantee its accuracy nor do we assume responsibility for any error or mistake contained
    herein. Further information on the securities referred to herein may be obtained upon request.


99

9

More Related Content

Viewers also liked

ข้อมูลแนวโน้มการค้าระหว่างประเทศ ppt.
ข้อมูลแนวโน้มการค้าระหว่างประเทศ ppt.ข้อมูลแนวโน้มการค้าระหว่างประเทศ ppt.
ข้อมูลแนวโน้มการค้าระหว่างประเทศ ppt.KBank Fx Dealing Room
 
ค่าเงินบาทในรอบสัปดาห์ Dec 27, 2010
ค่าเงินบาทในรอบสัปดาห์ Dec 27, 2010ค่าเงินบาทในรอบสัปดาห์ Dec 27, 2010
ค่าเงินบาทในรอบสัปดาห์ Dec 27, 2010KBank Fx Dealing Room
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 02-17
KBank CMB Seminar Khun Kitti  2012 02-17KBank CMB Seminar Khun Kitti  2012 02-17
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 02-17KBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wrist
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wristKBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wrist
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wristKBank Fx Dealing Room
 
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19KBank Fx Dealing Room
 
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17KBank Fx Dealing Room
 

Viewers also liked (10)

K bank daily feb 8
K bank daily feb 8K bank daily feb 8
K bank daily feb 8
 
ข้อมูลแนวโน้มการค้าระหว่างประเทศ ppt.
ข้อมูลแนวโน้มการค้าระหว่างประเทศ ppt.ข้อมูลแนวโน้มการค้าระหว่างประเทศ ppt.
ข้อมูลแนวโน้มการค้าระหว่างประเทศ ppt.
 
Market watch jan 26
Market watch jan 26Market watch jan 26
Market watch jan 26
 
ค่าเงินบาทในรอบสัปดาห์ Dec 27, 2010
ค่าเงินบาทในรอบสัปดาห์ Dec 27, 2010ค่าเงินบาทในรอบสัปดาห์ Dec 27, 2010
ค่าเงินบาทในรอบสัปดาห์ Dec 27, 2010
 
Market watch jan 5
Market watch jan 5Market watch jan 5
Market watch jan 5
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 02-17
KBank CMB Seminar Khun Kitti  2012 02-17KBank CMB Seminar Khun Kitti  2012 02-17
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 02-17
 
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wrist
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wristKBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wrist
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wrist
 
KBank CMB's event mar (Thai)
KBank CMB's event mar (Thai)KBank CMB's event mar (Thai)
KBank CMB's event mar (Thai)
 
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19
 
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17
 

More from KBank Fx Dealing Room

KBank Capital Market perspectives May 18 markets wrap up - positioning for ...
KBank Capital Market perspectives   May 18 markets wrap up - positioning for ...KBank Capital Market perspectives   May 18 markets wrap up - positioning for ...
KBank Capital Market perspectives May 18 markets wrap up - positioning for ...KBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market perspective May 18 greece
KBank Capital Market perspective May 18 greeceKBank Capital Market perspective May 18 greece
KBank Capital Market perspective May 18 greeceKBank Fx Dealing Room
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19KBank Fx Dealing Room
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19KBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market perspectives Portugal in focus
KBank Capital Market perspectives   Portugal in focusKBank Capital Market perspectives   Portugal in focus
KBank Capital Market perspectives Portugal in focusKBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market perspectives Apr 26 fomc
KBank Capital Market perspectives Apr 26  fomcKBank Capital Market perspectives Apr 26  fomc
KBank Capital Market perspectives Apr 26 fomcKBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market Perspective Feb 20 - gdp q4
KBank Capital Market Perspective   Feb 20 - gdp q4KBank Capital Market Perspective   Feb 20 - gdp q4
KBank Capital Market Perspective Feb 20 - gdp q4KBank Fx Dealing Room
 
KBank Multi Asset Strategies Jan 2012
KBank Multi Asset Strategies   Jan 2012KBank Multi Asset Strategies   Jan 2012
KBank Multi Asset Strategies Jan 2012KBank Fx Dealing Room
 
K bank multi asset strategies jan 2012
K bank multi asset strategies   jan 2012K bank multi asset strategies   jan 2012
K bank multi asset strategies jan 2012KBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market perspectives Dec 30 flooding and economic slowdown in n...
KBank Capital Market perspectives Dec 30  flooding and economic slowdown in n...KBank Capital Market perspectives Dec 30  flooding and economic slowdown in n...
KBank Capital Market perspectives Dec 30 flooding and economic slowdown in n...KBank Fx Dealing Room
 
KBank capital market perspectives dec 20 trade
KBank capital market perspectives dec 20   tradeKBank capital market perspectives dec 20   trade
KBank capital market perspectives dec 20 tradeKBank Fx Dealing Room
 
KBank Multi Asset Strategies dec 2011 th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   thKBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011 thKBank Fx Dealing Room
 
Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15
Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15
Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15KBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market perspectives Nov 21.2011
KBank Capital Market perspectives Nov 21.2011KBank Capital Market perspectives Nov 21.2011
KBank Capital Market perspectives Nov 21.2011KBank Fx Dealing Room
 

More from KBank Fx Dealing Room (20)

KBank Capital Market perspectives May 18 markets wrap up - positioning for ...
KBank Capital Market perspectives   May 18 markets wrap up - positioning for ...KBank Capital Market perspectives   May 18 markets wrap up - positioning for ...
KBank Capital Market perspectives May 18 markets wrap up - positioning for ...
 
KBank Capital Market perspective May 18 greece
KBank Capital Market perspective May 18 greeceKBank Capital Market perspective May 18 greece
KBank Capital Market perspective May 18 greece
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
 
KBank Capital Market perspectives Portugal in focus
KBank Capital Market perspectives   Portugal in focusKBank Capital Market perspectives   Portugal in focus
KBank Capital Market perspectives Portugal in focus
 
KBank Capital Market perspectives Apr 26 fomc
KBank Capital Market perspectives Apr 26  fomcKBank Capital Market perspectives Apr 26  fomc
KBank Capital Market perspectives Apr 26 fomc
 
KBank Economics update Mar 2012
KBank Economics update   Mar 2012KBank Economics update   Mar 2012
KBank Economics update Mar 2012
 
KBank Capital Market Perspective Feb 20 - gdp q4
KBank Capital Market Perspective   Feb 20 - gdp q4KBank Capital Market Perspective   Feb 20 - gdp q4
KBank Capital Market Perspective Feb 20 - gdp q4
 
Prariwat feb23
Prariwat feb23Prariwat feb23
Prariwat feb23
 
KBank Multi Asset Strategies Jan 2012
KBank Multi Asset Strategies   Jan 2012KBank Multi Asset Strategies   Jan 2012
KBank Multi Asset Strategies Jan 2012
 
K bank multi asset strategies jan 2012
K bank multi asset strategies   jan 2012K bank multi asset strategies   jan 2012
K bank multi asset strategies jan 2012
 
KBank Econ update jan 2012
KBank Econ update   jan 2012KBank Econ update   jan 2012
KBank Econ update jan 2012
 
KBank Capital Market perspectives Dec 30 flooding and economic slowdown in n...
KBank Capital Market perspectives Dec 30  flooding and economic slowdown in n...KBank Capital Market perspectives Dec 30  flooding and economic slowdown in n...
KBank Capital Market perspectives Dec 30 flooding and economic slowdown in n...
 
KBank capital market perspectives dec 20 trade
KBank capital market perspectives dec 20   tradeKBank capital market perspectives dec 20   trade
KBank capital market perspectives dec 20 trade
 
KBank Multi Asset Strategies dec 2011 th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   thKBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011 th
 
Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15
Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15
Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15
 
Cmb seminar khun kitti 2011 12-15
Cmb seminar khun kitti  2011 12-15Cmb seminar khun kitti  2011 12-15
Cmb seminar khun kitti 2011 12-15
 
K bank daily nov 22
K bank daily nov 22K bank daily nov 22
K bank daily nov 22
 
KBank Capital Market perspectives Nov 21.2011
KBank Capital Market perspectives Nov 21.2011KBank Capital Market perspectives Nov 21.2011
KBank Capital Market perspectives Nov 21.2011
 
KBank Daily Update Nov 21.2011
KBank Daily Update Nov 21.2011KBank Daily Update Nov 21.2011
KBank Daily Update Nov 21.2011
 

K bank fx & rates วิกฤตนิวเคลียร์ญี่ปุน mar 21

  • 1. .Mean S FX & Rates Strategies KBank Economics / Strategy วิกฤตนิวเคลียรญ่ปุน... เพิ่มความเสียงในการฟนตัวของเศรษฐกิจโลก ี ่ FX / Rates 21 March 2011 เศรษฐกิจโลกเผชิญบททดสอบครั้งสําคัญจากเหตุการณแผนดินไหวครั้งรุนแรง Warunee Sithithaworn ในรอบกวา 140 ป...ตามดวยวิกฤตนิวเคลียรครั้งรุนแรงในญี่ปุน warunee.si @kasikornbank.com วิกฤตการณที่เกิดขึ้นสรางความปนปวนตอตลาดการเงินโลก ซ้ําเติมเหตุวุนวาย ในตะวันออกกลางและวิกฤตหนี้ในยุโรปที่ยังไมสามารถหาทางออก ทางการญี่ ปุ น อั ด ฉี ด เม็ ด เงิ น จํ า นวนมาเพื่ อ เสริ ม สภาพคล อ งและรั ก ษา เสถียรภาพตลาดการเงินของประเทศในระยะสั้น ขณะที่กลุมประเทศ G7 หั น มาร ว มมื อ กั น สกั ด เงิ น เยนแข็ ง ค า ซึ่ ง เป น การดํ า เนิ น การครั้ ง แรกในรอบ กวา 10 ป นอกจากความเสียหายที่เกิดขึ้นกับตลาดการเงินของประเทศแลว ในระยะยาว การเร ง ฟ น ฟู ป ระเทศยั ง ทํ า ให ฐ านะการคลั ง ของญี่ ปุ น มี แ นวโน ม อ อ นแอลง และอาจสงผลกระทบตอความนาเชื่อถือของประเทศในอนาคต ในสวนของประเทศไทย สิ่งที่เกิดขึ้นยอมสงผลกระทบตอเศรษฐกิจไทยในฐานะ ที่ ญี่ ปุ น เป น ประเทศคู ค า หลั ก และมี บ ทบาทสํ า คั ญ ในห ว งโซ อุ ป ทานของ อุตสาหกรรมในประเทศ ขณะที่ในระยะยาวการเรงฟน ฟูบูรณะประเทศอาจ สงผลกระทบในแงเม็ดเงินลงทุนโดยตรงจากญี่ปุนที่ลดระดับลง วิกฤตนิวเคลียรในญี่ปุน ....สั่นคลอนเศรษฐกิจญี่ปุน ภาพขาวที่ปรากฎตามสื่อตางๆ ทั้งรายงานทางโทรทัศนและสื่อสิ่งพิมพในชวงกวา 1 สัปดาห ที่ผานมาคงไมมีประเด็นขาวใดรอนแรงไปกวาเหตุการณแผนดินไหวในญี่ปุน ตอเนื่องไปถึงความเสียหาย ที่เกิดจากคลื่นยักษสูงระดับ 10 เมตรซึ่งพัดเขาถลมชายฝงทางดานตะวันออกของญี่ปุน แตสถานการณ มีความรุนแรงมากขึ้นเมื่อภัยพิบัติดังกลาวไดสงใหโรงงานนิวเคลียรที่เมืองฟูกุชิมาเกิดการระเบิด ตามมา ดวยการรั่วไหลของสารกัมมันตรังสีในบริเวณโดยรอบจนถึงขั้นที่ทางการญี่ปุนตองสั่งอพยพประชาชน ออกจากพื้น ที่ เพื่อ ปอ งกันไมใ หป ระชาชนไดรับ อันตรายจากการรั่ วไหลของสารพิ ษ ตอ ไปนี้เปน ลํ า ดับ เหตุการณที่เกิดขึ้นในญี่ปุน ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความรุนแรงของปญหาและความพยามยามของทางการ ญี่ปุน รวมทั้งผูที่เกี่ยวของในการรับมือกับวิกฤตการณรายแรงในครั้งนี้ 11 1
  • 2. ตารางที่ 1 : ลําดับเหตุการณแผนดินไหวและวิกฤตการณนิวเคลียรในญี่ปุน วันที่ สถานการณ 11 มีนาคม เกิดเหตุแผนดินไหวขนาด 9 ริกเตอรและคลื่นยักษสินามิพัดเขาทางชายฝงตะวันออกของ ญี่ปุน สงผลใหสนามบินเซนไดตองปดการใหบริการและเกิดเหตุเพลิงไหมที่โรงกลั่นน้ามัน ํ ในเมืองจิบะ 12 มีนาคม อาคารเตาที่ 1 โรงปฎิกรณที่ฟูกุชิมาระเบิด บริษทการไฟฟาญี่ปุน (เทปโค) เริ่มสูบน้ําทะเล ั เขาไปในเตาที่ 1 และ 3 เพื่อลดความรอนในเตาปฎิกรณ รัฐบาลสั่งอพยพคนออกนอกพื้นที่ พรอมสงทีมกูภัยลงพื้นที่ ขณะที่มรายงานจํานวนผูเสียชีวิตราว 1,000 คนและกวา 4 ลาน ี ครัวเรือนขาดน้ําและไฟฟา 13 มีนาคม ยอดผูเสียชีวตเพิ่มขึ้นเปน 1,300 คน และมีรายงานการรั่วไหลของสารกํามันตรังสี ิ 14 มีนาคม อาคารเตาที่ 3 โรงปฎิกรณที่ฟูกุชิมาระเบิด บริษทการไฟฟาญี่ปุน (เทปโค) ฉีดน้ําทะเลเขาใส ั เพื่อลดอุณหภูมภายในเตาที่ 2 เนืองจากระดับน้ําในเตาลดลงอยางรวดเร็ว ิ ่ 15 มีนาคม อาคารเตาที่ 2 และ 4 โรงปฎิกรณทฟูกุชิมาระเบิด และมีสารกัมมันตรังสีรั่วไหลในระดับสูง ่ี บริษัทการไฟฟาญี่ปุน (เทปโค) สังอพยพเจาหนาทีที่ไมเกี่ยวของออกจากพื้นที่ โดยเหลือ ่ ่ เจาหนาที่ประจําการเพียง 50 คน 16 มีนาคม เพลิงไหมอาคารเตาที่ 4 เปนครั้งที่ 2 สํานักงานตํารวจแหงชาติสงรถบรรทุกน้ําเขาไปยังโรง ปฎิกรณเพื่อฉีดน้าเขาใสบอเก็บกักเชื้อเพลิงใชแลวเพื่อลดอุณหภูมภายในเตาลง ขณะที่ ํ ิ บริษัทการไฟฟาญี่ปุน (เทปโค) ใชเฮลิคอปเตอรปลอยน้ําลงมายังบอกักเก็บผานชองเพดาน ที่พังจากเหตุระเบิดของอาคารเตาที่ 4 17 มีนาคม เจาหนาที่ใชเฮลิคอปเตอรชีนุกฉีดน้ารดอาคารเตาที่ 3 และ 4 และเติมน้ําในบอเก็บแทง ํ เชื้อเพลิงใชแลวในเตาที่ 4 แตไมเปนผล ขณะที่สํานักงานพลังงานปรมาณูสากล (ไอเออีเอ) เตือนวาอุณหภูมิในอางเก็บเชือเพลิงเตา 4, 5 และ 6 ยังเพิ่มขึ้นอยางตอเนืองและเกินกวาที่ ้ ่ ควรจะเปน 19 มีนาคม เจาหนาที่ยังคงระดมฉีดน้ําเขาไปในบอเชื้อเพลิงเตาที่ 1-4 อยางตอเนือง และเรงวางสายไฟ ่ เพื่อเชือมตอระบบไฟฟาภายในเตาที่ 1 และ 2 เพือใหระบบหลอเย็นสามารถกลับมาทํางาน ่ ่ อีกครั้ง ขณะทีสํานักงานความปลอดภัยดานนิวเคลียรญี่ปุนยกระดับอันตรายนิวเคลียรจาก ่ ระดับ 4 เปน 5 ซึงเปนระดับเดียวกับเหตุระเบิดโรงไฟฟาเกาะทรี ไมลของสหรัฐฯ ในป 1979 ่ 20 มีนาคม บริษัทการไฟฟาญี่ปุน (เทปโค) แจงวาสามารถเชื่อมตอระบบไฟฟาอาคารหมายเลข 5 และ 6 ซึ่งทําใหระบบหลอเย็นในอาคารกลับมาใชงานไดอีกครั้งและหวังวาจะสามารถเชือมตอระบบ ่ ไฟฟาในทุกอาคารปฎิกรณนิวเคลียรได 22 2
  • 3. ประเมินความเสียหายตอเศรษฐกิจญี่ปุน สํ า หรั บ ความเสี ย หายและผลกระทบจากเหตุ แ ผ น ดิ น ไหวที่ มี ต อ เศรษฐกิ จ ญี่ ปุ น ครั้ ง นี้ ในเบื้ อ งต น หลายฝ า ยต า งเปรี ย บเที ย บความเสี ย หายจากเหตุ ก ารณ แ ผ น ดิ น ไหวครั้ ง นี้ กั บ การเกิ ด แผนดินไหวครั้งรุนแรงที่เมืองโกเบในป 2538 ซึ่งในครั้งนั้นผลกระทบที่เกิดขึ้นตอเศรษฐกิจญี่ปุนคอนขาง รุนแรง เนื่องจากโกเบเปนเมืองศูนยกลางทางเศรษฐกิจและมีความคั่งของกิจกรรมตางๆ ทางเศรษฐกิจ ขณะที่เหตุการณแผนดินไหวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของญี่ปุนในรอบนี้ ในเบื้องตนมีการประเมินวา ความเสียหายที่เกิดขึ้นจะมีระดับต่ํากวา เนื่องจากพื้นที่เกิดเหตุไมไดเปนศูนยกลางเศรษฐกิจของประเทศ โดยจากการประเมินเบื้องตนมองวาความเสียหายทางเศรษฐกิจจะอยูที่ราว 14-15 ลานลานเยน ซึ่งมูลคา ความเสียหายต่ํากวาถึง 40% ที่เคยเกิดขึ้นที่โกเบซึ่งสงผลกระทบตอเศรษฐกิจญี่ปุนราว 40 ลานเยน อยางไรก็ดีการประเมินผลในขั้นตนดูจะใหภาพความเสียหายที่ต่ําเกินจริงเนื่องจากยังไมไดมี การรวมปจจัยเสี่ยงจากการระเบิดของโรงงานนิวเคลียรที่มีความรุนแรงมากขึ้น โดยบริษัทการไฟฟาญี่ปุน (เทปโค) กลาววาระดับของสารกัมมัตรังสีมีความรุนแรง มากขึ้นและเพิ่มขึ้นแตะระดับที่เปนอันตรายตอ มนุษยที่ 10-200 มิลลิซีเวิรต ซึ่งสูงกวาระดับที่คนรับไดถึง160 เทาตัว ขณะที่ในเบื้องตนทางการญี่ปุนมี การสั่งอพยพประชาชนรอบโรงงานทันที ขณะที่การแพรกระจายของสารกัมมันตรังสียังเริ่มสงผลกระทบตอ กิจกรรมทางเศรษฐกิจในวงกวางและอาจกระจายตัวไกลออกไปถึงกรุงโตเกียวซึ่งเปนศูนยกลางเศรษฐกิจ ของประเทศ ทํ า ให ค วามเสี ย หายต อ เศรษฐกิ จ ของประเทศมี แ นวโน ม บานปลายออกไป ล า สุ ด มี ก าร ประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้นในครั้งนี้วาอาจทําใหเศรษฐกิจญี่ปุนมีการขยายตัวลดลงราว 0.2% จากเดิมที่ มองว าเศรษฐกิ จ จะขยายตัวไดร าว 1.4% ในปนี้ และผลกระทบจากเศรษฐกิจ อาจเพิ่มสูง ขึ้นหากการ แข็งคาของเงินเยนสงผลกระทบตอภาคสงออกของประเทศ ทั้ง นี้ห ากพิจารณาในแงข องผลกระทบที่เกิดขึ้น กับ ตลาดการเงิน วิกกฤตการณ ในญี่ปุน ใน ครั้งนี้สงผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตอภาวการณลงทุนในตลาดหุนตลาดหุนญี่ปุน เห็นไดจากดัชนีนิเกอิ มีการปรับตัวลงนับจากเปดตลาดในวันทําการแรกของสัปดาห (14 มีนาคม) และมีการทรุดตัวลงกวา 14% ในชวงการซื้อขายระหวางวันภายหลังมีรายงานวาเกิดเหตุระเบิดที่โรงงานนิวเคลียรและมีขาวการ รั่วไหลของสารกัมมันตรังสีซึ่งเปนสัญญาณเตือนวาสถานการณในญี่ปุนมีความรุนแรงมากขึ้นกระตุนให นักลงทุนมีการเทขายอยางมาก ซึ่งสถานการณดังกลาวยังสงผลกระทบลุกลามไปสูตลาดหุนทั่วโลก ทั้ง ตลาดหุนสหรัฐฯ ยุโรปและเอเชียที่มีปรับตัวในทิศทางเดียวกัน ซึ่งจากรูปที่ 1 เปนการเคลื่อนไหวของดัชนี VIX Index ซึ่งเปนเครื่องชี้ความผันผวนในตลาดหุน จะเห็นไดวาดัชนีมีการพุงสูงขึ้นอีกครั้ง สะทอนถึง ความไมมั่นใจหรือความกลัวของนักลงทุนตอเหตุการณที่เกิดขึ้น 33 3
  • 4. รูปที่ 1 : ดัชนี VIX Index ปรับตัวสูงขึ้นสะทอนความผันผวนในตลาดหุน รูปที่ 2 : ดัชนี VIX Index ปรับตัวสูงขึ้นสะทอนความผันผวนในตลาดหุน VIX Index USD/JPY Movement 80 160 USD/JPY 70 150 MOV AVG 30 D 60 140 MOV AVG 200 D 130 50 120 40 110 30 100 20 90 10 80 0 70 1991 1993 1995 1997 1999 2001 2003 2005 2007 2009 2011 1991 1993 1995 1997 1999 2001 2003 2005 2007 2009 2011 Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, Kbank นอกจากนี้ สิ่งที่สรางความกังวลอยางมากตอผูกําหนดนโยบาย คือการเคลื่อนไหวของคาเงิน เยน โดยในชวงสัปดาหท่ีผานมา คาเงินเยนมีการปรับแข็งคาขึ้นอยางรวดเร็วจากการที่บริษัทประกันและ บริษัทญี่ปุนจะมีการเรงสงเงินกลับประเทศเพื่อนําไปฟนฟูกิจการที่ไดรับผลกระทบจากเหตุแผนดินไหว รวมทั้งกระแสเงินไหลกลับประเทศจากการที่นักลงทุนญี่ปุนที่เคยนําเงินลงทุนตนทุนดอกเบี้ยต่ําไปลงทุนใน สินทรัพยตางประเทศที่ใหผลตอบแทนที่ดีกวา เริ่มถอนเงินลงทุนกลับจากตางประเทศ ซึ่งเปนอีกปจจัยที่ หนุนใหเงินเยนปรับแข็งคาขึ้น อยางไรก็ดีอีกปจจัยหนึ่งคือการที่นักลงทุนรวมทั้งนักเก็งกําไรตางเขาถือ ครองเงินเยนเพิ่มขึ้น จึงเปนอีกปจจัยที่ยิ่งเรงใหเงินเยนปรับแข็งคาขึ้นอยางรวดเร็ว โดยปรับตัวขึ้นทดสอบ ระดับ 76.25 ซึ่งเปนสถิติแข็งคาที่สุดและสูงกวาสถิติเดิมที่ 76.75 ที่เคยทําไวในชวงหลังเกิดเหตุการณ แผนดินไหวที่โกเบในป 2538 อยางไรก็ดีในชวงปลายสัปดาห กลุมประเทศอุตสาหกรรมชั้นนํา G7 จะรวมมือกันเขาแทรกแซง ตลาดอัตราแลกเปลี่ยนโดยขายเงินเยนและเขาซื้อดอลลารสหรัฐฯ เพื่อสกัดการแข็งคาของเงิน เยนซึ่งเปน ความรวมมือกันเปนครั้งแรกในรอบกวา 10 ปหรือนับตั้งแตป 2000 เปนตนมา ซึ่งการดําเนินการดังกลาว สงผลใหเงินเยนในชวงเชาวันที่ 18 มีนาคม เริ่มออนคาลงโดยอยูที่ 81.81 ในตลาดเงินเอเชียหรือออนคา ลงกวา 3% จากระดับ 79.19 ในชวงกอนหนา รูปที่ 3 : การเคลื่อนไหวของเงินเยนและสัญญาซื้อขายเงินเยนลวงหนา รูปที่ 4 : การเคลื่อนไหวของเงินเยนกับสวนตางอัตราดอกเบี้ยสหรัฐฯ-ญี่ปุน 115 80 800 140 110 60 700 130 105 40 600 120 100 20 500 95 110 0 400 90 100 -20 300 85 -40 200 90 80 75 -60 100 80 70 -80 0 70 Mar-08 Sep-08 Mar-09 Sep-09 Mar-10 Sep-10 Mar-11 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 JPY non-commercial net position (right axis : 1,000 contracts) USD/JPY (left axis) 2 yr US-Japan swap spread (left axis : bp) USD/JPY (right axis) Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, Kbank 44 4
  • 5. อยางไรก็ดีสิ่งที่เกิดขึ้นดังกลาวอาจเปนผลกระทบที่เกิดขึ้นในระยะสั้น แตผลกระทบในระยะ ยาวที่เศรษฐกิจญี่ปุนตองเผชิญ นั่นคือ ฐานะการคลังที่มีแนวโนมแยลงเนื่องจากการเม็ดเงินจํานวนมากที่ ทางการจําเปนตองอัดฉีดเขาสูระบบเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลนายนาโอโตะ คังไดประกาศแผนซอมแซมและ ฟนฟูบูรณะประเทศวงเงิน 4 ลานลานเยนเพื่อซอมแซมระบบสาธารณูปโภคและการบูรณะฟนฟูประเทศ ซึ่งจะยิ่งเปนการซ้ําเติมใหฐานะการคลังของประเทศย่ําแยลง จากปจจุบันที่ตัวเลขการกอหนี้ภาครัฐอยู ในระดับสูงกวา 200% ของ GDP ซึ่งสูงมากหากเทียบกับประเทศอุตสาหกรรมหลักหรือกลุม G7 ดวยกัน ทั้งนี้ฐานะการคลังที่แยลงยอมสงผลบั่นทอนความนาเชื่อถือของประเทศในอนาคตเชนกัน หลังจากในชวงตนปสถานบันจัดอันดับความนาเชื่อถือ S&P มีการปรับลดอันดับความนาเชื่อถือของญี่ปุน ตามดวยมูดีส อินเวสเตอร เซอรวิสที่ดําเนินการในลักษณะเดียวกัน แนนอนวาเหตุการณแผนดินไหวครั้ง รุ น แรงที่ เ กิดขึ้ น และฐานะการคลัง ที่ ออ นแออาจเปน ปจ จัยที่ สถาบัน จั ดอัน ดับ ความนา เชื่อ ถื อ ระหวา ง ประเทศมีการปรับลดอันดับความนาเชื่อถือของญี่ปุนลงอีกในอนาคต รูปที่ 4 : หนี้สาธารณะของญี่ปุนอยูในระดับสูงเทียบกับประเทศในกลุม G 7 รูปที่ 5 : อัตราผลตอบแทนพันธบัตรของญี่ปุน G7 Public debt per GDP (%) Japan government bond yield (%) 250 2.5 204.2 200 2.0 132.7 1.5 150 98.5 97.1 1.0 88.6 85.5 81.3 100 0.5 50 0.0 0 Mar-07 Sep-07 Mar-08 Sep-08 Mar-09 Sep-09 Mar-10 Sep-10 Mar-11 Japan Italy US France UK Canada Germany 2 yr 5 yr 10 yr Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, Kbank การดําเนินการของธนาคารกลางญี่ปุน ความเสี ย หายจากเหตุแ ผน ดิน ไหวที่เ กิด ขึ้น ตอ สาธารณู ป โภคต า งๆ ในประเทศ ในขณะที่ ทางการญี่ปุนระดมกําลังอยางเต็มที่ในการเขาคลี่คลายวิกฤตที่เกิดขึ้น ในอีกดานหนึ่งผลกระทบที่เกิดขึ้น ตอตลาดการเงินในประเทศยอมเปนหนาที่ของธนาคารกลางญี่ปุน (บีโอเจ) ที่จําเปนตองยื่นมือเขามาดูแล เพื่อสกัดวิกฤตปญหาที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะเพื่อดับความตื่นตะหนกของนักลงทุนที่มีการเทขายอยางหนัก ในตลาดหุ น ญี่ ปุ น เห็ น จากการดิ่ ง ลงอย า งรุ น แรงของดั ช นี นิ เ กอิ ต ลาดหุ น ญี่ ปุ น โดยวั น ที่ 14 มี น าคม ธนาคารกลางญี่ปุน (บีโอเจ) ประกาศอัดฉีดเงินหนุนระบบการเงินของประเทศวงเงินสูงเปนประวัติการณ ถึง 15 ลานลานเยน พรอมทั้งขยายมาตรการเขาซื้อหลักทรัพยเปนเงินอีก 10 ลานลานเยน หรือเพิ่มขึ้นถึง 2 เทาจากวงเงินที่กําหนดไวเดิมเพื่อลดความกังวลในตลาดและปองกันไมใหตนทุนการกูยืมระยะสั้นพุง สูงขึ้นและยังมีการอัดฉีดเม็ดเงินเพิ่มเติมอีก 8 ลานลานเยนในวันที่ 15 มีนาคม โดยมีเปาประสงคเพื่อ รักษาเสถียรภาพตลาดการเงินของประเทศในระยะสั้นไว 55 5
  • 6. การดําเนินการในชวงแรกจะไดรับการตอบรับในเชิงบวกจากตลาดการเงิน เห็นไดจากการดีด ตัวขึ้นของตลาดหุนญี่ปุน แตดูเหมือนยาที่ธนาคารกลางจัดใหยังไมแรงพอที่จะชวยลดความตื่นตระหนกที่ เกิดขึ้น ขณะที่ความเสียหายและผลกระทบที่มีตอเศรษฐกิจยังไมสามารถประเมินออกมาเปนจํานวนเงิน ที่ ชั ด เจนได สถานการณ ดั ง กล า วทํ า ให นั ก ลงทุ น มี ก ารเทขายสิ น ทรั พ ย เ สี ย งและหั น กลั บ ไปถื อ เงิ น สด มากขึ้น สงผลใหภาวะการลงทุนในตลาดหุนญี่ปุนตองเผชิญแรงกดดันอยางหนักตลอดทั้งสัปดาห อยางไรก็ดีแมการดําเนินการในขั้นตนของทางการญี่ปุนจะไมสามารถทําใหความตื่นตระหนก ของนักลงทุนจบลงได แตอยางนอยก็เปนการแสดงใหเห็นถึงความพยายามของทางการในการเขามา กอบกูสถานการณใหฟนกลับคืนมาโดยเร็ว และสะทอนถึงความมุงมั่นของทางการในการทําทุกทางเพื่อ สรางเสถียรภาพแกตลาดการเงินของประเทศ และยังคงสะทอนถึงความพยายามของทางการที่ไมยอม ถอดใจในการประคับประคองตลาดการเงิน และชวยใหตลาดการเงินและเศรษฐกิจของประเทศเดินหนา ตอไปได ประเมินผลกระทบตอเศรษฐกิจไทย หายนะในญี่ปุนทําใหการฟนตัวของเศรษฐกิจโลกมีความไมแนนอนมากขึ้น ซ้ําเติมปจจัยเสี่ยง จากเหตุวุนวายในตะวันออกกลางที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น ทั้งนี้เหตุการณแผนดินไหวที่เกิดขึ้นในญี่ปุน สรางความเสียหายแกโครงสรางพื้นฐานในประเทศ และทําใหเกิดปญหาการขาดแคลนไฟฟาในหลาย พื้นที่และทําใหโรงงานอุตสาหกรรมสําคัญตองปดดําเนินการชั่วคราว ยอมสงผลกระทบไปถึงอุตสาหกรรม การผลิตทั่วโลก ในแงของซับพลายเชนหรือหวงโซอุปทานในตลาดโลก เนื่องจากญี่ปุนมีบทบาทสําคัญใน การเป น ซั บ พลายเชนของอุ ต สาหกรรมสํ า คั ญ ทั้ ง อุ ต สาหกรรมเคมี ภั ณ ฑ ป โ ตรเคมี รถยนต ชิ้ น ส ว น อิเลคทรอนิกส และวัตถุดิบตางๆ เมื่อระบบการขนสงไดรับความเสียหายจากเหตุแผนดินไหว กลุมผูผลิต ในญี่ปุนและประเทศอื่นๆ ยอมไดรับผลกระทบจากภาวะการขาดแคลนสินคา และทําใหมีคําถามตามมาวา สิ่งที่เกิดขึ้นจะสงผลกระทบตอเศรษฐกิจไทยอยางไรในฐานะที่ญี่ปุนเปนประเทศคูคาและประเทศผูลงทุน รายสําคัญของไทย รูปที่ 6 : ตลาดสงออกสําคัญของไทย รูปที่ 7 : ตลาดนําเขาสําคัญของไทย Thailand's export destination 2010 Thailand's imports by country 2010 US Middle East US 10% 11% 6% Japan Japan Others 10% 21% 35% Others 24% China 11% China 13% EU ASEAN ASEAN EU 11% 23% 17% 8% Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, Kbank 66 6
  • 7. ในแงของการสงออก การที่เศรษฐกิจญี่ปุนมีแนวโนมชะลอตัวลงยอมสงผลกระทบตอภาคสง ออกของไทย เนื่องจากญี่ปุนนับเปนตลาดสงออกสําคัญโดยมีสัดสวนราว 10.5% ของการสงออกรวมของ ไทย และหากพิจารณาลงไปในรายละเอียดสินคาพบวา สินคาที่ไทยสงออกไปญี่ปุนมากเปนอันดับแรก ไดแก คอมพิวเตอรและชิ้นสวน ชิ้นสวนยานยนต โดยมีสัดสวนราว 6% ของการสงออกรวม ตามดวย ยางพาราและชิ้ นสวนอิเลกทรอนิกสท่ีมีสัดสวนราว 5% ขณะที่สินคานําเขาสํ าคัญ ยังคงเปน สิน คา ใน หมวดวัตถุดิบและสินคาขั้นกลางที่มีสัดสวนราว 20.8% ซึ่งผลกระทบในระยะสั้นจะเกิดผลกระทบในแง ของความลาชาในการขนสงสินคาระหวางประเทศ ขณะที่การประเมินผลกระทบในรายอุตสาหกรรมเบื้องตนจากสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย พบวาเหตุการณที่เกิดขึ้นจะสงผลกระทบทั้งแงบวกและแงลบแตกตางกันไป โดยคาดวาอุตสาหกรรมที่ จะไดรับประโยชน ไดแกกลุมอุตสาหกรรมแกวและกระจกที่ไดรับผลดีจากการที่โรงงานแกวและกระจกใน ญี่ปุ นหยุดดํา เนิน การไปจึงเป นโอกาสสําหรับโรงงานของไทยในการผลิตเพื่อ การสงออก เชนเดียวกับ อุตสาหกรรมในหมวดอาหาร พลาสติก รวมทั้งอุตสาหกรรมไมและเฟอรนิเจอรไมที่ไดรับอานิสงสจาก ความตองการบริโภคและการฟนฟูบูรณะประเทศ แตสําหรับอุตสาหกรรมที่ไดรับผลในเชิงลบในระยะสั้น ไดแกกลุมอุตสาหกรรมยานยนตที่อาจไดรับผลกระทบเนื่องจากมีการนําเขาชิ้นสวนรถยนตจากประเทศ ญี่ปุนจํานวนมาก และอาจทําใหการผลิตมีโอกาสหยุดชะงักหากสถานการณในญี่ปุนยืดเยื้อออกไป แตในระยะยาว สิ่งที่นากังวลจะเปนผลกระทบจากการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ เพราะ เหตุ ก ารณ ที่เกิ ดขึ้ น จะทํา ใหบ ริษัท ในญี่ ปุน ซึ่ง ไดรั บ ความเสี ยหายหัน ไปเรง ซ อ มแซมและลงทุน เพิ่มใน ประเทศ สถานะการณดังกลาวยอมสงผลกระทบตอตัวเลขเม็ดเงินลงทุนจากตางประเทศของไทยที่อาจ ชะลอลง เนื่องจากญี่ปุนมีฐานะประเทศผูลงทุนโดยตรงอันดับ 1 ของไทย โดยในชวง 10 ปที่ผานมาการ ลงทุนจากญี่ปุนมีสัดสวนสูงราว 34.62% ของการลงทุนโดยตรงสุทธิของไทย ขณะที่ในชวง 5 ปที่ผานมา มีโครงการลงทุนจากญี่ปุนยื่นขอรับการสงเสริมจากบีโอไอรวม 2,006 โครงการ รวมมูลคาเงินลงทุน 7.2 แสนล า นบาท โดยเน น ไปที่ ก ารลงทุ น ในอุ ต สาหกรรมยานยนต ชิ้ น ส ว นและเครื่ อ งจั ก รนั บ เป น กลุ ม อุตสาหกรรมที่นักลงทุนญี่ปุนใหความสนใจมากที่สุด รูปที่ 8 : การลงทุนโดยตรงจากประเทศญี่ปน ุ รูปที่ 9 : สัดสวนเงินลงทุนโดยตรงจากญี่ปุนตอการลงทุนโดยรวมของไทย Japan investment as % of Total investments Mn $ Japan investment in Thailand 70 600 60 500 50 400 40 300 30 10 year average = 34.62% 20 200 10 100 0 0 -10 -100 -20 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, Kbank 77 7
  • 8. ตารางที่ 2 . เครื่องชีเ้ ศรษฐกิจสําคัญของไทย Jul 10 Aug 10 Sep 10 Oct 10 Nov 10 Dec 10 Jan-11 Feb-11 Manufacturing index (ISIC) 190.1 183.7 201.5 191.2 190.4 190.2 190.2 % YoY 13.1 8.4 8.1 6.0 5.7 -2.5 5.9 Industrial capacity utilization rate (%) (ISIC) 64.8 63.6 64.4 63.9 63.6 62.4 62.1 Retail sales (% YoY) 12.3 8.6 9.1 5.4 8.1 7.4 n.a. Passenger car sales (units) 65,672 65,724 68,261 72,012 78,874 93,122 93,122 Motorcycle sales (units) 175,926 153,256 147,932 145,916 154,971 165,658 165,658 Unemployed labor force ('000 persons) 346 353 343 355 389 268 n.a. Commercial car sales (units) 0.9 0.9 0.9 0.9 1.0 0.7 n.a. Consumer prices (% YoY) 3.4 3.3 3.0 2.8 2.8 3.0 3.0 2.9 core 1.2 1.2 1.1 1.1 1.1 1.4 1.3 1.4 Producer prices (% YoY) 11.1 10.7 9.0 6.3 5.9 6.7 6.0 7.4 External Accounts (USD mn, unless specified otherwise) Exports 15,475.0 16,292.0 17,955.0 17,046.0 17,584.0 17,220.0 16,523.0 % YoY 21.2 23.6 21.8 16.6 28.7 18.6 21.4 Imports 16,266.0 15,440.0 14,712.0 14,773.0 17,094.0 15,911.0 17,111.0 % YoY 36.5 41.8 15.7 14.4 35.0 8.8 31.2 Trade balance -791.0 852.0 3,243.0 2,273.0 490.0 1,309.0 -588.0 Tourist arrivals ('000) 1,258 1,268 1,220 1,360 1,500 1,840 1,840 % YoY 14.7 12.5 1.9 6.3 10.3 9.5 14.7 Current account balance -1,001.0 280.0 2,767.0 2,740.0 1,019.0 1,750.0 1,090.0 Balance of payments 1,412 3,589 4,270 5,822 820 2,263 1,689 FX reserves (USD bn) 151.5 154.7 163.1 171.1 168.2 172.1 174.0 Forward position (USD bn) 15,475.0 16,292.0 17,955.0 17,046.0 17,584.0 17,220.0 16,523.0 Monetary conditions (THB bn, unless specified otherwise) M1 1,173.0 1,181.4 1,175.5 1,202.3 1,235.4 1,302.4 1,326.7 % YoY 15.8 11.4 11.7 11.4 10.8 10.9 15.6 M2 10,887.1 10,968.1 11,116.1 11,323.3 11,497.6 11,776.4 11,818.5 % YoY 8.8 8.5 9.9 11.2 11.1 10.9 11.5 Bank deposits 9,974.5 10,016.0 10,091.6 10,206.0 10,392.3 10,583.4 10,607.0 % YoY 7.6 6.6 7.8 8.5 8.1 8.7 8.9 Bank loans 9,219.7 9,299.8 9,432.7 9,580.3 9,751.1 9,934.4 10,058.9 % YoY 9.1 9.8 10.8 12.1 12.2 12.5 14.4 Interest rates (% month end) BOT 1 day repo (target) 1.50 1.75 1.75 1.75 1.75 2.00 2.25 2.25 Average large banks' minimum lending rate 6.00 6.00 6.00 6.00 6.00 6.12 6.37 6.37 Average large banks' 1 year deposit rate 0.98 0.98 1.11 1.11 1.11 1.32 1.51 1.51 Govt bond yield 1yr 1.91 1.99 2.01 1.98 2.11 2.38 2.54 2.68 Govt bond yield 5yr 3.08 2.69 2.56 2.83 2.98 3.26 3.40 3.48 Govt bond yield 10yr 3.44 3.01 3.12 3.18 3.59 3.77 3.85 3.89 Key FX (month end) DXY US dollar index 81.54 83.20 78.72 77.27 81.20 79.03 77.74 76.89 USD/THB 32.24 31.27 30.35 29.94 30.21 30.06 30.93 30.60 JPY/THB 37.29 37.14 36.34 37.18 36.11 37.01 37.60 37.47 EUR/THB 42.08 39.65 41.38 41.76 39.22 40.23 42.35 42.25 Source: Bloomberg 88 8
  • 9. Disclaimer For private circulation only. The foregoing is for informational purposes only and not to be considered as an offer to buy or sell, or a solicitation of an offer to buy or sell any security. Although the information herein was obtained from sources we believe to be reliable, we do not guarantee its accuracy nor do we assume responsibility for any error or mistake contained herein. Further information on the securities referred to herein may be obtained upon request. 99 9