SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
ความหมายของเว็บไซต์(Web site)
เว็บไซต์ (อังกฤษ: website, web site, Web site) หมายถึง หน้าเว็บเพจ
หลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์ ส่วนใหญ่จัดทาขึ้นเพื่อนาเสนอข้อมูลผ่าน
คอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ หน้าแรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลักจะ
เรียกว่า โฮมเพจ เว็บไซต์โดยทั่วไปจะให้บริการต่อผู้ใช้ฟรี แต่ในขณะเดียวกันบาง
เว็บไซต์จาเป็นต้องมีการสมัครสมาชิกและเสียค่าบริการเพื่อที่จะดูข้อมูล ในเว็บไซต์นั้น
ซึ่งได้แก่ข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์ หรือข้อมูลสื่อต่างๆ ผู้ทาเว็บไซต์มี
หลากหลายระดับ ตั้งแต่สร้างเว็บไซต์ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์สาหรับธุรกิจหรือองค์กร
ต่างๆ การเรียกดูเว็บไซต์โดยทั่วไปนิยมเรียกดูผ่านซอฟต์แวร์ในลักษณะของ เว็บ
เบราว์เซอร์
ตัวอย่างเว็บไซต์มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชครินทร์
ความหมายของโฮมเพจ (Home Page)
โฮมเพจ (Home Page) คือเว็บเพจหน้าแรกซึ่งเป็นทางเข้าหลักของ
เว็บไซต์ ปกติเว็บเพจทุกๆ หน้าในเว็บไซท์จะถูกลิงค์ (โดยตรงหรือโดยอ้อมก็ตาม) มา
จากโฮมเพจ ดังนั้นบางครั้งจึงมีผู้ใช้คาว่าโฮมเพจโดยหมายถึงเว็บไซท์ทั้งหมด แต่
ความจริงแล้วโฮมเพจหมายถึงหน้าแรกเท่านั้น ถ้าเปรียบกับร้านค้า โฮมเพจก็เป็นเสมือน
หน้าร้านนั่นเอง ดังนั้นจึงมักถูกออกแบบให้โดดเด่นและน่าสนใจมากที่สุด
ความหมายของเว็บเพจ (Web Page)
เว็บเพจ (Web Page) หมายถึง หน้าเอกสารของบริการ WWW ซึ่ง
ตามปกติจะถูกเก็บอยู่ในรูปแบบไฟล์ HTML (Hyper Text Markup
Language) โดยไฟล์ HTML 1 ไฟล์ก็คือเว็บเพจ 1 หน้านั่นเอง ภายในเว็บ
เพจอาจประกอบไปด้วยข้อความ ภาพ เสียง วิดีโอ และภาพเคลื่อนไหวแบบ
มัลติมีเดีย นอกจากนี้เว็บเพจแต่ละหน้าจะมีการเชื่อมโยงหรือ “ลิงค์” (Link) กัน
เพื่อให้ผู้ชมเรียกดูเอกสารหน้าอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้สะดวกอีกด้วย
องค์ประกอบของการออกแบบเว็บไซต์ มีดังนี้คือ
1) ความเรียบง่าย ได้แก่ มีรูปแบบที่เรียบง่าย ไม่ซับซ้อน และใช้งานได้
สะดวก ไม่มีกราฟิก หรือตัวอักษรที่เคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา ชนิดและสีของตัวอักษรไม่
มากจนเกินไปทาให้วุ่นวาย
1
2) ความสม่าเสมอ ได้แก่ ใช้รูปแบบเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต์ เช่น รูปแบบ
ของหน้า สไตล์ของกราฟิก ระบบเนวิเกชันและโทนสี ควรมีความคล้ายคลึงกันตลอดทั้ง
เว็บไซต์
3) ความเป็นเอกลักษณ์การออกแบบเว็บไซต์ควรคานึงถึงอัตลักษณ์และ
ลักษณะขอองค์กรเพราะรูปแบบของเว็บไซต์จะสะท้อนถึงเอกลักษณ์และลักษณะของ
องค์กรนั้นๆเช่นถ้าเป็นเว็บไซต์ของทางราชการ จะต้องดูน่าเชื่อถือไม่เหมือนสวนสนุก
ฯลฯ
4) เนื้อหาที่มีประโยชน์ เนื้อหาเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในเว็บไซต์ ดังนั้นควร
จัดเตรียมเนื้อหาและข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการให้ถูกต้อง และสมบูรณ์ มีการปรับปรุงและ
เพิ่มเติมให้ทันเหตุการณ์อยู่เสมอ เนื้อหาไม่ควรซ้ากับเว็บไซต์อื่นจึงจะดึงดูดความสนใจ
5) ระบบเนวิเกชันที่ใช้งานง่าย ต้องออกแบบให้ผู้ใช้เข้าใจง่ายและใช้งาน
สะดวก ใช้กราฟิกที่สื่อความหมายร่วมกับคาอธิบายที่ชัดเจน มีรูปแบบและลาดับของ
รายการที่สม่าเสมอ เช่น วางไว้ตาแหน่งเดียวกันของทุกหน้า
6) ลักษณะที่น่าสนใจ หน้าตาของเว็บไซต์ต้องมีความสัมพันธ์กับคุณภาพของ
องค์ประกอบประกอบต่างๆ เช่น คุณภาพของกราฟิกที่จะต้องสมบูรณ์ การใช้สี การใช้
ตัวอักษรที่อ่านง่าย สบายตา การใช้โทนสีที่เข้ากัน ลักษณะหน้าตาที่น่าสนใจนั้นขึ้นอยู่กับ
ความชอบของแต่ละบุคคล
7) การใช้งานอย่างไม่จากัดผู้ใช้ ส่วนใหญ่สามารถเข้าถึงได้มากที่สุดเลือกใช้
บราวเซอร์ชนิดใดก็ได้ในการเข้าถึงเนื้อหาสามารถแสดงผลได้ทุกระบบปฏิบัติการและ
ความละเอียดหน้าต่างๆ กันอย่างไม่มีปัญหาเป็นลักษณะสาคัญสาหรับผู้ใช้ที่มีจานวนมาก
8) คุณภาพในการออกแบบ การออกแบบ และ การเรียบเรียงเนื้อหาอย่าง
รอบคอบสามารถสร้างความรู้สึกว่าเว็บไซต์มีคุณภาพถูกต้องและเชื่อถือได้
9) ระบบการใช้งานที่ถูกต้อง การใช้แบบฟอร์มสาหรับกรอกข้อมูลต้อง
สามารถกรอกได้จริงใช้งานได้จริงลิงค์ต่างๆจะต้องเชื่อมโยงไปหน้าที่มีอยู่จริงและถูกต้อง
ระบบการทางานต่างๆในเว็บไซต์จะต้องมีความแน่นอนและทาหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง
ทฤษฏีสี (Theory of Colors)
แม่สี อาจจาแนกออกได้เป็น 3 ประเภทคือ
แม่สีจิตวิทยา หมายถึง เป็นสีในกลุ่มที่มีอิทธิพลต่อความรู้สึก และมีผลต่อ
จิตใจของมนุษย์ กล่าวคือสีที่เราพบเห็นจะสามารถโน้มน้าวชวนให้รู้สึกตื่นเต้น โศกเศร้า
โดยมากมักใช้ในการรักษาคนไข้ได้ เช่นโรคประสาท หรือโรคทางจิต แม่สีจิตวิทยาสี 4
สีประกอบด้วย สีแดง สีเหลือง สีเขียว และสีน้าเงิน
แม่สีวิทยาศาสตร์ หมายถึง แม่สีวิทยาศาสตร์เป็นสีที่เกิดจากการสร้างหรือ
ประดิษฐ์ขึ้นจากกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่น สีของหลอดไฟ สีที่ผ่านแท่งแก้วปริซึม
ที่เกิดจากการสะท้อนและการหักเหของแสง แม่สีในกลุ่มนี้ประกอบด้วย สีแสด สีเขียว
มรกต และสีม่วง
แม่สีศิลปะ หมายถึง แม่สีศิลปะหรือบางครั้งเรียกว่า แม่สีวัตถุธาตุ หมายถึงสี
ที่ใช้ในการวาดภาพ หรือสร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะทั่วๆ ไปซึ่งเมื่อนามาผสมกันใน
ปริมาณต่างๆที่ต่างอัตราส่วนกันจะเกิดสีต่างๆมากมายให้เราได้เลือกหรือนามาใช้ในการ
สร้างสรรค์ ผลงานที่สวยงามได้ แม่สีในกลุ่มนี้ประกอบด้วย สีแดง สีเหลือง และสีน้าเงิน
3
4
วงจรสี
แม่สีศิลปะประกอบด้วย สี แดง สีเหลือง และสีน้าเงิน ซึ่งเมื่อนาแม่สีทั้งสาม
มาผสมกันในอัตราส่วนต่างๆก็จะเกิดสีขึ้นมามากมาย ซึ่งประโยชน์ จากการที่เรานาสีมา
ผสมกันทาให้เรา สามารถเลือกสีต่างๆมาใช้ได้ตามความพอใจ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะที่
งดงามตามความพอใจขอผู้สร้าง สีที่เกิดจากการนาเอาแม่สีมา ผสมกัน เกิดสีใหม่เมื่อ
นามาจัดเรียงอย่างเป็นระบบรวมเรียกว่าวงจรสี
ภาพแสดงวงจรของสีที่เกิดจากการนาแม่สีมาผสมกัน
การเกิดสีดังภาพ เกิดจากการนาเอาแม่สีมาผสมกัน ในอัตราส่วนต่างๆกันซึ่งพอสรุปได้
ดังนี้
สีขั้นที่1 (สีขั้นต้นหรือแม่สี) (Primary Color) ประกอบด้วย สี แดง สีเหลือง และสีน้า
เงิน
สีขั้นที่ 2 (Binary Color) เกิดจากการนาเอาสีขั้นที่ 1 (แม่สี) มาผสมในอัตราส่วน
เท่าๆกันประกอบด้วยสี
สีเขียว เกิดจากการนาเอา สีเหลือง กับ สีน้าเงิน มาผสมกันในอัตราส่วน
เท่าๆกัน
ส้ม เกิดจากการนาเอา สีเหลือง กับ สีแดง มาผสมกันในอัตราส่วนที่เท่าๆกัน
สีม่วง เกิดจากการนาเอา สีน้าเงิน กับ สีแดง มาผสมกันในอัตราส่วนที่
เท่าๆกัน
สีขั้นที่ 3 (Intermediate Color) เกิดจากการนาเอาสีขั้นที่ 2 ผสมกับสีขั้นต้นที่อยู่
ใกล้เคียงกันได้สีแตกต่างออกไป ได้แก่
สีเหลืองแกมเขียว เกิดจาก การผสมกันระหว่างสีเหลืองกับสีเขียวอย่างละเท่าๆกัน
สีน้าเงินแกมม่วง เกิดจากการผสมกันระหว่างสีน้าเงินกับสีม่วงอย่างละเท่าๆกัน
สีแดงแกมม่วง เกิดจากการผสมกันระหว่างสีแดงกับสีม่วงอย่างละเท่าๆกัน
สีแดงแกมส้ม เกิดจากการผสมกันระหว่างสีแดงกับสีส้มอย่างละเท่าๆกัน
สีเหลืองแกมส้ม เกิดจากการผสมกันระหว่างสีเหลืองกับสีส้มอย่างละเท่าๆกัน
สีน้าเงินแกมเขียวเกิดจากการผสมกันระหว่างสีน้าเงินกับสีเขียวอย่างละเท่าๆกัน
วรรณะของสี
จากที่ได้ศึกษาเรื่อง แม่สี ในกลุ่มต่างๆ และเรื่องวงจรสี คงพอทาให้มีพื้นฐาน
ทางการใช้สีในงานศิลปะทราบหรือไม่ว่าสีที่ผสมออกมาทั้ง 12 สีนั้น สามารถแยก
ออกเป็นสองกลุ่มตามค่าความเข้มของสี หรือที่เรียกว่าวรรณะของสี (Tone of color)
วรรณะของสีคือ ค่าความแตกต่างของสีแต่ละด้านของวงจรสีที่แสดงถึงความรู้สึกที่
แตกต่างกัน ซึ่งถ้าเปรียบเทียบกับเสียงเพลงหรือเสียงดนตรีก็คือเสียงสูง เสียงต่า ที่
5 6
แสดงออกทางอารมณ์ ที่มีการเคลื่อนไหว มีชีวิตชีวา หรือเศร้าโศกหรือรันทดใจสีที่อยู่ใน
วรรณะร้อน (Warm tone color) ได้แก่ สีเหลืองส้ม สีส้ม สีแดง และสีม่วงแดง
สีที่อยู่ในวรรณะเย็น(Cool tone color) ได้แก่ สีเขียว สีฟ้า สีม่วงคราม
ภาพที่ 2.2 ภาพกลุ่มสีวรรณะร้อนและวรรณะเย็น
สีทั้งสองวรรณะอาจจะไม่ใช่สีที่สดดั่งเช่นในวงจรสี เพราะความจริงแล้วใน
ธรรมชาติยังมีสีที่แตกต่างไปจากในวงจรสีอีกมากมาย ให้อนุมานว่าสีใดที่ค่อนไปทางสี
แดง หรือสีส้มให้ถือว่าเป็นสีวรรณะร้อน ส่วนสีที่ค่อนไปทางน้าเงิน เขียวให้อนุมาว่าเป็น
วรรณะเย็น ในการสร้างสรรค์งานศิลปะที่ต้องให้สีหลายสีในภาพอย่างอิสระ และผู้เขียน
สามารถใช้สีให้เกิดความกลมกลืนเป็นอย่างดีจนชานาญ จะเห็นว่าเรื่องของวรรณะของสี
นั้นเข้ามามีบทบาทในภาพเขียนเสมอ กล่าวคือโทนสีของภาพจะแสดงงออกไปทางใดทาง
หนึ่งของวรรณะสีเสมอ
องค์ประกอบหนึ่งที่จะนับได้ว่าเป็นภาพเขียนที่ดี คือเมื่อเขียนภาพโทนเย็นก็
มักจะเอาสีในวรรณะเย็นมาใช้เป็นส่วนมาก ส่วนภาพที่เป็นโทนร้อน ก็จะนาสีในวรรณะ
ร้อนมาใช้มากเช่นกัน ในวรรณะของสีแต่ละฝ่ายยังสามารถแยกออกเป็นอีก 2 ระยะคือ
ร้อนอย่างรุนแรง หรือเข้มข้น คือแสดงออกถึงความรุนแรงของโทนสีในภาพที่มีผลต่อ
อารมณ์ของผู้ชมอย่างแรง และ ร้อนอย่างเบาบาง คือให้ความรู้สึกที่ไม่ร้อนแรงมากอย่าง
ประเภทแรก ใช้โทนสีที่ร้อนแต่ไม่รุนแรง
ภาพเขียนที่ใช้โทนสีหรือวรรณะของสีเข้ามาเกี่ยวข้องมักแสดงความรู้สึกและ
อารมณ์ในภาพ เช่นวรรณะเย็นให้ความรู้สึก เศร้า สงบ ราบเรียบ ส่วนวรรณะร้อนให้
ความรู้สึกรื่นเริง เจิดจ้า และความขัดแย้งขึ้นอยู่กับอารมณ์ของศิลปินผู้สร้างสรรค์ผลงาน
จิตรกรผู้สร้างมีอารมณ์ใดในขณะนั้นก็มักแสดงออกมาถึงโทนสีและความรู้สึกในภาพเขียน
เช่น ปิคัสโซ่ (จิตรกรชาวสเปญ เกิดที่เมือง Malage เมื่อปี ค.ศ.1881) ซึ่งเมื่อขณะที่
เขาเป็นหนุ่มมีความรักมักสร้างผลงานในวรรณะร้อนค่อนไปทางชมพู ส่วนในช่วงที่เขาทุก
ระทม ภาพเขียนเขาจะใช้สีในวรรณะเย็นค่อนไปทางน้าเงิน รวมทั้งศิลปินต่างๆในประเทศ
ไทยเราก็สร้างสรรค์ผลงานออกมาโดยใช้ความรู้เรื่องวรรณะของสีไปใช้ในการสร้างสรรค์
เช่นเดียวกัน
ประเภทของสี
1. ค่าความเข้มหรือน้าหนักของสี
สีต่างๆ ที่เกิดขึ้นในวงจรสี หากนามาเรียงน้าหนักความอ่อนแก่ของสี หลายสี
เช่น ม่วง น้าเงิน เขียวแกมน้าเงิน เขียว และเหลืองแกมเขียว หรือ ม่วง แดง แดงส้ม
ส้ม ส้มแกมเหลือง และเหลือง หรือเรียกว่าค่าในน้าหนักของสีหลายสี (Value of
different color) สาหรับค่าความเข้มอีกประเภทหนึ่งเกิดจากการนาสีใดสีหนึ่งเพียงสี
7
8
เดียวแล้วนามาไล่น้าหนักอ่อนแก่ในตัวเอง เรียกว่าค่าน้าหนักสีเดียว (Value of single
color) ซึ่งถ้าฝึกฝนได้เป็นอย่างดีแล้ว สามารถนาความรู้จากการไล่ค่าน้าหนักนี้ไปใช้ให้
เกิดประโยชน์ได้มากในการสร้างงานจิตรกรรม
2. สีตัดกัน หรือสีตรงข้าม
สีตัดกันหรือสีตรงข้ามก็คือสีที่อยู่ตรงข้ามกันในวงจรสีนั่นเอง การที่จะทราบว่า
สีคู่ใดเป็นสีตรงข้ามกันอย่างแท้จริงหรือไม่ ให้นาเอาสีคู่นั้นมาผสมกันดู ถ้าผลการผสมกัน
ออกมาเป็นสีกลางนั้นหมายถึงว่าสีคู่นั้นเป็นคู่สีตัดกันอย่างแท้จริงวิธีการใช้สีตรงข้ามหรือสี
ตัดกันมีหลักการดังนี้
1.ปริมาณของสีที่ตัดกันกับวรรณะของสีทั้งหมดในภาพต้องอย่าเกิน 10%
ของเนื้อที่ในภาพเขียน
2.ในลักษณะการนาไปใช้ในทางประยุกต์ศิลป์ควรใช้ตามหลักเกณฑ์ดังนี้
2.1 การใช้สีตรงข้ามหรือสีตัดกัน ต้องใช้สีใดสีหนึ่งจานวน 80%
อีกฝ่ายหนึ่งต้องเป็น 20% จึงจะมีคุณค่าทางศิลปะ
2.2 หากจาเป็นต้องใช้สีคู่ใดคู่หนึ่งปริมาณเท่าๆกัน ควรต้องลดค่า
ของคู่สีลง
2.3 หากภาพเป็นลายเล็กๆ เช่น ภาพที่เต็มไปด้วยต้นไม้ใบไม้เล็ก
การใช้สีตัดกันอย่างสดๆ สลับกัน ผลคือจะผสมผสานกันเอง
2.4 หากจาเป็นต้องใช้สีตัดกันในภาพใหญ่ๆหรือพื้นที่ภาพมากๆ
และสีคู่นั้นติดกัน ควรใช้เส้นดามาคั่นหรือตัดเส้นด้วยสีดา เพื่อลดความรุนแรงของภาพ
และคู่สีได้
3. สีเอกรงค์
คือสี สีเดียวหรือสีที่แสดงออกมาเด่นเพียงสีเดียว ซึ่งเหมือนว่าจะคล้ายคลึง
กับสีสวนรวมหรือสีครอบงา แต่ที่จริงแล้วสีทั้งสองชนิดมีวิธีการที่แตกต่างกันออกไป สี
ส่วนรวมนั้นสีที่ใช้อาจเป็นสีสด หรือสีที่ลดค่าลงไปแล้ว แต่สีเอกรงค์ต้องใช้สีใดสีหนึ่งเป็น
สีสดยืนพื้นเพียงสีเดียวแล้วลดค่า น้าหนักอ่อนแก่ ในระยะต่างๆ เป็นต้น
หลักเกณฑ์คือ เมื่อเอาสีที่สดใสเป็นจุดเด่นของภาพแล้ว สีที่เป็นส่วนประกอบ
รอบๆต้องลดค่าความสดลงแล้วนาเอาสีที่จุดเด่นนั้นไปผสมด้วยบ้างทุกๆแห่งในภาพ ข้อ
สาคัญคือ สีที่จะนามาประกอบนั้นจะใช้กี่สีก็ตาม แต่โดยมากนิยมใช้ไม่เกิน 5 สี โดย
นาเอามาจากวงจรสีด้านหรือวรรณะใดวรรณะหนึ่ง ไม่นิยมนามาจากสองวรรณะ รวมทั้งสี
ที่ต้องการใช้เป็นสียืนพื้น(เอกรงค์)ด้วย เพราะสีที่อยู่ในด้านหรือวรรณะเดียวกันจะผสาน
กลมกลืนกันง่ายกว่า ตัวอย่างเช่น ถ้าเลือกสีมา 6 สีจากวงจรสีคือ เหลือง ส้ม แสด
แดงชาด แดงเลือดนก และม่วงแดง เมื่อนักเรียนจะทาเอกรงค์ของสีเหลือง ก็ใช้สีเหลือง
เป็นหลักหรือสีเด่น วางจุดใดจุดหนึ่งของภาพแล้วนาสีอื่นๆข้างต้นมาลดค่าหรือความสดใส
ลง(neutralized) โดยการนาเอาสีตรงข้างของแต่ละคู่มาผสมลงไปพอสมควร เมื่อจะ
ระบายก็นาเอาสีเหลืองที่เป็นสียืนพื้นเข้ามาผสมด้วยเล็กน้อยก็จะได้สีเอกรงค์ของสีเหลือง
ตามที่เราต้องการ
9
การสร้างสรรค์งานศิลปะด้วยสีเอกรงค์นี้จะได้ผลงานที่งดงาม เพราะ
โครงสร้างสีจะดูไม่รุนแรง เพราะว่าจะมีมีเรื่องสีตัดกันเข้าไปผสม และสีแต่ละวรรณะก็ไม่
เข้าไปปะปนซึ่งกันและกัน นับว่าเป็นงานศิลปะที่มีโครงสร้างประณีต ผลงานชิ้นเด่นๆของ
โลกก็ใช้วิธีการนี้เช่นกันข้อดีอีกอย่างหนึ่งของสีเอกรงค์คือ โครงสีจะละเมียดละไม ไม่เบื่อ
ง่ายเหมือนกับการใช้สีหลายสีมาผสมผสานกัน
4. สีส่วนรวม
สีส่วนรวมหรือสีครอบงาหมายถึงสีใดสีหนึ่งที่มีจานวนมากกว่าสีอื่นในพื้นที่หรือ
ภาพนั้นๆ เช่น ภาพต้นไม่ที่เรามองเห็นเป็นสีเขียว แต่ความจริงแล้วในสีเขียวของต้นไม้นั้น
อาจมีสีอื่นประกอบอยู่ด้วย เช่น สี เขียวอ่อน สีเหลือง สีน้าตาล เป็นต้น งานจิตรกรรม
ทั้งแนวปัจจุบันและสมัยใหม่ล้วนแล้วแต่ต้องใช้อิทธิพลของสีส่วนรวมเข้าไปเกี่ยวข้อง
ทั้งสิ้น แม้ว่าสีอื่นจะเด่นชัดในบางส่วนของภาพก็ตาม สีส่วนรวมหรือสีครอบงานี้ จะช่วย
ทาให้ภาพมีเอกภาพ และสมบูรณ์ขึ้น ตัวอย่างเช่น ภาพเขียนของศิลปินชาวอิตาเลี่ยนสมัย
โบราณ มักจะใช้สีเหลืองหรือสีน้าตาลเป็นสีครอบงาทั้งหมดภายในภาพแทบทุกชิ้น ทั้งนี้ไม่
จากัดเฉพาะสองสีที่ยกตัวอย่างมาเท่านั้นอาจเป็นสีกลุ่มอื่นๆได้ ขึ้นอยู่กับความต้องการ
ของผู้สร้างสรรค์
หลักการออกแบบเว็บไซต์
1. กาหนดเป้าหมายของเว็บไซต์ ว่าจุดมุ่งหมายที่สร้างเว็บไซต์ขึ้นมาเพื่ออะไร
คุณจะได้เตรียมข้อมูล และวางแนวทางของเว็บไซต์ได้ตรงกับเป้าหมายที่คุณวางไว้ให้มาก
ที่สุด
2. ให้ความสาคัญของการออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซต์ที่ดี จะมี
ส่วนช่วยให้เว็บไซต์ของคุณเป็นที่นิยมของนักท่องเว็บได้ เรียกว่าประทับใจตั้งแต่แรกเห็น
ทีเดียว การออกแบบเว็บไซต์ดี ๆ จึงมีส่วนสาคัญที่จะดึงดูดใจให้ผู้ใช้เข้าไปใช้บริการและ
อยู่กับเว็บไซต์นานที่สุด และกลับเข้ามาใช้บริการอีกในอนาคต
3. หาจุดเด่นของเว็บไซต์ เว็บไซต์แต่ละแห่งมีเป้าหมายที่แตกต่างกัน ถ้า
เว็บไซต์ของคุณต้องการเน้นไปทางด้านธุรกิจ คุณต้องหาจุดเด่นและความได้เปรียบเหนือ
คู่แข่งให้ได้ เพราะเว็บไซต์ก็คือ หน้าร้านของคุณนั่นเอง ลูกค้าเดินเข้าไปแล้วคุณอยากให้
เจออะไรก่อน อะไรหลังเหมือนกับการจัดโชว์สินค้าให้กับลูกค้าให้ได้ดู ได้ลองนั่นเอง
4. ความเรียบง่าย อ่านง่ายสบายตา เว็บไซต์ที่มีรูปแบบที่เรียบง่าย ไม่
ซับซ้อน และใช้งานได้อย่างสะดวก การจัดหมวดหมู่ให้กับข้อมูลภาพกราฟิกหรือตัวอักษร
และใช้สีอย่างเหมาะสม จะได้เปรียบเว็บที่สับสนวุ่นวาย
5. ความสม่าเสมอ เว็บเพจในเว็บไซต์ ต้องเป็นทิศทางเดียวกันตลอดทั้ง
เว็บไซต์
อาจจะใช้รูปแบบเดียว หรือแตกต่างบ้างระหว่างหน้าหลักกับหน้าทั่วไป
6. เนื้อหาดีมีประโยชน์ เนื้อหาถือว่าเป็นสิ่งสาคัญที่สุดสาหรับเว็บไซต์ ดังนั้น
คุณควรจัดเตรียมเนื้อหาให้กับเว็บไซต์ของคุณ โดยนาเสนอเนื้อหาที่ถูกต้อง ครบถ้วนและ
สมบูรณ์ และควรมีการปรับปรุงให้ทันต่อเหตุการณ์อยู่เสมอ
7. มีความเป็นเอกลักษณ์ รูปแบบของเว็บไซต์สามารถสะท้อนถึงเอกลักษณ์
และ
11
12
ลักษณะขององค์กรนั้นได้ เช่น การใช้ชุดสี ชนิดตัวอักษร รูปภาพและกราฟิก ที่เป็นสีของ
องค์กรนั้น ๆ เช่น เว็บไซต์การบินไทยจะเน้นสีชมพู น้าเงิน ม่วง ซึ่งเป็นสีสัญลักษณ์ของ
องค์กร เป็นต้น
8. มีระบบเนวิเกชันที่ดี (Navigator bar) เนวิเกชัน หรือระบบนาทางใน
เว็บไซต์ทุกทิศมีที่ไปมีเครื่องหมายให้ติดตาม เพื่อให้ผู้ที่เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์สามารถเลือก
ที่จะเข้าไปใช้บริการได้ตรงจุดที่สนใจได้อย่างสะดวก และสามารถที่จะย้อนกลับไปยัง
หน้าเว็บต่าง ๆ ภายใน เว็บไซต์ได้คุณอาจจะสร้างเนวิเกชันด้วยข้อความกราฟิกไว้ที่
ส่วนบนของหน้าเหนือด้านซ้ายมือของหน้า และอาจจะมีแบบข้อความไว้ที่ท้ายหน้าด้วย
พูดง่าย ๆ คือ อยู่หน้าใดแล้วสามารถที่จะย้ายไปหน้าอื่นได้ทันที
9. ระบบการใช้งานที่ถูกต้อง การทางานต่าง ๆ ในเว็บไซต์จะต้องมีความ
แน่นอน และทาหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง คุณต้องตรวจสอบลิงค์ และการแสดงผลกับ
บราวเซอร์ที่แตกต่างกันต่าง ๆถ้ามีการใส่ Script ควรมีการทดสอบให้ดีว่าสามารถใช้งาน
ได้จริง
10. ลดขนาดของภาพให้พอดี (Fixed image size) ภาพกราฟิกที่นามาใช้
ในเว็บเพจอย่างมีขนาดใหญ่จนเกินไป เพราะเวลาโหลดจะช้าและนานทาให้ผู้ชมเบื่อกับ
การรอคอย ควรใช้โปรแกรมพวก Photoshop หรือโปรแกรมตกแต่งภาพ ช่วยในการ
ปรับแต่งและช่วยลดขนาดของภาพให้เล็กลง
11. โหลดไม่ช้าหน้าไม่ยาว (Fast load) เนื้อหาภายในเว็บเพจโดยปกติไม่
ควรยาวเกิน 3 หน้าจอ ถ้าเนื้อหายาวมากคุณควรจะแยกหัวข้อหรือเพิ่มลิงค์ให้ดูหน้า
ต่อไปจะเป็นการดีกว่าเพราะถ้าหน้ายาวมากจะทาให้โหลดช้า
12. มีคาถามคาตอบ (FAQ) ทุกคาถามต้องมีคาตอบหากเกิดผู้ชมเข้าไปใช้
บริการเว็บไซต์ของคุณแล้วมีปัญหาหรือข้อสงสัยและต้องการความช่วยเหลือ คุณต้องมี
คาตอบให้ ซึ่งจะทาให้ผู้ชมรู้สึกที่ดีกับเว็บไซต์ของคุณ
13. ติดต่อสะดวก (Contact) โลโก้ ชื่อสินค้า เบอร์โทร รวมไปถึงข้อมูลที่
ใช้ติดต่อเว็บไซต์ เช่น แผนที่ อีเมล์ หรืออื่น ๆ ต้องเห็นชัด เพื่อให้ผู้ชมสามารถติดต่อกับ
เว็บไซต์ได้สะดวก
14. หมั่นปรับปรุงเว็บไซต์ให้ทันสมัยอยู่เสมอ ข้อมูลต้อง Update ให้ทันสมัย
อยู่เสมอทั้งเทคโนโลยีและความนิยมของเว็บไซต์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
แนวโน้มของการออกแบบเว็บไซต์เดี๋ยวนี้จะเหมือนกับเป็นแฟชั่นไปเสียแล้ว ถ้าเว็บของ
คุณสร้างมานาน ก็น่าจะมีการเปลี่ยนแปลงบ้าง อย่างตอนนี้ฮิตภาพเคลื่อนไหว คุณก็
น่าจะมีบ้าง แต่อย่างไรก็อย่าลืมเอกลักษณ์เดิมขององค์กรเสียทีเดียว ดังเช่น เว็บ
สถานีโทรทัศน์ไอทีวี ที่ปรับโฉมตาม Concept ที่บอกว่า “Speed& Spice” ทาให้
รูปแบบเว็บใหม่มีสีสันดังที่เห็น
ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์
กระบวนการในการพัฒนาเว็บไซต์ ดังนี้
1. สารวจปัจจัยสาคัญ (Research) ซึ่งมีปัจจัยหลัก 3 ประการดังนี้
1.1 กาหนดเป้าหมายและสารวจความพร้อมของทรัพยากรที่มีอยู่
เช่นบุคลากร เงินทุน
1.2 เรียนรู้กลุ่มผู้ชมโดยการระบุกลุ่มผู้ชมและศึกษาความ
ต้องการของกลุ่มผู้ชม
14
13
1.3 ศึกษาเว็บไซต์ของคู่แข่งโดยการสารวจและเรียนรู้เพื่อวางกล
ยุทธ์ในการแข่งขัน
2. พัฒนาเนื้อหา (Site content)
2.1 สร้างกลยุทธ์การออกแบบเพื่อให้ได้แนวทางในการออกแบบ
เว็บไซต์
2.2 หาข้อสรุปขอบเขตเนื้อหาเพื่อให้ได้ขอบเขตของเนื้อหาและ
การใช้งานรวมถึงได้ข้อมูลที่ถูกจัดอย่างเป็นระบบ
3. พัฒนาโครงสร้างเว็บไซต์ (Site structure)
3.1 จัดกลุ่มข้อมูลให้เป็นระบบเมื่อมีข้อมูลเป็นจานวนมากที่จะ
นามาใช้ในเว็บไซต์จะต้องนาข้อมูลเหล่านั้นมาจัดให้เป็นระบบเพื่อให้ได้เป็นร่างแผนผัง
โครงสร้าง (Draft architecture plan) ด้วยการทดลองใช้แนวคิดหลาย ๆ แบบ มาใช้
เป็นเกณฑ์ในการจัดกลุ่ม และลองตั้งชื่อกลุ่มข้อมูลเหล่านั้น จากนั้นให้เปรียบเทียบแนว
ทางการจัดกลุ่มข้อมูลของผู้เกี่ยวข้อง ทุกคนเพื่อหาข้อสรุปที่คนส่วนใหญ่เข้าใจได้ง่าย
ระบบโครงสร้างข้อมูลที่ดีจะมีส่วนช่วยให้ผู้ใช้เข้าใจภาพรวมของเนื้อหาได้ดี การเลือกใช้
ระบบข้อมูลแบบใดนั้นขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และแนวคิดในการจัดแบ่งข้อมูลเป็นสาคัญ
สาหรับเว็บไซต์ทั่วไปควรจะหาการตอบสนอง ความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งก็คือ ผู้ใช้อยากรู้
ว่าข้อมูลที่ต้องการนั้นอยู่ที่ไหนและจะเข้าถึงข้อมูลนั้นได้อย่างไร ดังนั้น การจัดระบบ
ข้อมูลในเว็บไซต์เพื่อให้ง่ายต่อการค้นหา จึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะช่วยส่งเสริมหรือช่วย
ขัดขวางความสาเร็จของเว็บไซต์นั้น ๆ ได้ การจัดระบบข้อมูลนั้นจึงมีผลต่อเนื่องมายัง
ระบบเนวิเกชั่น อีกด้วย
3.2 จัดทาโครงสร้างข้อมูลด้วยการทาแผนผังโครงสร้างของ
เว็บไซต์ หลังจากได้จัดกลุ่มข้อมูลเป็นระบบแล้ว และนาข้อมูลที่ได้มาจัดเป็นโครงสร้าง
เนื้อหาที่แสดงถึงกลุ่มข้อมูลและลาดับขั้นของหัวข้อ ขั้นต่อมา คือ การนารายการ
โครงสร้างของเว็บไซต์ที่ได้จัดข้อมูลไว้แล้วมาจัดให้เป็นแบบแผนโดยสร้างเป็นแผนผังที่
แสดงถึงโครงสร้างข้อมูล ลาดับขั้นและการเชื่อมโยงของแต่ละส่วนอย่างชัดเจนเรียกว่า
แผนผังโครงสร้างเว็บไซต์ ซึ่งเป็นการแสดงภาพรวมของเว็บไซต์ในเชิงกราฟิก โดยเริ่ม
จากหน้าโฮมเพจหรือหน้าเกริ่นนาไปจนถึงหน้าย่อย ๆ ทั้งหมดนอกจากนี้ยังมีการเขียน
โครงสร้างเว็บไซต์อย่างง่ายอีกรูปแบบหนึ่งที่เรียกว่า Site mapซึ่งแสดงถึงภาพรวมของ
เนื้อหาหลัก ๆ ภายในเว็บไซต์ แต่ไม่มีรายละเอียดมากเท่ากับแผนผังโครงสร้างเว็บไซต์
โดยอาจจัดทาเป็นแบบตัวหนังสือหรือแบบกราฟิกแผนผังชนิดนี้ เหมาะที่จะนาไปแสดงบน
เว็บไซต์เพื่อให้ผู้ใช้เข้าใจโครงสร้างเนื้อหาของเว็บไซต์ได้ง่ายขึ้น
3.3 พัฒนาระบบเนวิเกชั่นเพื่อวางแนวทางในการท่องเว็บ
4. ออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ (Visual design)
4.1 ออกแบบลักษณะเว็บเพจ
4.2 พัฒนาเว็บไซต์ต้นแบบและโครงสร้างเว็บไซต์ครั้งสุดท้าย
5. พัฒนาและดาเนินการ (Production and operation)
5.1 ลงมือพัฒนาเว็บเพจเพื่อให้ได้เว็บไซต์ที่สมบูรณ์
5.2 เปิดตัวเว็บไซต์
5.3 ดูแลและพัฒนาเว็บไซต์อย่างต่อเนื่อง
16
ส่วนประกอบของเว็บไซต์
เว็บไซต์โดยทั่วไปมีส่วนประกอบดังนี้
1. ชื่อของเว็บไซต์ หรือ URL (Uniform Resource Locator ) ตาแหน่ง
ที่เก็บเว็บเพจเปรียบเสมือนที่อยู่ของเว็บเพจ เมื่อต้องการเปิดเว็บเพจใด จะต้องระบุ
ตาแหน่งที่เก็บเว็บเพจนั้น หรือรหัสสืบค้นแหล่งข้อมูล ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงข้อมูลในระบบ
เวิลด์ไวด์เว็บ รูปแบบของ URL เป็นรูปแบบมาตรฐานสาหรับระบบ เวิลด์ไวด์เว็บ โดย
กาหนดให้ขึ้นต้นด้วยคา ว่า “ http:// ” หมายถึงการเชื่อมโยงกับแหล่งข้อมูล
เวิลด์ไวด์เว็บ หรือการแสดงข้อมูลแบบไฮเปอร์เท็กซ์(hypertext) รูปแบบของ URL
ประกอบด้วย http://host/path/file มีความหมายดังนี้
http หมายถึง รูปแบบการเชื่อมโยงข้อมูลแบบ hypertext
host หมายถึง ชื่อโฮสต์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อในระบบเครือข่าย
โดยให้บริการต่าง ๆ แก่ผู้ใช้ในเครือข่ายนั้น ซึ่งเป็นที่อยู่ในรูปของโดเมนเนม(domain
name) ซึ่งในโดเมนเนม (domain name) ใช้อ้างอิงแทนหมายเลขไอพี เพื่อให้
ผู้ใช้บริการคอมพิวเตอร์จดจา ได้ง่ายขึ้น จึงมีการกาหนดระบบชื่อคอมพิวเตอร์มาตรฐาน
ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตว่า ดีเอนเอส (domain Name Sever:DNS) ประกอบด้วยชื่อ
เครื่องคอมพิวเตอร์ ชื่อเครือข่ายท้องถิ่น ชื่อสับโดเมน (subdomain) สามารถแบ่ง
ประเภทของโดเมนได้ดังนี้
1) edu หรือ ac คือประเภทสถาบันการศึกษา
2) org หรือ or คือประเภทองค์กรไม่หวังผลกา ไร
3) com หรือ co คือหน่วยงานเอกชน องค์กรการค้า หรือองค์กรที่หวังผลกา
ไร
4) net หรือ in ประเภทผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
5) gov หรือ go คือประเภทหน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงานราชการ
6) mil หรือ mi คือประเภทหน่วยงานทางทหาร
ตัวอย่างเว็บไซต์ www.udru.ac.th
th หมายถึงชื่อโดเมน เป็นชื่อย่อของประเทศหรือองค์กร คือประเทศไทย
ac หมายถึง ชื่อสับโดเมนที่บอกประเภทขององค์กรสถาบันการศึกษา
udru หมายถึงเครือข่ายท้องถิ่น ที่ระบุว่าระบบดังกล่าวเป็นของมหาวิทยาลัย
ราชภัฏอุดรธานี
1817
path หมายถึง เส้นทางสา หรับกา หนดไดเร็กทอรีบนคอมพิวเตอร์ในระบบ
ยูนิกซ์
file หมายถึง ไฟล์ที่ต้องการโอนย้ายหรือไฟล์ข้อมูล
กล่าวโดยสรุปโดเมนเนม เป็นระบบชื่อคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ประกอบด้วยชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ ชื่อเครือข่ายท้องถิ่น ชื่อสับโดเมน และชื่อโดเมน เป็น
การนา เอาตัวอักษรที่จา ง่ายมาแทนไอพี แอดเดรส มักจะตั้งให้สอดคล้องกับชื่อบริษัท
หรือองค์กรผู้เป็นเจ้าของเว็บไซต์ เพื่อที่จะสะดวกในการจดจา ชื่อ
2. โฮมเพจ (homepage) เป็นคาเรียกชื่อเว็บเพจหน้าแรกสุดของข้อมูลแต่ละ
เรื่อง เปรียบ เสมือนหน้าปกของหนังสือเป็นส่วนที่บอกให้ทราบข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับ
เว็บไซต์นั้น เป็นที่เชื่อมโยงไปยังเว็บเพจอื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกเว็บไซต์ (คณิต ศา
ตะมาน, 2541)โดยทั่วไปแล้วในแต่ละเว็บไซต์จะมีโฮมเพจหรือหน้าต้อนรับ (welcome
page) ซึ่งปรากฏเป็นหน้าแรกเมื่อเปิดเว็บไซต์นั้นขึ้นมา เปรียบเสมือนกับสารบัญและคา
นา ที่เจ้าของเว็บไซต์สร้างขึ้นเพื่อใช้ประชาสัมพันธ์องค์กรของตนว่าให้บริการในสิ่งใดบ้าง
3. เว็บเพจ (webpage) เป็นองค์ประกอบหลักสาหรับการนาเสนอข้อมูลใน
ระบบเวิลด์ไวด์เว็บมีลักษณะเป็นสื่อประสม หน้าเว็บเพจหนึ่งจะมีตั้งแต่ 2-3 หน้าจนถึง
พัน ๆ หน้า และในหน้าเอกสารหนึ่งก็สามารถเชื่อมโยงไปอีกหน้าหนึ่งที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้อง
กันได้ โดยการเชื่อมข้อมูลแบบไฮเปอร์เท็กซ์ (สมนึก คีรีโต, 2538) การเชื่อมโยงบนเว็บ
เพจแต่ละเพจนั้นอาจอยู่ในลักษณะที่เป็นหัวข้อ รูปภาพรูปแบบของคา สั่งเชื่อมโยงจะอยู่
ในรูปของข้อมูลภาพหรือสัญลักษณ์รูป (icon) หรือปุ่มต่างๆ ซึ่งสามารถคลิกเพื่อเชื่อมโยง
ข้อมูลหนึ่งไปยังอีกข้อมูลหนึ่งที่เกี่ยวข้องกันได้ (Waltz 1995 )
องค์ประกอบของเว็บเพจ
ประกอบด้วยส่วนสาคัญต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
1. ข้อความ (text) เป็นลักษณะของข้อมูลอยู่ในรูปตัวอักษร ใช้ในการอธิบาย
หรือให้ข้อมูลเกี่ยวกับเว็บเพจนั้น นา เสนอสารสนเทศที่ต้องการเผยแพร่ เป็นข้อความ
ปกติ โดย เราสามารถตกแต่งให้สวยงามและมีลูกเล่นต่าง ๆ ดังเช่นโปรแกรมประมวลคา
2. กราฟิก (graphic) เป็นส่วนที่ใช้ประกอบเว็บเพจให้มีความสวยงาม ดึงดูด
ใจแก่ผู้เข้าชมเว็บไซต์ ประกอบด้วย รูปภาพ ลายเส้น ลายพื้น ต่างๆ มากมาย
3. สื่อประสม (multimedia) ประกอบด้วยรูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว และ
แฟ้มที่ช่วยเพิ่มสีสันให้เว็บไซต์สวยงามและดึงดูดใจมากขึ้น
4. เคาน์เตอร์ (counter) ใช้นับจา นวนผู้ที่เข้ามาเยี่ยมชมโฮมเพจ
19
5. คูลล์ลิงค์ (cool Links) การเชื่อมโยงใช้ในการข้อมูลไปยังจุดต่างๆ เช่น
เว็บเพจหน้าอื่นหรือการเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ต่างๆ ส่วนที่เชื่อมโยงไปยังเว็บเพจหรือ
เว็บไซต์อื่นได้คือบริเวณที่เลื่อนเมาส์เมื่อลูกศรเปลี่ยนเป็นรูปมือ หรือเปลี่ยนสีเป็นสีอื่น
6. ฟอร์ม (forms) เป็นแบบฟอร์มที่ให้ผู้เข้าเยี่ยมชม กรอกรายละเอียด แล้ว
ส่งกลับ มายังเจ้าของเว็บไซต์
7. เฟรม (frames) เป็นส่วนที่แบ่งจอภาพเป็นส่วน ๆ แต่ละส่วนก็จะแสดง
ข้อมูลที่แตกต่างกันและเป็นอิสระจากกัน เฟรมที่นิยมมี 2 ส่วน คือ กรอบทางด้านซ้าย
เป็นแถบ สารบัญ หรือแถบวิธีการเข้าหาข้อมูล (navigational bar) ส่วนกรอบทางด้าน
ขวามือมีขนาดกว้างกว่าจะเป็นข้อมูลของเว็บเพจ
8. อิมเมจ แม็ป(image maps) เป็นรูปภาพขนาดใหญ่ ที่กาหนดส่วนต่างๆ
บนรูปเพื่อเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจอื่น ๆ หรือตาแหน่งที่ต้องการ
9. โปรแกรมสาเร็จรูปต่าง ๆ ที่ใส่ลงในเว็บเพจเพื่อให้การใช้งานเว็บเพจมี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
นอกจากส่วนประกอบดังกล่าวแล้ว องค์ประกอบที่นิยมใส่ไว้ในเว็บเพจ อีก 2
ส่วนได้แก่
1) สมุดเยี่ยม (guestbook)
2 ) เว็บบอร์ด (webboard) ที่ช่วยให้เว็บเพจกลายเป็นสื่อที่มีปฏิสัมพันธ์
ระหว่างผู้ใช้กับผู้สร้าง และระหว่างผู้ใช้ด้วยกันเอง โดยอาศัยหลักการที่เรียกว่า คอมมอน
เกตเวย์ อินเตอร์เฟส (Common Gateway Interface) หรือ เรียกสั้น ๆ ว่าซีจีไอ
(CGI) โดยมีรายละเอียดดังนี้
Common Gateway Interface เป็นมาตรฐานที่ผู้ที่เข้าไปใช้ข้อมูลในเครื่อง
บริการเว็บในอินเทอร์เน็ต สามารถสืบค้นข้อมูลในฐานข้อมูลเช่น หัวข้อข่าวต่าง ๆ หรือ
บทความทางวิชาการ รายชื่อหนังสือ หรือการสมัครเป็นสมาชิกเพื่อรับบริการต่าง ๆทาง
อินเทอร์เน็ต ซึ่ง CGI จะทา หน้าที่ประมวลผลข้อมูลที่ได้จากการพิมพ์ข้อมูลของผู้เยี่ยม
ชมและแสดงผลออกมาทางเว็บเพจ ตัวอย่างเว็บไซต์ที่มีระบบการใช้งาน CGI ที่เป็นที่
รู้จักกันทั่วโลกคือ http://www.yahoo.com
ข้อควรหลีกเลี่ยงในการทาเว็บไซต์
1. เว็บไซต์แสดงผลได้ช้า
คือเว็บโหลดได้ช้ามาก ผู้ใช้งานต้องเสียเวลาในการรอให้เว็บไซต์แสดงผลนาน
ซึ่งเวลาในการแสดงผลของเว็บไซต์มีหลายปัจจัย เช่น ความสามารถของ web server ,
ความเร็วของอินเตอร์เน็ตของผู้ใช้งาน แต่ปัจจัยต่างๆนั้นเป็นแค่ปลายเหตุเท่านั้น ต้นเหตุที่
สามารถควบคุมได้อยู่ที่ขนาดของเว็บเพจ
ขนาดของเว็บเพจนั้นไม่ควรเกิน 60 KB ขนาดของเว็บเพจที่เพิ่มขึ้นมีเหตุมาจาก
รูปภาพที่ใช้มีขนาดใหญ่เกินไป , การเปิดเพลงประกอบในเว็บไซต์ (ทาให้ผู้ชมต้อง
เสียเวลาในการดาวน์โหลดเพลง แน่นอนว่าไฟล์เพลงเป็นไฟล์ที่มีขนาดใหญ่กว่า 60 KB
อยู่แล้ว) , การใช้ไฟล์ flash ที่มีขนาดใหญ่เกินไป ทั้งหมดนี้เป็นสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง
2.ไม่มีเนวิเกชัน
เนวิเกชัน คือ ส่วนที่ใช้ลิงค์ไปยังหน้าต่างๆของเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่นเมนู
ทางซ้ายมือของ hellomyweb.com จะเห็นว่ามีลิงค์ไปยังส่วนต่างๆของเว็บไซต์ เช่น
21
ลองทาเว็บไซต์ แบบง่ายๆ , พื้นฐานเกี่ยวกับเว็บไซต์
เว็บไซต์ที่ดีควรมีเนวิเกชันในทุกหน้า เพราะในปัจจุบันเราทราบดีอยู่แล้วว่ากว่า 80%
ของผู้ใช้งานรู้จักเว็บไซต์จาก search engine ซึ่งแน่นอนว่าไม่สามารถกาหนดได้ว่าให้
search engine แสดงหน้าใดให้ผู้ใช้งานดู ถ้า search engine แสดงผลในหน้าที่ไม่มี
เนวิเกชันอาจทาให้ผู้ใช้งานเข้าใจผิดได้ว่าเว็บไซต์ของคุณมีแค่หน้าที่แสดงผลเพียงหน้า
เดียว
การแสดงผลเนวิเกชันควรแสดงผลในตาแหน่งเดียวกัน เพราะถ้าเปลี่ยนตาแหน่งอาจทา
ให้ผู้ใช้งานสับสนได้
3. การใช้สีสันที่แสบตา
หลายคนคงเคยเห็นเว็บไซต์ที่ใช้สีพื้นหลังเป็นสีโทนสว่างมากๆเช่น สีส้ม สี
เหลือง แล้วใช้ตัวอักษรในโทนสว่างอีกเช่นเดียวกันเช่น สีฟ้า ทาให้การอ่านเนื้อหาในเว็บ
เพจทาได้ยากมากๆ ถึงแม้จะทาให้เว็บไซต์ดูสวยงาม ก็ควรหลีกเลี่ยง การใช้พื้นหลังโทน
มืด และตัวหนังสือโทนสว่าง เป็นตัวเลือกที่ดีในการทาเว็บไซต์ หรือพื้นหลังสีขาว
ตัวหนังสือสีดาก็เป็นสิ่งที่นิยมใช้กันมาก
4. การสะกดคาผิด
การสะกดคาผิดพลาด การเขียนผิด หรือการใช้ภาษาวิบัติ ก็ไม่ควรให้มีใน
เว็บไซต์ เพราะจะส่งผลให้เข้าใจผิดพลาดได้
5. เนื้อหาในเว็บเพจ
ผู้ใช้งานเว็บไซต์ส่วนใหญ่ไม่เคยอ่านเนื้อหาของเว็บไซต์อย่างจริงจัง หรือตั้งใจ
อ่านอย่างที่เราต้องการ ดังนั้นเราจึงควรทาให้เนื้อหาของเราอ่านได้ง่ายขึ้น เช่น ใช้การเว้น
วรรค การใส่ย่อหน้า และการเขียนให้กระชับที่สุด เน้นส่วนของข้อความที่เราต้องการสื่อ
ให้มากที่สุด
6. ขนาดของตัวอักษร และชนิดของตัวอักษร font
ในบางครั้งการแสดงตัวอักษรที่เล็กเกินไป หรือใหญ่เกินไป ขึ้นอยู่กับการตั้งค่า
ของ browser ของผู้ใช้ ก็เป็นอุปสรรคในการอ่านเนื้อหาของเว็บไซต์
ข้อแนะนาคือเราควรใช้ CSS ในการควบคุมการแสดงผลตัวอักษรให้เป็นไปในทาง
เดียวกัน จะทาให้เว็บไซต์ของเราดูดี และอ่านได้ง่ายขึ้น
7. การเว้นวรรค การเว้นบรรทัด และการจัดช่องไฟของตัวอักษร
เราสามารถใช้คาสั่ง CSS ในการจัดช่องไฟของตัวอักษรได้ การจัดช่องไฟให้
ตัวอักษร การเว้นวรรคที่ดี และการเว้นบรรทัดของเนื้อหาที่ดี ก็ทาให้เว็บไซต์ของเราดูดี
ขึ้นได้มากทีเดียว
8. การใส่เพลงประกอบเว็บไซต์ โดยที่ผู้ใช้งานไม่สามารถปิดมันได้
ถ้ามีความจาเป็นที่จะต้องใส่เพลงประกอบเว็บไซต์ อาจเพื่อจูงใจลูกค้า ต้อง
แน่ใจว่าได้ทาปุ่มสาหรับปิดเพลงนั้นไว้ โดยที่ผู้ใช้งานสามารถปิดมันได้โดยง่าย และเห็น
มันอย่างชัดเจน มิฉะนั้นเพลงที่คุณใส่ไปอาจส่งผลทาให้ผู้ใช้งานเกิดความรู้สึกหงุดหงิด
ได้
9.การทาเว็บไซต์โดยไม่ได้วางองค์ประกอบของหน้ามาก่อน
องค์ประกอบของหน้ามีความสาคัญมาก ถ้าไม่ได้วางองค์ประกอบของหน้ามา
ก่อนจะทาให้เกิดปัญหาตามมามากมาย เช่นการใส่เนื้อหาในหน้ามากเกินไป อาจเห็น
20
23
หลายเว็บไซต์ที่ใช้พื้นที่ของหน้าแทบจะทุกจุดของเว็บเพจก็ว่าได้ ซึ่งผู้ใช้งานไม่เคยตั้งใจ
อ่านเนื้อหาอย่างจริงจัง การใส่เนื้อหาที่มากไปจะทาให้ไม่สามารถสื่ออะไร หรือบอกอะไร
ได้เลย ดังนั้นจึงควรใส่เนื้อหาที่อยากจะสื่อ และแบ่งสัดส่วนต่างๆให้เป็นกลุ่มเป็นก้อนเห็น
ได้ชัดเจน รูปแบบเว็บไซต์ในแต่ละหน้าก็มีความสาคัญมาก ไม่ควรเปลี่ยนรูปแบบของ
เว็บไซต์ในแต่ละหน้าให้แตกต่างกันมากเกินไป เพราะจะทาให้ผู้ใช้งานเข้าใจผิดได้
10. การทาหน้าเว็บเพจที่ยาวเกินไป
เนื้อหาที่ยาวจนเกินไปไม่ส่งผลดีต่อเว็บไซต์แน่นอน เพราะนอกจากจะทาให้
การแสดงผลเว็บเพจนั้นช้าแล้ว ยังส่งผลผู้ใช้งานรู้สึกเบื่อด้วย ดังนั้นเราจึงควรแบ่งเนื้อหา
เป็นตอนๆ และให้ผู้ใช้งานโหลดทีละตอนจะดีกว่า
11.การทาลิงค์ที่ผิดพลาด
ลิงค์เป็นส่วนที่สาคัญมากของเว็บไซต์ เพราะจะเป็นส่วนที่นาไปยังส่วนอื่นๆ
ของเว็บไซต์ จึงควรทาให้ส่วนที่เป็นลิงค์มีความชัดเจนในตัวเอง และถ้าไม่จาเป็นไม่ควร
เปลี่ยนสีของลิงค์
12. ขณะนี้อยู่ระหว่างการปรับปรุง
คานี้ไม่ควรให้มีในเว็บเพจของเป็นอย่างยิ่ง เพราะนอกจากจะทาให้ผู้ใช้งาน
ผิดหวังที่จะต้องรอหน้าที่อยู่ระหว่างการปรับปรุงแล้ว ยังทาให้รู้สึกว่าเว็บไซต์ของยังไม่
สมบรูณ์ ยังไมได้มาตรฐาน
ตัวอย่างเว็บที่อยู่ระหว่างการปรับปรุง
13. ไม่ตรวจสอบเว็บไซต์ก่อน
การตรวจสอบเว็บไซต์เป็นสิ่งที่สาคัญมาก เพราะการแสดงผลใน browser
กับการแสดงผลตอนที่เราเขียนเว็บเพจอาจไม่เหมือนกันก็ได้ ดังนั้นจึงควรตรวจสอบเว็บ
เพจทุกหน้า ถ้าจะให้ดีควรใช้หลายๆ browser ในการตรวจสอบ
14. เนวิเกชันที่ไม่สื่อความหมาย
การใช้เนวิเกชันที่ไม่สื่อความหมาย เมื่อคลิกแล้วไม่สามารถเปิดหน้าที่ลิงค์ไว้
ได้ มีข้อผิดพลาด (error) ในเนวิเกชัน และมีหลายปุ่มให้เลือกมากเกินไป จะส่งผลต่อ
ผู้ใช้งานเป็นอย่างมาก เนวิเกชันที่ดีควรมีการแบ่งหมวดหมู่ที่ดี ไม่ซับซ้อนจนเกินไป และ
ควรครอบคลุมส่วนต่างๆของเว็บไซต์ หรือหน้าเว็บไซต์ใหญ่มาก ก็ควรครอบคลุมในหมวด
นั้นๆ การใช้คาก็เป็นเรื่องสาคัญ ควรใช้คาที่สื่อความหมายชัดเจนไม่คลุมเครือ หรือเป็น
คาที่เข้าใจกันเฉพาะกลุ่มไม่ควรใช้
15. ทาเว็บไซต์อย่างลวกๆ
การทาเว็บไซต์อย่างลวกๆ เช่น คัดลอกเนื้อหาจากเว็บไซต์อื่นมา แล้วมีการ
25
ตกหล่น หรือไม่มีภาพแสดงเหมือนเว็บไซต์ต้นฉบับ การพิมพ์ผิด หรือการเขียนข้อความที่
ไม่สื่อความหมาย การใช้ภาษาวิบัติ เนื้อหาของเว็บไซต์คือทุกอย่างของเว็บไซต์ เราจึง
ควรให้ความสาคัญกับเนื้อหาให้มากๆ อย่าให้เกิดข้อผิดพลาด หรือผิดพลาดให้น้อยที่สุด
16.ไม่เคยอัพเดทเว็บไซต์เลย
การอัพเดทเว็บไซต์เป็นประจาก็ทาให้ผู้ใช้งานเกิดความมั่นใจ ว่าเว็บไซต์ของ
เรายังมีผู้ดูแลอยู่ และเนื้อหายังได้รับการปรับปรุงอยู่ นอกจากนี้ยังส่งผลต่ออันดับใน
search engine อีกด้วย
17. จานวนคลิกเพื่อเข้าถึงข้อมูลมากเกินไป
หลายๆเว็บไซต์จะเก็บเนื้อหาในส่วนที่คิดว่าดีเอาไว้ โดยผู้ใช้งานจะต้องผ่าน
การคลิกนับครั้งไม่ถ้วน ผ่านโฆษณามากมายกว่าจะมาถึงเนื้อหาที่สนใจได้ นับว่าเป็นสิ่งที่
ผิดพลาดอย่างมาก อย่างที่บอกไปว่าเว็บของเราห่างจากเว็บอื่นเพียงคลิกเดียว ถ้าทาให้
เกิดความลาบากในการเข้าถึงเนื้อหา หรือส่วนที่ผู้ใช้งานสนใจ ก็ทาให้ผู้ใช้งานท้อ หรือ
ล้มเลิกความตั้งใจที่จะใช้งานต่อไปได้ จานวนคลิกที่มากที่สุดที่คุณควรทาคือ ไม่เกิน 3
คลิก ที่จะทาให้ผู้ใช้งานเข้าถึงส่วนที่สนใจ
18. สร้างความมั่นใจในส่วนของความปลอดภัยแก่ผู้ใช้
ถ้าเว็บไซต์เป็นเว็บไซต์ขายของ หรือทาธุรกิจต่างๆ ก็ควรสร้างความมั่นใจให้
ลูกค้าว่าจะไม่โดนหลอก เช่น การจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์ หรือไม่เปิดเผยข้อมูล
ต่างๆของลูกค้า
19. ไม่มีที่อยู่ หรือที่ติดต่อกลับ
เว็บไซต์ทางธุรกิจจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีส่วนของ ติดต่อเรา , contact
information , ที่อยู่บริษัท , เบอร์โทรศัพท์ , email สิ่งพวกนี้เป็นสิ่งจาเป็นทั้งสิ้นที่
จะต้องมีในเว็บ
20. การใช้ Free web hosting
ถ้าเป็นเว็บเกี่ยวกับธุรกิจแล้วจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีชื่อ domain name
เป็นของตัวเอง และจะต้องมี web hosting เป็นของตัวเองไม่ว่าจะเช่า หรือจะซื้อมาเอง
เราะจะส่งผลต่อความเชื่อมั่นของลูกค้า
21. การใช้ Free E-mail addresses
ในปัจจุบันมี free email มากมายเช่น hotmail , gmail แต่พวกนี้เป็นสิ่งที่
ควรหลีกเลี่ยง ควรใช้ email ที่เป็นของคุณเอง มาจาก domain name ของคุณ เรื่องนี้
เป็นสิ่งที่จาเป็นอย่างยิ่งกับความน่าเชื่อถือของ email ของคุณที่ส่งไปยังลูกค้า
22. โฆษณาที่มีมากจนเกินไป
โฆษณาเป็นรายได้หลักของเว็บไซต์บางประเภท แต่การที่ใส่โฆษณามาก
เกินไปจะส่งผลต่อเนื้อหาของเว็บไซต์ เพราะจะทาให้ผู้ใช้สับสนระหว่าง เนื้อหาที่แท้จริง
กับโฆษณาที่แทรกอยู่
ตัวอย่างเว็บที่โฆษณามากเกินไป
23. รูปภาพ
รูปภาพก็เป็นส่วนสาคัญของเว็บไซต์เราจึงควรดูและส่วนนี้ให้ดี ไม่ควรให้เกิด
การผิดพลาดในการแสดงรูปภาพ และควรบีบอัดไฟล์รูปให้ถูกต้องกับรูปแบบ ชนิดของ
ไฟล์ที่ใช้ในการบีบอัดรูปได้แก่ GIF , JPEG และ PNG ซึ่งจะใช้ฟอร์แมตใดก็ต้องทา
ความเข้าใจลักษณะในการบีบอัดข้อมูลของแต่ละฟอร์แมต เพื่อให้เสามารถเลือกใช้ได้
ถูกต้อง
1.JPEG สาหรับภาพถ่าย หรือภาพวาดที่มีจานวนสีมากๆ
2.GIF , PNG-8 สาหรับภาพที่มีลักษณะเป็นลายเส้น หรือภาพที่ไม่ต้องการให้มีพื้น
หลัง รูปที่ไม่มีการไล่สี เช่นภาพการ์ตูน ภาพที่มีจานวนสีน้อยๆ เช่น โลโก้
3.PNG ใช้กับภาพถ่ายที่ต้องการให้มีลักษณะโปร่งแสง ไฟล์ที่อัดแล้วจะมีขนาดใหญ่
กว่า JPEG แต่มีคุณภาพความคมชัดสูงกว่า
24. เว็บไซต์นี้แสดงผลได้ดีที่สุดในขนาด 1024 x 768
การกาหนดขนาดที่ใช้ในการแสดงผล หรือ browser ที่ใช้แสดงผลเป็นสิ่งที่ไม่
ควรทาเป็นอย่างยิ่ง เพราะปัจจุบันมีหน้าจอหลายรูปหลายขนาดมากมาย ตั้งแต่ 14 นิ้ว
จนถึง 20 กว่านิ้ว ทั้งแบบ wide screen และแบบทั่วไป การกาหนดขนาดแสดงผลจึง
ไม่ควรทา
25. ไม่ใส่ราคา
การไม่ใส่ราคาในเว็บไซต์ขายของ หรือแนะนาสินค้า อาจเป็นกลยุทธ์ของ
ผู้ขาย
แต่สิ่งนี้ใช้ไม่ได้ในโลกของอินเตอร์เน็ตอย่างแน่นอน เพราะถ้าเว็บไซต์ของคุณไม่บอกก็
ต้องมีเว็บไซต์อื่นที่สามารถบอกราคาได้ และลูกค้าที่เคยจะเป็นของคุณก็จะเป็นของคนอื่น
แทน
การประเมินเว็บไซต์
1 ผู้รับผิดชอบ/ผู้ผลิต / ผู้แต่ง (author) พิจารณาผู้รับผิดชอบหรือผู้ผลิต
สารสนเทศเช่น บุคคล หน่วยงานราชการ บริษัทเอกชน สถาบันการศึกษา เป็นต้น มี
ความเชี่ยวชาญด้านใด และวัตถุประสงค์ในการนาเสนอ
2 เนื้อหา (content) พิจารณาจาก
- ความเที่ยงตรง ถูกต้อง แม่นยา (accuracy) การสะกด การพิมพ์ถูกพิมพ์
ผิดตัวเลข สถิติต่างๆ และความละเอียดของสารสนเทศ (precision)
- ความทันสมัย (timeliness) วันที่ปรับปรุงข้อมูลครั้งสุดท้าย วันเวลาในการ
บันทึกสารสนเทศไว้ในอินเทอร์เน็ต วันเวลาในการรวบรวมเนื้อหา วันเวลาในการโฆษณา
และวันเวลาในการส่งอีเมล์
28
27
- ความสมบูรณ์ของเนื้อหา (completeness)
- ความสัมพันธ์กับความต้องการของผู้ใช้ (relevance) ขึ้นอยู่กับความต้อง
การของผู้ใช้แต่ละคน
- ความพอเพียงของเนื้อหา (sufficiency) ที่สามารถค้นหาสารสนเทศเรื่อง
เดียวกันได้จากหลาย ๆ เว็บไซต์ และสามารถนาข้อมูลมาเปรียบเทียบกันได้
- ความเข้าใจง่ายของเนื้อหา (understandability) การใช้ภาษาเหมาะสม
และถูกต้องกับเนื้อหาระดับความยากง่ายของศัพท์ที่ใช้ เนื้อหานั้นมีการสื่อความหมายหรือ
แปลความหมายที่เข้าใจตรงกัน มีการแบ่งหัวข้ออย่างชัดเจน มีการเรียงลา ดับเนื้อหาจาก
งายไปหายากหรือตามลา ดับเหตุการณ์
- สามารถตรวจสอบได้ (verification) จากเอกสารและเนื้อหาที่มีการ
อ้างอิงตามหลักวิชาการผู้แต่งหรือผู้รับผิดชอบข้อมูลมีการกล่าวถึงในแหล่งข้อมูลหรือ
แหล่งความรู้ใด
3 ความยุติธรรมไม่ลาเอียง (freedom from Bias)
4 คุณธรรมและจริยธรรม (morals and Virtue)
ความหมายของบทเรียนผ่านเว็บ
บทเรียนผ่านเว็บ หมายถึง การจัดสภาพการเรียนการสอนที่ได้รับการ
ออกแบบอย่างมีระบบ โดยการใช้โปรแกรมการเรียนการสอนในรูปแบบของสื่อหลายมิติที่
นาคุณสมบัติและทรัพยากรของระบบอินเทอร์เน็ตและเครื่องมือต่างๆ ของเวิลด์ไวด์เว็บมา
ใช้ประโยชน์ในการจัดสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ เชื่อมโยง
เป็นเครือข่ายได้ทุกที่ทุกเวลา โดยผ่านกลยุทธ์การเรียนการสอนในลักษณะที่ผู้เรียน
สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง และการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน โดยมีลักษณะที่
ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กัน ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงซึ่งกันและ
กัน
ประเภทของบทเรียนผ่านเว็บ
บทเรียนผ่านเว็บออกเป็น 3 ประเภท
ตามระดับความยากง่าย ดังนี้
1. บทเรียนแบบทั่วไป (Embedded WBI) เป็นบทเรียนที่นาเสนอด้วย
ข้อความและกราฟิกเป็นหลัก จัดว่าเป็นบทเรียนขั้นพื้นฐานที่พัฒนามาจากบทเรียน
คอมพิวเตอร์
ช่วยสอน ส่วนใหญ่พัฒนาขึ้นด้วยภาษา HTML (Hypertext markup language)
2. บทเรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive WBI: IWBI) เป็นบทเรียนที่
พัฒนาขึ้นจากบทเรียนประเภทแรก โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์สัมพันธ์กับผู้ใช้เป็นหลัก
นอกจากจะนาเสนอด้วยสื่อต่างๆ ทั้งข้อความ กราฟิก และภาพเคลื่อนไหวแล้ว การ
พัฒนาบทเรียนระดับนี้จึงต้องใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 4 ได้แก่ ภาษาเชิงวัตถุ
(Object-oriented programming) เช่นVisual Basic, Visual C++ รวมทั้งภาษา
HTML, Perl เป็นต้น
3. บทเรียนแบบปฏิสัมพันธ์สื่อประสม (Interactive Multimedia
WBI:IMMWBI) เป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเว็บที่นาเสนอโดยยึดคุณสมบัติทั้ง 5
26
3029
ด้านของมัลติมีเดีย ได้แก่ ข้อความ กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว การปฏิสัมพันธ์ และเสียง
จัดว่าเป็นระดับสูงสุด เนื่องจากการปฏิสัมพันธ์เพื่อการจัดการทางด้านภาพเคลื่อนไหว
และเสียงของบทเรียนโดยใช้เว็บบราวเซอร์นั้นมีความยุ่งยากมากกว่าบทเรียนที่นาเสนอ
แบบใช้งานเพียงลาพัง ผู้พัฒนาบทเรียนจะต้องใช้เทคนิคต่างๆ เข้าช่วย เพื่อให้บทเรียน
จากการมีปฏิสัมพันธ์เป็นไปด้วยความรวดเร็วและราบรื่น เช่น การเขียนคุกกี้ (Cookies)
ช่วยสื่อสารข้อมูลระหว่างเว็บเซิร์ฟเวอร์กับตัวบทเรียนที่อยู่ในไคล์เอ็นต์ ตัวอย่างของภาษา
ที่ใช้พัฒนาบทเรียนระดับนี้ได้แก่ Java, JSP, ASPและ PHP เป็นต้น
รูปแบบของบทเรียนผ่านเว็บ
จัดแบ่งโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บ (WBI) ออกเป็น 4 รูปแบบตามมิติการใช้
ประโยชน์ในการเรียนการสอน คือ
1. Information access เป็นโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บที่มุ่งประโยชน์ใน
การ
นาเสนอข้อมูลข่าวสารในการเรียนการสอน เช่น ประมวลรายวิชา (Course syllabus)
กาหนดการเรียนการสอน เนื้อหา เอกสารประกอบการสอน การบ้าน เป็นต้น
2. Interactive learning เป็นโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บที่นาเสนอบทเรียน
โดยออกแบบให้บทเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน มีการให้แรงจูงใจ มีการให้ข้อมูลย้อนกลับ
ในขั้นตอนต่างๆ ที่ผู้ใช้บทเรียนดาเนินกิจกรรมตามบทเรียนไป ซึ่งเป็นลักษณะเดียวกับ
บทเรียนคอมพิวเตอร์
ช่วยสอนเพียงแต่นาเสนอในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
3. Networked learning เป็นโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บที่เพิ่มมิติของการ
สื่อสารปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เช่น ระหว่างผู้เรียนผู้สอน ระหว่างผู้เรียนด้วยกันเอง
ตลอดกิจกรรมการเรียนการสอน
4. Material development เป็นโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บที่มีมิติของการ
ให้ผู้เรียนใช้เว็บเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล จัดโครงสร้าง และเป็นสื่อในการ
นาเสนอความรู้ที่ได้จากการเรียน
การประชาสัมพันธ์
ความหมายของการประชาสัมพันธ์คาว่า “การประชาสัมพันธ์” มาจากคาว่า
“ประชา” กับ “สัมพันธ์” ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า “public relations” หรือที่เรียก
กันทั่วไปว่า “PR” ตามคาศัพท์นี้หมายถึงการมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับประชาชน ตาม
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึงการติดต่อสื่อสาร เพื่อส่งเสริม
ความเข้าใจอันถูกต้องต่อกัน และถ้าจะขยายความหมายให้เป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น จะหมายถึง
“ความพยายามที่มีการวางแผนและเป็นการกระทาที่ต่อเนื่อง ในอันที่จะมีอิทธิพลเหนือ
ความคิดจิตใจของประชาชน กลุ่มเป้าหมายโดยการกระทาสิ่งที่ดีมีคุณค่าให้กับสังคม
เพื่อให้ประชาชนเหล่านี้เกิดทัศนคติทีดีต่อหน่วยงานกิจกรรม และบริการ หรือสินค้าของ
หน่วยงานนี้ และเพื่อที่จะได้รับการสนับสนุนและร่วมมือที่ดีจากประชาชนเหล่านี้ในระยะ
ยาว
สรุป
3231
หนังสือเล่มเล็ก.Pdf
หนังสือเล่มเล็ก.Pdf
หนังสือเล่มเล็ก.Pdf
หนังสือเล่มเล็ก.Pdf

More Related Content

Viewers also liked

CIPD Managing Talent Conference
CIPD Managing Talent ConferenceCIPD Managing Talent Conference
CIPD Managing Talent ConferenceSimon Collins
 
Cbj 2013 regulamento
Cbj 2013 regulamentoCbj 2013 regulamento
Cbj 2013 regulamentoIrã Candido
 
Music Magazine Research (Unfinished)
Music Magazine Research (Unfinished)Music Magazine Research (Unfinished)
Music Magazine Research (Unfinished)SamChittock
 
Education system based on caste / merit ?
Education system based on caste / merit ?Education system based on caste / merit ?
Education system based on caste / merit ?Harshad Velapure
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์Bank Sangsudta
 
หนัสือเล่มเล็ก
หนัสือเล่มเล็กหนัสือเล่มเล็ก
หนัสือเล่มเล็กSaowalak Kaewket
 
Significance of serum procalcitonin in sepsis
Significance   of    serum procalcitonin    in  sepsisSignificance   of    serum procalcitonin    in  sepsis
Significance of serum procalcitonin in sepsisLakshya K Solanki
 
Where the willy went
Where the willy wentWhere the willy went
Where the willy wentkhairi84
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 

Viewers also liked (16)

CIPD Managing Talent Conference
CIPD Managing Talent ConferenceCIPD Managing Talent Conference
CIPD Managing Talent Conference
 
Luisiiithoo
LuisiiithooLuisiiithoo
Luisiiithoo
 
Gesture by didin
Gesture by didinGesture by didin
Gesture by didin
 
Euroscola
EuroscolaEuroscola
Euroscola
 
Gesture by didin
Gesture by didinGesture by didin
Gesture by didin
 
Cbj 2013 regulamento
Cbj 2013 regulamentoCbj 2013 regulamento
Cbj 2013 regulamento
 
Music Magazine Research (Unfinished)
Music Magazine Research (Unfinished)Music Magazine Research (Unfinished)
Music Magazine Research (Unfinished)
 
Gesture by didin
Gesture by didinGesture by didin
Gesture by didin
 
Unit plan
Unit planUnit plan
Unit plan
 
Education system based on caste / merit ?
Education system based on caste / merit ?Education system based on caste / merit ?
Education system based on caste / merit ?
 
Cinetica chimica
Cinetica chimicaCinetica chimica
Cinetica chimica
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
 
หนัสือเล่มเล็ก
หนัสือเล่มเล็กหนัสือเล่มเล็ก
หนัสือเล่มเล็ก
 
Significance of serum procalcitonin in sepsis
Significance   of    serum procalcitonin    in  sepsisSignificance   of    serum procalcitonin    in  sepsis
Significance of serum procalcitonin in sepsis
 
Where the willy went
Where the willy wentWhere the willy went
Where the willy went
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 

หนังสือเล่มเล็ก.Pdf

  • 1. ความหมายของเว็บไซต์(Web site) เว็บไซต์ (อังกฤษ: website, web site, Web site) หมายถึง หน้าเว็บเพจ หลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์ ส่วนใหญ่จัดทาขึ้นเพื่อนาเสนอข้อมูลผ่าน คอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ หน้าแรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลักจะ เรียกว่า โฮมเพจ เว็บไซต์โดยทั่วไปจะให้บริการต่อผู้ใช้ฟรี แต่ในขณะเดียวกันบาง เว็บไซต์จาเป็นต้องมีการสมัครสมาชิกและเสียค่าบริการเพื่อที่จะดูข้อมูล ในเว็บไซต์นั้น ซึ่งได้แก่ข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์ หรือข้อมูลสื่อต่างๆ ผู้ทาเว็บไซต์มี หลากหลายระดับ ตั้งแต่สร้างเว็บไซต์ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์สาหรับธุรกิจหรือองค์กร ต่างๆ การเรียกดูเว็บไซต์โดยทั่วไปนิยมเรียกดูผ่านซอฟต์แวร์ในลักษณะของ เว็บ เบราว์เซอร์ ตัวอย่างเว็บไซต์มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชครินทร์ ความหมายของโฮมเพจ (Home Page) โฮมเพจ (Home Page) คือเว็บเพจหน้าแรกซึ่งเป็นทางเข้าหลักของ เว็บไซต์ ปกติเว็บเพจทุกๆ หน้าในเว็บไซท์จะถูกลิงค์ (โดยตรงหรือโดยอ้อมก็ตาม) มา จากโฮมเพจ ดังนั้นบางครั้งจึงมีผู้ใช้คาว่าโฮมเพจโดยหมายถึงเว็บไซท์ทั้งหมด แต่ ความจริงแล้วโฮมเพจหมายถึงหน้าแรกเท่านั้น ถ้าเปรียบกับร้านค้า โฮมเพจก็เป็นเสมือน หน้าร้านนั่นเอง ดังนั้นจึงมักถูกออกแบบให้โดดเด่นและน่าสนใจมากที่สุด ความหมายของเว็บเพจ (Web Page) เว็บเพจ (Web Page) หมายถึง หน้าเอกสารของบริการ WWW ซึ่ง ตามปกติจะถูกเก็บอยู่ในรูปแบบไฟล์ HTML (Hyper Text Markup Language) โดยไฟล์ HTML 1 ไฟล์ก็คือเว็บเพจ 1 หน้านั่นเอง ภายในเว็บ เพจอาจประกอบไปด้วยข้อความ ภาพ เสียง วิดีโอ และภาพเคลื่อนไหวแบบ มัลติมีเดีย นอกจากนี้เว็บเพจแต่ละหน้าจะมีการเชื่อมโยงหรือ “ลิงค์” (Link) กัน เพื่อให้ผู้ชมเรียกดูเอกสารหน้าอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้สะดวกอีกด้วย องค์ประกอบของการออกแบบเว็บไซต์ มีดังนี้คือ 1) ความเรียบง่าย ได้แก่ มีรูปแบบที่เรียบง่าย ไม่ซับซ้อน และใช้งานได้ สะดวก ไม่มีกราฟิก หรือตัวอักษรที่เคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา ชนิดและสีของตัวอักษรไม่ มากจนเกินไปทาให้วุ่นวาย 1
  • 2. 2) ความสม่าเสมอ ได้แก่ ใช้รูปแบบเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต์ เช่น รูปแบบ ของหน้า สไตล์ของกราฟิก ระบบเนวิเกชันและโทนสี ควรมีความคล้ายคลึงกันตลอดทั้ง เว็บไซต์ 3) ความเป็นเอกลักษณ์การออกแบบเว็บไซต์ควรคานึงถึงอัตลักษณ์และ ลักษณะขอองค์กรเพราะรูปแบบของเว็บไซต์จะสะท้อนถึงเอกลักษณ์และลักษณะของ องค์กรนั้นๆเช่นถ้าเป็นเว็บไซต์ของทางราชการ จะต้องดูน่าเชื่อถือไม่เหมือนสวนสนุก ฯลฯ 4) เนื้อหาที่มีประโยชน์ เนื้อหาเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในเว็บไซต์ ดังนั้นควร จัดเตรียมเนื้อหาและข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการให้ถูกต้อง และสมบูรณ์ มีการปรับปรุงและ เพิ่มเติมให้ทันเหตุการณ์อยู่เสมอ เนื้อหาไม่ควรซ้ากับเว็บไซต์อื่นจึงจะดึงดูดความสนใจ 5) ระบบเนวิเกชันที่ใช้งานง่าย ต้องออกแบบให้ผู้ใช้เข้าใจง่ายและใช้งาน สะดวก ใช้กราฟิกที่สื่อความหมายร่วมกับคาอธิบายที่ชัดเจน มีรูปแบบและลาดับของ รายการที่สม่าเสมอ เช่น วางไว้ตาแหน่งเดียวกันของทุกหน้า 6) ลักษณะที่น่าสนใจ หน้าตาของเว็บไซต์ต้องมีความสัมพันธ์กับคุณภาพของ องค์ประกอบประกอบต่างๆ เช่น คุณภาพของกราฟิกที่จะต้องสมบูรณ์ การใช้สี การใช้ ตัวอักษรที่อ่านง่าย สบายตา การใช้โทนสีที่เข้ากัน ลักษณะหน้าตาที่น่าสนใจนั้นขึ้นอยู่กับ ความชอบของแต่ละบุคคล 7) การใช้งานอย่างไม่จากัดผู้ใช้ ส่วนใหญ่สามารถเข้าถึงได้มากที่สุดเลือกใช้ บราวเซอร์ชนิดใดก็ได้ในการเข้าถึงเนื้อหาสามารถแสดงผลได้ทุกระบบปฏิบัติการและ ความละเอียดหน้าต่างๆ กันอย่างไม่มีปัญหาเป็นลักษณะสาคัญสาหรับผู้ใช้ที่มีจานวนมาก 8) คุณภาพในการออกแบบ การออกแบบ และ การเรียบเรียงเนื้อหาอย่าง รอบคอบสามารถสร้างความรู้สึกว่าเว็บไซต์มีคุณภาพถูกต้องและเชื่อถือได้ 9) ระบบการใช้งานที่ถูกต้อง การใช้แบบฟอร์มสาหรับกรอกข้อมูลต้อง สามารถกรอกได้จริงใช้งานได้จริงลิงค์ต่างๆจะต้องเชื่อมโยงไปหน้าที่มีอยู่จริงและถูกต้อง ระบบการทางานต่างๆในเว็บไซต์จะต้องมีความแน่นอนและทาหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง ทฤษฏีสี (Theory of Colors) แม่สี อาจจาแนกออกได้เป็น 3 ประเภทคือ แม่สีจิตวิทยา หมายถึง เป็นสีในกลุ่มที่มีอิทธิพลต่อความรู้สึก และมีผลต่อ จิตใจของมนุษย์ กล่าวคือสีที่เราพบเห็นจะสามารถโน้มน้าวชวนให้รู้สึกตื่นเต้น โศกเศร้า โดยมากมักใช้ในการรักษาคนไข้ได้ เช่นโรคประสาท หรือโรคทางจิต แม่สีจิตวิทยาสี 4 สีประกอบด้วย สีแดง สีเหลือง สีเขียว และสีน้าเงิน แม่สีวิทยาศาสตร์ หมายถึง แม่สีวิทยาศาสตร์เป็นสีที่เกิดจากการสร้างหรือ ประดิษฐ์ขึ้นจากกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่น สีของหลอดไฟ สีที่ผ่านแท่งแก้วปริซึม ที่เกิดจากการสะท้อนและการหักเหของแสง แม่สีในกลุ่มนี้ประกอบด้วย สีแสด สีเขียว มรกต และสีม่วง แม่สีศิลปะ หมายถึง แม่สีศิลปะหรือบางครั้งเรียกว่า แม่สีวัตถุธาตุ หมายถึงสี ที่ใช้ในการวาดภาพ หรือสร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะทั่วๆ ไปซึ่งเมื่อนามาผสมกันใน ปริมาณต่างๆที่ต่างอัตราส่วนกันจะเกิดสีต่างๆมากมายให้เราได้เลือกหรือนามาใช้ในการ สร้างสรรค์ ผลงานที่สวยงามได้ แม่สีในกลุ่มนี้ประกอบด้วย สีแดง สีเหลือง และสีน้าเงิน 3 4
  • 3. วงจรสี แม่สีศิลปะประกอบด้วย สี แดง สีเหลือง และสีน้าเงิน ซึ่งเมื่อนาแม่สีทั้งสาม มาผสมกันในอัตราส่วนต่างๆก็จะเกิดสีขึ้นมามากมาย ซึ่งประโยชน์ จากการที่เรานาสีมา ผสมกันทาให้เรา สามารถเลือกสีต่างๆมาใช้ได้ตามความพอใจ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะที่ งดงามตามความพอใจขอผู้สร้าง สีที่เกิดจากการนาเอาแม่สีมา ผสมกัน เกิดสีใหม่เมื่อ นามาจัดเรียงอย่างเป็นระบบรวมเรียกว่าวงจรสี ภาพแสดงวงจรของสีที่เกิดจากการนาแม่สีมาผสมกัน การเกิดสีดังภาพ เกิดจากการนาเอาแม่สีมาผสมกัน ในอัตราส่วนต่างๆกันซึ่งพอสรุปได้ ดังนี้ สีขั้นที่1 (สีขั้นต้นหรือแม่สี) (Primary Color) ประกอบด้วย สี แดง สีเหลือง และสีน้า เงิน สีขั้นที่ 2 (Binary Color) เกิดจากการนาเอาสีขั้นที่ 1 (แม่สี) มาผสมในอัตราส่วน เท่าๆกันประกอบด้วยสี สีเขียว เกิดจากการนาเอา สีเหลือง กับ สีน้าเงิน มาผสมกันในอัตราส่วน เท่าๆกัน ส้ม เกิดจากการนาเอา สีเหลือง กับ สีแดง มาผสมกันในอัตราส่วนที่เท่าๆกัน สีม่วง เกิดจากการนาเอา สีน้าเงิน กับ สีแดง มาผสมกันในอัตราส่วนที่ เท่าๆกัน สีขั้นที่ 3 (Intermediate Color) เกิดจากการนาเอาสีขั้นที่ 2 ผสมกับสีขั้นต้นที่อยู่ ใกล้เคียงกันได้สีแตกต่างออกไป ได้แก่ สีเหลืองแกมเขียว เกิดจาก การผสมกันระหว่างสีเหลืองกับสีเขียวอย่างละเท่าๆกัน สีน้าเงินแกมม่วง เกิดจากการผสมกันระหว่างสีน้าเงินกับสีม่วงอย่างละเท่าๆกัน สีแดงแกมม่วง เกิดจากการผสมกันระหว่างสีแดงกับสีม่วงอย่างละเท่าๆกัน สีแดงแกมส้ม เกิดจากการผสมกันระหว่างสีแดงกับสีส้มอย่างละเท่าๆกัน สีเหลืองแกมส้ม เกิดจากการผสมกันระหว่างสีเหลืองกับสีส้มอย่างละเท่าๆกัน สีน้าเงินแกมเขียวเกิดจากการผสมกันระหว่างสีน้าเงินกับสีเขียวอย่างละเท่าๆกัน วรรณะของสี จากที่ได้ศึกษาเรื่อง แม่สี ในกลุ่มต่างๆ และเรื่องวงจรสี คงพอทาให้มีพื้นฐาน ทางการใช้สีในงานศิลปะทราบหรือไม่ว่าสีที่ผสมออกมาทั้ง 12 สีนั้น สามารถแยก ออกเป็นสองกลุ่มตามค่าความเข้มของสี หรือที่เรียกว่าวรรณะของสี (Tone of color) วรรณะของสีคือ ค่าความแตกต่างของสีแต่ละด้านของวงจรสีที่แสดงถึงความรู้สึกที่ แตกต่างกัน ซึ่งถ้าเปรียบเทียบกับเสียงเพลงหรือเสียงดนตรีก็คือเสียงสูง เสียงต่า ที่ 5 6
  • 4. แสดงออกทางอารมณ์ ที่มีการเคลื่อนไหว มีชีวิตชีวา หรือเศร้าโศกหรือรันทดใจสีที่อยู่ใน วรรณะร้อน (Warm tone color) ได้แก่ สีเหลืองส้ม สีส้ม สีแดง และสีม่วงแดง สีที่อยู่ในวรรณะเย็น(Cool tone color) ได้แก่ สีเขียว สีฟ้า สีม่วงคราม ภาพที่ 2.2 ภาพกลุ่มสีวรรณะร้อนและวรรณะเย็น สีทั้งสองวรรณะอาจจะไม่ใช่สีที่สดดั่งเช่นในวงจรสี เพราะความจริงแล้วใน ธรรมชาติยังมีสีที่แตกต่างไปจากในวงจรสีอีกมากมาย ให้อนุมานว่าสีใดที่ค่อนไปทางสี แดง หรือสีส้มให้ถือว่าเป็นสีวรรณะร้อน ส่วนสีที่ค่อนไปทางน้าเงิน เขียวให้อนุมาว่าเป็น วรรณะเย็น ในการสร้างสรรค์งานศิลปะที่ต้องให้สีหลายสีในภาพอย่างอิสระ และผู้เขียน สามารถใช้สีให้เกิดความกลมกลืนเป็นอย่างดีจนชานาญ จะเห็นว่าเรื่องของวรรณะของสี นั้นเข้ามามีบทบาทในภาพเขียนเสมอ กล่าวคือโทนสีของภาพจะแสดงงออกไปทางใดทาง หนึ่งของวรรณะสีเสมอ องค์ประกอบหนึ่งที่จะนับได้ว่าเป็นภาพเขียนที่ดี คือเมื่อเขียนภาพโทนเย็นก็ มักจะเอาสีในวรรณะเย็นมาใช้เป็นส่วนมาก ส่วนภาพที่เป็นโทนร้อน ก็จะนาสีในวรรณะ ร้อนมาใช้มากเช่นกัน ในวรรณะของสีแต่ละฝ่ายยังสามารถแยกออกเป็นอีก 2 ระยะคือ ร้อนอย่างรุนแรง หรือเข้มข้น คือแสดงออกถึงความรุนแรงของโทนสีในภาพที่มีผลต่อ อารมณ์ของผู้ชมอย่างแรง และ ร้อนอย่างเบาบาง คือให้ความรู้สึกที่ไม่ร้อนแรงมากอย่าง ประเภทแรก ใช้โทนสีที่ร้อนแต่ไม่รุนแรง ภาพเขียนที่ใช้โทนสีหรือวรรณะของสีเข้ามาเกี่ยวข้องมักแสดงความรู้สึกและ อารมณ์ในภาพ เช่นวรรณะเย็นให้ความรู้สึก เศร้า สงบ ราบเรียบ ส่วนวรรณะร้อนให้ ความรู้สึกรื่นเริง เจิดจ้า และความขัดแย้งขึ้นอยู่กับอารมณ์ของศิลปินผู้สร้างสรรค์ผลงาน จิตรกรผู้สร้างมีอารมณ์ใดในขณะนั้นก็มักแสดงออกมาถึงโทนสีและความรู้สึกในภาพเขียน เช่น ปิคัสโซ่ (จิตรกรชาวสเปญ เกิดที่เมือง Malage เมื่อปี ค.ศ.1881) ซึ่งเมื่อขณะที่ เขาเป็นหนุ่มมีความรักมักสร้างผลงานในวรรณะร้อนค่อนไปทางชมพู ส่วนในช่วงที่เขาทุก ระทม ภาพเขียนเขาจะใช้สีในวรรณะเย็นค่อนไปทางน้าเงิน รวมทั้งศิลปินต่างๆในประเทศ ไทยเราก็สร้างสรรค์ผลงานออกมาโดยใช้ความรู้เรื่องวรรณะของสีไปใช้ในการสร้างสรรค์ เช่นเดียวกัน ประเภทของสี 1. ค่าความเข้มหรือน้าหนักของสี สีต่างๆ ที่เกิดขึ้นในวงจรสี หากนามาเรียงน้าหนักความอ่อนแก่ของสี หลายสี เช่น ม่วง น้าเงิน เขียวแกมน้าเงิน เขียว และเหลืองแกมเขียว หรือ ม่วง แดง แดงส้ม ส้ม ส้มแกมเหลือง และเหลือง หรือเรียกว่าค่าในน้าหนักของสีหลายสี (Value of different color) สาหรับค่าความเข้มอีกประเภทหนึ่งเกิดจากการนาสีใดสีหนึ่งเพียงสี 7 8
  • 5. เดียวแล้วนามาไล่น้าหนักอ่อนแก่ในตัวเอง เรียกว่าค่าน้าหนักสีเดียว (Value of single color) ซึ่งถ้าฝึกฝนได้เป็นอย่างดีแล้ว สามารถนาความรู้จากการไล่ค่าน้าหนักนี้ไปใช้ให้ เกิดประโยชน์ได้มากในการสร้างงานจิตรกรรม 2. สีตัดกัน หรือสีตรงข้าม สีตัดกันหรือสีตรงข้ามก็คือสีที่อยู่ตรงข้ามกันในวงจรสีนั่นเอง การที่จะทราบว่า สีคู่ใดเป็นสีตรงข้ามกันอย่างแท้จริงหรือไม่ ให้นาเอาสีคู่นั้นมาผสมกันดู ถ้าผลการผสมกัน ออกมาเป็นสีกลางนั้นหมายถึงว่าสีคู่นั้นเป็นคู่สีตัดกันอย่างแท้จริงวิธีการใช้สีตรงข้ามหรือสี ตัดกันมีหลักการดังนี้ 1.ปริมาณของสีที่ตัดกันกับวรรณะของสีทั้งหมดในภาพต้องอย่าเกิน 10% ของเนื้อที่ในภาพเขียน 2.ในลักษณะการนาไปใช้ในทางประยุกต์ศิลป์ควรใช้ตามหลักเกณฑ์ดังนี้ 2.1 การใช้สีตรงข้ามหรือสีตัดกัน ต้องใช้สีใดสีหนึ่งจานวน 80% อีกฝ่ายหนึ่งต้องเป็น 20% จึงจะมีคุณค่าทางศิลปะ 2.2 หากจาเป็นต้องใช้สีคู่ใดคู่หนึ่งปริมาณเท่าๆกัน ควรต้องลดค่า ของคู่สีลง 2.3 หากภาพเป็นลายเล็กๆ เช่น ภาพที่เต็มไปด้วยต้นไม้ใบไม้เล็ก การใช้สีตัดกันอย่างสดๆ สลับกัน ผลคือจะผสมผสานกันเอง 2.4 หากจาเป็นต้องใช้สีตัดกันในภาพใหญ่ๆหรือพื้นที่ภาพมากๆ และสีคู่นั้นติดกัน ควรใช้เส้นดามาคั่นหรือตัดเส้นด้วยสีดา เพื่อลดความรุนแรงของภาพ และคู่สีได้ 3. สีเอกรงค์ คือสี สีเดียวหรือสีที่แสดงออกมาเด่นเพียงสีเดียว ซึ่งเหมือนว่าจะคล้ายคลึง กับสีสวนรวมหรือสีครอบงา แต่ที่จริงแล้วสีทั้งสองชนิดมีวิธีการที่แตกต่างกันออกไป สี ส่วนรวมนั้นสีที่ใช้อาจเป็นสีสด หรือสีที่ลดค่าลงไปแล้ว แต่สีเอกรงค์ต้องใช้สีใดสีหนึ่งเป็น สีสดยืนพื้นเพียงสีเดียวแล้วลดค่า น้าหนักอ่อนแก่ ในระยะต่างๆ เป็นต้น หลักเกณฑ์คือ เมื่อเอาสีที่สดใสเป็นจุดเด่นของภาพแล้ว สีที่เป็นส่วนประกอบ รอบๆต้องลดค่าความสดลงแล้วนาเอาสีที่จุดเด่นนั้นไปผสมด้วยบ้างทุกๆแห่งในภาพ ข้อ สาคัญคือ สีที่จะนามาประกอบนั้นจะใช้กี่สีก็ตาม แต่โดยมากนิยมใช้ไม่เกิน 5 สี โดย นาเอามาจากวงจรสีด้านหรือวรรณะใดวรรณะหนึ่ง ไม่นิยมนามาจากสองวรรณะ รวมทั้งสี ที่ต้องการใช้เป็นสียืนพื้น(เอกรงค์)ด้วย เพราะสีที่อยู่ในด้านหรือวรรณะเดียวกันจะผสาน กลมกลืนกันง่ายกว่า ตัวอย่างเช่น ถ้าเลือกสีมา 6 สีจากวงจรสีคือ เหลือง ส้ม แสด แดงชาด แดงเลือดนก และม่วงแดง เมื่อนักเรียนจะทาเอกรงค์ของสีเหลือง ก็ใช้สีเหลือง เป็นหลักหรือสีเด่น วางจุดใดจุดหนึ่งของภาพแล้วนาสีอื่นๆข้างต้นมาลดค่าหรือความสดใส ลง(neutralized) โดยการนาเอาสีตรงข้างของแต่ละคู่มาผสมลงไปพอสมควร เมื่อจะ ระบายก็นาเอาสีเหลืองที่เป็นสียืนพื้นเข้ามาผสมด้วยเล็กน้อยก็จะได้สีเอกรงค์ของสีเหลือง ตามที่เราต้องการ 9
  • 6. การสร้างสรรค์งานศิลปะด้วยสีเอกรงค์นี้จะได้ผลงานที่งดงาม เพราะ โครงสร้างสีจะดูไม่รุนแรง เพราะว่าจะมีมีเรื่องสีตัดกันเข้าไปผสม และสีแต่ละวรรณะก็ไม่ เข้าไปปะปนซึ่งกันและกัน นับว่าเป็นงานศิลปะที่มีโครงสร้างประณีต ผลงานชิ้นเด่นๆของ โลกก็ใช้วิธีการนี้เช่นกันข้อดีอีกอย่างหนึ่งของสีเอกรงค์คือ โครงสีจะละเมียดละไม ไม่เบื่อ ง่ายเหมือนกับการใช้สีหลายสีมาผสมผสานกัน 4. สีส่วนรวม สีส่วนรวมหรือสีครอบงาหมายถึงสีใดสีหนึ่งที่มีจานวนมากกว่าสีอื่นในพื้นที่หรือ ภาพนั้นๆ เช่น ภาพต้นไม่ที่เรามองเห็นเป็นสีเขียว แต่ความจริงแล้วในสีเขียวของต้นไม้นั้น อาจมีสีอื่นประกอบอยู่ด้วย เช่น สี เขียวอ่อน สีเหลือง สีน้าตาล เป็นต้น งานจิตรกรรม ทั้งแนวปัจจุบันและสมัยใหม่ล้วนแล้วแต่ต้องใช้อิทธิพลของสีส่วนรวมเข้าไปเกี่ยวข้อง ทั้งสิ้น แม้ว่าสีอื่นจะเด่นชัดในบางส่วนของภาพก็ตาม สีส่วนรวมหรือสีครอบงานี้ จะช่วย ทาให้ภาพมีเอกภาพ และสมบูรณ์ขึ้น ตัวอย่างเช่น ภาพเขียนของศิลปินชาวอิตาเลี่ยนสมัย โบราณ มักจะใช้สีเหลืองหรือสีน้าตาลเป็นสีครอบงาทั้งหมดภายในภาพแทบทุกชิ้น ทั้งนี้ไม่ จากัดเฉพาะสองสีที่ยกตัวอย่างมาเท่านั้นอาจเป็นสีกลุ่มอื่นๆได้ ขึ้นอยู่กับความต้องการ ของผู้สร้างสรรค์ หลักการออกแบบเว็บไซต์ 1. กาหนดเป้าหมายของเว็บไซต์ ว่าจุดมุ่งหมายที่สร้างเว็บไซต์ขึ้นมาเพื่ออะไร คุณจะได้เตรียมข้อมูล และวางแนวทางของเว็บไซต์ได้ตรงกับเป้าหมายที่คุณวางไว้ให้มาก ที่สุด 2. ให้ความสาคัญของการออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซต์ที่ดี จะมี ส่วนช่วยให้เว็บไซต์ของคุณเป็นที่นิยมของนักท่องเว็บได้ เรียกว่าประทับใจตั้งแต่แรกเห็น ทีเดียว การออกแบบเว็บไซต์ดี ๆ จึงมีส่วนสาคัญที่จะดึงดูดใจให้ผู้ใช้เข้าไปใช้บริการและ อยู่กับเว็บไซต์นานที่สุด และกลับเข้ามาใช้บริการอีกในอนาคต 3. หาจุดเด่นของเว็บไซต์ เว็บไซต์แต่ละแห่งมีเป้าหมายที่แตกต่างกัน ถ้า เว็บไซต์ของคุณต้องการเน้นไปทางด้านธุรกิจ คุณต้องหาจุดเด่นและความได้เปรียบเหนือ คู่แข่งให้ได้ เพราะเว็บไซต์ก็คือ หน้าร้านของคุณนั่นเอง ลูกค้าเดินเข้าไปแล้วคุณอยากให้ เจออะไรก่อน อะไรหลังเหมือนกับการจัดโชว์สินค้าให้กับลูกค้าให้ได้ดู ได้ลองนั่นเอง 4. ความเรียบง่าย อ่านง่ายสบายตา เว็บไซต์ที่มีรูปแบบที่เรียบง่าย ไม่ ซับซ้อน และใช้งานได้อย่างสะดวก การจัดหมวดหมู่ให้กับข้อมูลภาพกราฟิกหรือตัวอักษร และใช้สีอย่างเหมาะสม จะได้เปรียบเว็บที่สับสนวุ่นวาย 5. ความสม่าเสมอ เว็บเพจในเว็บไซต์ ต้องเป็นทิศทางเดียวกันตลอดทั้ง เว็บไซต์ อาจจะใช้รูปแบบเดียว หรือแตกต่างบ้างระหว่างหน้าหลักกับหน้าทั่วไป 6. เนื้อหาดีมีประโยชน์ เนื้อหาถือว่าเป็นสิ่งสาคัญที่สุดสาหรับเว็บไซต์ ดังนั้น คุณควรจัดเตรียมเนื้อหาให้กับเว็บไซต์ของคุณ โดยนาเสนอเนื้อหาที่ถูกต้อง ครบถ้วนและ สมบูรณ์ และควรมีการปรับปรุงให้ทันต่อเหตุการณ์อยู่เสมอ 7. มีความเป็นเอกลักษณ์ รูปแบบของเว็บไซต์สามารถสะท้อนถึงเอกลักษณ์ และ 11 12
  • 7. ลักษณะขององค์กรนั้นได้ เช่น การใช้ชุดสี ชนิดตัวอักษร รูปภาพและกราฟิก ที่เป็นสีของ องค์กรนั้น ๆ เช่น เว็บไซต์การบินไทยจะเน้นสีชมพู น้าเงิน ม่วง ซึ่งเป็นสีสัญลักษณ์ของ องค์กร เป็นต้น 8. มีระบบเนวิเกชันที่ดี (Navigator bar) เนวิเกชัน หรือระบบนาทางใน เว็บไซต์ทุกทิศมีที่ไปมีเครื่องหมายให้ติดตาม เพื่อให้ผู้ที่เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์สามารถเลือก ที่จะเข้าไปใช้บริการได้ตรงจุดที่สนใจได้อย่างสะดวก และสามารถที่จะย้อนกลับไปยัง หน้าเว็บต่าง ๆ ภายใน เว็บไซต์ได้คุณอาจจะสร้างเนวิเกชันด้วยข้อความกราฟิกไว้ที่ ส่วนบนของหน้าเหนือด้านซ้ายมือของหน้า และอาจจะมีแบบข้อความไว้ที่ท้ายหน้าด้วย พูดง่าย ๆ คือ อยู่หน้าใดแล้วสามารถที่จะย้ายไปหน้าอื่นได้ทันที 9. ระบบการใช้งานที่ถูกต้อง การทางานต่าง ๆ ในเว็บไซต์จะต้องมีความ แน่นอน และทาหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง คุณต้องตรวจสอบลิงค์ และการแสดงผลกับ บราวเซอร์ที่แตกต่างกันต่าง ๆถ้ามีการใส่ Script ควรมีการทดสอบให้ดีว่าสามารถใช้งาน ได้จริง 10. ลดขนาดของภาพให้พอดี (Fixed image size) ภาพกราฟิกที่นามาใช้ ในเว็บเพจอย่างมีขนาดใหญ่จนเกินไป เพราะเวลาโหลดจะช้าและนานทาให้ผู้ชมเบื่อกับ การรอคอย ควรใช้โปรแกรมพวก Photoshop หรือโปรแกรมตกแต่งภาพ ช่วยในการ ปรับแต่งและช่วยลดขนาดของภาพให้เล็กลง 11. โหลดไม่ช้าหน้าไม่ยาว (Fast load) เนื้อหาภายในเว็บเพจโดยปกติไม่ ควรยาวเกิน 3 หน้าจอ ถ้าเนื้อหายาวมากคุณควรจะแยกหัวข้อหรือเพิ่มลิงค์ให้ดูหน้า ต่อไปจะเป็นการดีกว่าเพราะถ้าหน้ายาวมากจะทาให้โหลดช้า 12. มีคาถามคาตอบ (FAQ) ทุกคาถามต้องมีคาตอบหากเกิดผู้ชมเข้าไปใช้ บริการเว็บไซต์ของคุณแล้วมีปัญหาหรือข้อสงสัยและต้องการความช่วยเหลือ คุณต้องมี คาตอบให้ ซึ่งจะทาให้ผู้ชมรู้สึกที่ดีกับเว็บไซต์ของคุณ 13. ติดต่อสะดวก (Contact) โลโก้ ชื่อสินค้า เบอร์โทร รวมไปถึงข้อมูลที่ ใช้ติดต่อเว็บไซต์ เช่น แผนที่ อีเมล์ หรืออื่น ๆ ต้องเห็นชัด เพื่อให้ผู้ชมสามารถติดต่อกับ เว็บไซต์ได้สะดวก 14. หมั่นปรับปรุงเว็บไซต์ให้ทันสมัยอยู่เสมอ ข้อมูลต้อง Update ให้ทันสมัย อยู่เสมอทั้งเทคโนโลยีและความนิยมของเว็บไซต์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว แนวโน้มของการออกแบบเว็บไซต์เดี๋ยวนี้จะเหมือนกับเป็นแฟชั่นไปเสียแล้ว ถ้าเว็บของ คุณสร้างมานาน ก็น่าจะมีการเปลี่ยนแปลงบ้าง อย่างตอนนี้ฮิตภาพเคลื่อนไหว คุณก็ น่าจะมีบ้าง แต่อย่างไรก็อย่าลืมเอกลักษณ์เดิมขององค์กรเสียทีเดียว ดังเช่น เว็บ สถานีโทรทัศน์ไอทีวี ที่ปรับโฉมตาม Concept ที่บอกว่า “Speed& Spice” ทาให้ รูปแบบเว็บใหม่มีสีสันดังที่เห็น ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ กระบวนการในการพัฒนาเว็บไซต์ ดังนี้ 1. สารวจปัจจัยสาคัญ (Research) ซึ่งมีปัจจัยหลัก 3 ประการดังนี้ 1.1 กาหนดเป้าหมายและสารวจความพร้อมของทรัพยากรที่มีอยู่ เช่นบุคลากร เงินทุน 1.2 เรียนรู้กลุ่มผู้ชมโดยการระบุกลุ่มผู้ชมและศึกษาความ ต้องการของกลุ่มผู้ชม 14 13
  • 8. 1.3 ศึกษาเว็บไซต์ของคู่แข่งโดยการสารวจและเรียนรู้เพื่อวางกล ยุทธ์ในการแข่งขัน 2. พัฒนาเนื้อหา (Site content) 2.1 สร้างกลยุทธ์การออกแบบเพื่อให้ได้แนวทางในการออกแบบ เว็บไซต์ 2.2 หาข้อสรุปขอบเขตเนื้อหาเพื่อให้ได้ขอบเขตของเนื้อหาและ การใช้งานรวมถึงได้ข้อมูลที่ถูกจัดอย่างเป็นระบบ 3. พัฒนาโครงสร้างเว็บไซต์ (Site structure) 3.1 จัดกลุ่มข้อมูลให้เป็นระบบเมื่อมีข้อมูลเป็นจานวนมากที่จะ นามาใช้ในเว็บไซต์จะต้องนาข้อมูลเหล่านั้นมาจัดให้เป็นระบบเพื่อให้ได้เป็นร่างแผนผัง โครงสร้าง (Draft architecture plan) ด้วยการทดลองใช้แนวคิดหลาย ๆ แบบ มาใช้ เป็นเกณฑ์ในการจัดกลุ่ม และลองตั้งชื่อกลุ่มข้อมูลเหล่านั้น จากนั้นให้เปรียบเทียบแนว ทางการจัดกลุ่มข้อมูลของผู้เกี่ยวข้อง ทุกคนเพื่อหาข้อสรุปที่คนส่วนใหญ่เข้าใจได้ง่าย ระบบโครงสร้างข้อมูลที่ดีจะมีส่วนช่วยให้ผู้ใช้เข้าใจภาพรวมของเนื้อหาได้ดี การเลือกใช้ ระบบข้อมูลแบบใดนั้นขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และแนวคิดในการจัดแบ่งข้อมูลเป็นสาคัญ สาหรับเว็บไซต์ทั่วไปควรจะหาการตอบสนอง ความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งก็คือ ผู้ใช้อยากรู้ ว่าข้อมูลที่ต้องการนั้นอยู่ที่ไหนและจะเข้าถึงข้อมูลนั้นได้อย่างไร ดังนั้น การจัดระบบ ข้อมูลในเว็บไซต์เพื่อให้ง่ายต่อการค้นหา จึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะช่วยส่งเสริมหรือช่วย ขัดขวางความสาเร็จของเว็บไซต์นั้น ๆ ได้ การจัดระบบข้อมูลนั้นจึงมีผลต่อเนื่องมายัง ระบบเนวิเกชั่น อีกด้วย 3.2 จัดทาโครงสร้างข้อมูลด้วยการทาแผนผังโครงสร้างของ เว็บไซต์ หลังจากได้จัดกลุ่มข้อมูลเป็นระบบแล้ว และนาข้อมูลที่ได้มาจัดเป็นโครงสร้าง เนื้อหาที่แสดงถึงกลุ่มข้อมูลและลาดับขั้นของหัวข้อ ขั้นต่อมา คือ การนารายการ โครงสร้างของเว็บไซต์ที่ได้จัดข้อมูลไว้แล้วมาจัดให้เป็นแบบแผนโดยสร้างเป็นแผนผังที่ แสดงถึงโครงสร้างข้อมูล ลาดับขั้นและการเชื่อมโยงของแต่ละส่วนอย่างชัดเจนเรียกว่า แผนผังโครงสร้างเว็บไซต์ ซึ่งเป็นการแสดงภาพรวมของเว็บไซต์ในเชิงกราฟิก โดยเริ่ม จากหน้าโฮมเพจหรือหน้าเกริ่นนาไปจนถึงหน้าย่อย ๆ ทั้งหมดนอกจากนี้ยังมีการเขียน โครงสร้างเว็บไซต์อย่างง่ายอีกรูปแบบหนึ่งที่เรียกว่า Site mapซึ่งแสดงถึงภาพรวมของ เนื้อหาหลัก ๆ ภายในเว็บไซต์ แต่ไม่มีรายละเอียดมากเท่ากับแผนผังโครงสร้างเว็บไซต์ โดยอาจจัดทาเป็นแบบตัวหนังสือหรือแบบกราฟิกแผนผังชนิดนี้ เหมาะที่จะนาไปแสดงบน เว็บไซต์เพื่อให้ผู้ใช้เข้าใจโครงสร้างเนื้อหาของเว็บไซต์ได้ง่ายขึ้น 3.3 พัฒนาระบบเนวิเกชั่นเพื่อวางแนวทางในการท่องเว็บ 4. ออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ (Visual design) 4.1 ออกแบบลักษณะเว็บเพจ 4.2 พัฒนาเว็บไซต์ต้นแบบและโครงสร้างเว็บไซต์ครั้งสุดท้าย 5. พัฒนาและดาเนินการ (Production and operation) 5.1 ลงมือพัฒนาเว็บเพจเพื่อให้ได้เว็บไซต์ที่สมบูรณ์ 5.2 เปิดตัวเว็บไซต์ 5.3 ดูแลและพัฒนาเว็บไซต์อย่างต่อเนื่อง 16
  • 9. ส่วนประกอบของเว็บไซต์ เว็บไซต์โดยทั่วไปมีส่วนประกอบดังนี้ 1. ชื่อของเว็บไซต์ หรือ URL (Uniform Resource Locator ) ตาแหน่ง ที่เก็บเว็บเพจเปรียบเสมือนที่อยู่ของเว็บเพจ เมื่อต้องการเปิดเว็บเพจใด จะต้องระบุ ตาแหน่งที่เก็บเว็บเพจนั้น หรือรหัสสืบค้นแหล่งข้อมูล ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงข้อมูลในระบบ เวิลด์ไวด์เว็บ รูปแบบของ URL เป็นรูปแบบมาตรฐานสาหรับระบบ เวิลด์ไวด์เว็บ โดย กาหนดให้ขึ้นต้นด้วยคา ว่า “ http:// ” หมายถึงการเชื่อมโยงกับแหล่งข้อมูล เวิลด์ไวด์เว็บ หรือการแสดงข้อมูลแบบไฮเปอร์เท็กซ์(hypertext) รูปแบบของ URL ประกอบด้วย http://host/path/file มีความหมายดังนี้ http หมายถึง รูปแบบการเชื่อมโยงข้อมูลแบบ hypertext host หมายถึง ชื่อโฮสต์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อในระบบเครือข่าย โดยให้บริการต่าง ๆ แก่ผู้ใช้ในเครือข่ายนั้น ซึ่งเป็นที่อยู่ในรูปของโดเมนเนม(domain name) ซึ่งในโดเมนเนม (domain name) ใช้อ้างอิงแทนหมายเลขไอพี เพื่อให้ ผู้ใช้บริการคอมพิวเตอร์จดจา ได้ง่ายขึ้น จึงมีการกาหนดระบบชื่อคอมพิวเตอร์มาตรฐาน ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตว่า ดีเอนเอส (domain Name Sever:DNS) ประกอบด้วยชื่อ เครื่องคอมพิวเตอร์ ชื่อเครือข่ายท้องถิ่น ชื่อสับโดเมน (subdomain) สามารถแบ่ง ประเภทของโดเมนได้ดังนี้ 1) edu หรือ ac คือประเภทสถาบันการศึกษา 2) org หรือ or คือประเภทองค์กรไม่หวังผลกา ไร 3) com หรือ co คือหน่วยงานเอกชน องค์กรการค้า หรือองค์กรที่หวังผลกา ไร 4) net หรือ in ประเภทผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 5) gov หรือ go คือประเภทหน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงานราชการ 6) mil หรือ mi คือประเภทหน่วยงานทางทหาร ตัวอย่างเว็บไซต์ www.udru.ac.th th หมายถึงชื่อโดเมน เป็นชื่อย่อของประเทศหรือองค์กร คือประเทศไทย ac หมายถึง ชื่อสับโดเมนที่บอกประเภทขององค์กรสถาบันการศึกษา udru หมายถึงเครือข่ายท้องถิ่น ที่ระบุว่าระบบดังกล่าวเป็นของมหาวิทยาลัย ราชภัฏอุดรธานี 1817
  • 10. path หมายถึง เส้นทางสา หรับกา หนดไดเร็กทอรีบนคอมพิวเตอร์ในระบบ ยูนิกซ์ file หมายถึง ไฟล์ที่ต้องการโอนย้ายหรือไฟล์ข้อมูล กล่าวโดยสรุปโดเมนเนม เป็นระบบชื่อคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ประกอบด้วยชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ ชื่อเครือข่ายท้องถิ่น ชื่อสับโดเมน และชื่อโดเมน เป็น การนา เอาตัวอักษรที่จา ง่ายมาแทนไอพี แอดเดรส มักจะตั้งให้สอดคล้องกับชื่อบริษัท หรือองค์กรผู้เป็นเจ้าของเว็บไซต์ เพื่อที่จะสะดวกในการจดจา ชื่อ 2. โฮมเพจ (homepage) เป็นคาเรียกชื่อเว็บเพจหน้าแรกสุดของข้อมูลแต่ละ เรื่อง เปรียบ เสมือนหน้าปกของหนังสือเป็นส่วนที่บอกให้ทราบข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับ เว็บไซต์นั้น เป็นที่เชื่อมโยงไปยังเว็บเพจอื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกเว็บไซต์ (คณิต ศา ตะมาน, 2541)โดยทั่วไปแล้วในแต่ละเว็บไซต์จะมีโฮมเพจหรือหน้าต้อนรับ (welcome page) ซึ่งปรากฏเป็นหน้าแรกเมื่อเปิดเว็บไซต์นั้นขึ้นมา เปรียบเสมือนกับสารบัญและคา นา ที่เจ้าของเว็บไซต์สร้างขึ้นเพื่อใช้ประชาสัมพันธ์องค์กรของตนว่าให้บริการในสิ่งใดบ้าง 3. เว็บเพจ (webpage) เป็นองค์ประกอบหลักสาหรับการนาเสนอข้อมูลใน ระบบเวิลด์ไวด์เว็บมีลักษณะเป็นสื่อประสม หน้าเว็บเพจหนึ่งจะมีตั้งแต่ 2-3 หน้าจนถึง พัน ๆ หน้า และในหน้าเอกสารหนึ่งก็สามารถเชื่อมโยงไปอีกหน้าหนึ่งที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้อง กันได้ โดยการเชื่อมข้อมูลแบบไฮเปอร์เท็กซ์ (สมนึก คีรีโต, 2538) การเชื่อมโยงบนเว็บ เพจแต่ละเพจนั้นอาจอยู่ในลักษณะที่เป็นหัวข้อ รูปภาพรูปแบบของคา สั่งเชื่อมโยงจะอยู่ ในรูปของข้อมูลภาพหรือสัญลักษณ์รูป (icon) หรือปุ่มต่างๆ ซึ่งสามารถคลิกเพื่อเชื่อมโยง ข้อมูลหนึ่งไปยังอีกข้อมูลหนึ่งที่เกี่ยวข้องกันได้ (Waltz 1995 ) องค์ประกอบของเว็บเพจ ประกอบด้วยส่วนสาคัญต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. ข้อความ (text) เป็นลักษณะของข้อมูลอยู่ในรูปตัวอักษร ใช้ในการอธิบาย หรือให้ข้อมูลเกี่ยวกับเว็บเพจนั้น นา เสนอสารสนเทศที่ต้องการเผยแพร่ เป็นข้อความ ปกติ โดย เราสามารถตกแต่งให้สวยงามและมีลูกเล่นต่าง ๆ ดังเช่นโปรแกรมประมวลคา 2. กราฟิก (graphic) เป็นส่วนที่ใช้ประกอบเว็บเพจให้มีความสวยงาม ดึงดูด ใจแก่ผู้เข้าชมเว็บไซต์ ประกอบด้วย รูปภาพ ลายเส้น ลายพื้น ต่างๆ มากมาย 3. สื่อประสม (multimedia) ประกอบด้วยรูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว และ แฟ้มที่ช่วยเพิ่มสีสันให้เว็บไซต์สวยงามและดึงดูดใจมากขึ้น 4. เคาน์เตอร์ (counter) ใช้นับจา นวนผู้ที่เข้ามาเยี่ยมชมโฮมเพจ 19
  • 11. 5. คูลล์ลิงค์ (cool Links) การเชื่อมโยงใช้ในการข้อมูลไปยังจุดต่างๆ เช่น เว็บเพจหน้าอื่นหรือการเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ต่างๆ ส่วนที่เชื่อมโยงไปยังเว็บเพจหรือ เว็บไซต์อื่นได้คือบริเวณที่เลื่อนเมาส์เมื่อลูกศรเปลี่ยนเป็นรูปมือ หรือเปลี่ยนสีเป็นสีอื่น 6. ฟอร์ม (forms) เป็นแบบฟอร์มที่ให้ผู้เข้าเยี่ยมชม กรอกรายละเอียด แล้ว ส่งกลับ มายังเจ้าของเว็บไซต์ 7. เฟรม (frames) เป็นส่วนที่แบ่งจอภาพเป็นส่วน ๆ แต่ละส่วนก็จะแสดง ข้อมูลที่แตกต่างกันและเป็นอิสระจากกัน เฟรมที่นิยมมี 2 ส่วน คือ กรอบทางด้านซ้าย เป็นแถบ สารบัญ หรือแถบวิธีการเข้าหาข้อมูล (navigational bar) ส่วนกรอบทางด้าน ขวามือมีขนาดกว้างกว่าจะเป็นข้อมูลของเว็บเพจ 8. อิมเมจ แม็ป(image maps) เป็นรูปภาพขนาดใหญ่ ที่กาหนดส่วนต่างๆ บนรูปเพื่อเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจอื่น ๆ หรือตาแหน่งที่ต้องการ 9. โปรแกรมสาเร็จรูปต่าง ๆ ที่ใส่ลงในเว็บเพจเพื่อให้การใช้งานเว็บเพจมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากส่วนประกอบดังกล่าวแล้ว องค์ประกอบที่นิยมใส่ไว้ในเว็บเพจ อีก 2 ส่วนได้แก่ 1) สมุดเยี่ยม (guestbook) 2 ) เว็บบอร์ด (webboard) ที่ช่วยให้เว็บเพจกลายเป็นสื่อที่มีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผู้ใช้กับผู้สร้าง และระหว่างผู้ใช้ด้วยกันเอง โดยอาศัยหลักการที่เรียกว่า คอมมอน เกตเวย์ อินเตอร์เฟส (Common Gateway Interface) หรือ เรียกสั้น ๆ ว่าซีจีไอ (CGI) โดยมีรายละเอียดดังนี้ Common Gateway Interface เป็นมาตรฐานที่ผู้ที่เข้าไปใช้ข้อมูลในเครื่อง บริการเว็บในอินเทอร์เน็ต สามารถสืบค้นข้อมูลในฐานข้อมูลเช่น หัวข้อข่าวต่าง ๆ หรือ บทความทางวิชาการ รายชื่อหนังสือ หรือการสมัครเป็นสมาชิกเพื่อรับบริการต่าง ๆทาง อินเทอร์เน็ต ซึ่ง CGI จะทา หน้าที่ประมวลผลข้อมูลที่ได้จากการพิมพ์ข้อมูลของผู้เยี่ยม ชมและแสดงผลออกมาทางเว็บเพจ ตัวอย่างเว็บไซต์ที่มีระบบการใช้งาน CGI ที่เป็นที่ รู้จักกันทั่วโลกคือ http://www.yahoo.com ข้อควรหลีกเลี่ยงในการทาเว็บไซต์ 1. เว็บไซต์แสดงผลได้ช้า คือเว็บโหลดได้ช้ามาก ผู้ใช้งานต้องเสียเวลาในการรอให้เว็บไซต์แสดงผลนาน ซึ่งเวลาในการแสดงผลของเว็บไซต์มีหลายปัจจัย เช่น ความสามารถของ web server , ความเร็วของอินเตอร์เน็ตของผู้ใช้งาน แต่ปัจจัยต่างๆนั้นเป็นแค่ปลายเหตุเท่านั้น ต้นเหตุที่ สามารถควบคุมได้อยู่ที่ขนาดของเว็บเพจ ขนาดของเว็บเพจนั้นไม่ควรเกิน 60 KB ขนาดของเว็บเพจที่เพิ่มขึ้นมีเหตุมาจาก รูปภาพที่ใช้มีขนาดใหญ่เกินไป , การเปิดเพลงประกอบในเว็บไซต์ (ทาให้ผู้ชมต้อง เสียเวลาในการดาวน์โหลดเพลง แน่นอนว่าไฟล์เพลงเป็นไฟล์ที่มีขนาดใหญ่กว่า 60 KB อยู่แล้ว) , การใช้ไฟล์ flash ที่มีขนาดใหญ่เกินไป ทั้งหมดนี้เป็นสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง 2.ไม่มีเนวิเกชัน เนวิเกชัน คือ ส่วนที่ใช้ลิงค์ไปยังหน้าต่างๆของเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่นเมนู ทางซ้ายมือของ hellomyweb.com จะเห็นว่ามีลิงค์ไปยังส่วนต่างๆของเว็บไซต์ เช่น 21
  • 12. ลองทาเว็บไซต์ แบบง่ายๆ , พื้นฐานเกี่ยวกับเว็บไซต์ เว็บไซต์ที่ดีควรมีเนวิเกชันในทุกหน้า เพราะในปัจจุบันเราทราบดีอยู่แล้วว่ากว่า 80% ของผู้ใช้งานรู้จักเว็บไซต์จาก search engine ซึ่งแน่นอนว่าไม่สามารถกาหนดได้ว่าให้ search engine แสดงหน้าใดให้ผู้ใช้งานดู ถ้า search engine แสดงผลในหน้าที่ไม่มี เนวิเกชันอาจทาให้ผู้ใช้งานเข้าใจผิดได้ว่าเว็บไซต์ของคุณมีแค่หน้าที่แสดงผลเพียงหน้า เดียว การแสดงผลเนวิเกชันควรแสดงผลในตาแหน่งเดียวกัน เพราะถ้าเปลี่ยนตาแหน่งอาจทา ให้ผู้ใช้งานสับสนได้ 3. การใช้สีสันที่แสบตา หลายคนคงเคยเห็นเว็บไซต์ที่ใช้สีพื้นหลังเป็นสีโทนสว่างมากๆเช่น สีส้ม สี เหลือง แล้วใช้ตัวอักษรในโทนสว่างอีกเช่นเดียวกันเช่น สีฟ้า ทาให้การอ่านเนื้อหาในเว็บ เพจทาได้ยากมากๆ ถึงแม้จะทาให้เว็บไซต์ดูสวยงาม ก็ควรหลีกเลี่ยง การใช้พื้นหลังโทน มืด และตัวหนังสือโทนสว่าง เป็นตัวเลือกที่ดีในการทาเว็บไซต์ หรือพื้นหลังสีขาว ตัวหนังสือสีดาก็เป็นสิ่งที่นิยมใช้กันมาก 4. การสะกดคาผิด การสะกดคาผิดพลาด การเขียนผิด หรือการใช้ภาษาวิบัติ ก็ไม่ควรให้มีใน เว็บไซต์ เพราะจะส่งผลให้เข้าใจผิดพลาดได้ 5. เนื้อหาในเว็บเพจ ผู้ใช้งานเว็บไซต์ส่วนใหญ่ไม่เคยอ่านเนื้อหาของเว็บไซต์อย่างจริงจัง หรือตั้งใจ อ่านอย่างที่เราต้องการ ดังนั้นเราจึงควรทาให้เนื้อหาของเราอ่านได้ง่ายขึ้น เช่น ใช้การเว้น วรรค การใส่ย่อหน้า และการเขียนให้กระชับที่สุด เน้นส่วนของข้อความที่เราต้องการสื่อ ให้มากที่สุด 6. ขนาดของตัวอักษร และชนิดของตัวอักษร font ในบางครั้งการแสดงตัวอักษรที่เล็กเกินไป หรือใหญ่เกินไป ขึ้นอยู่กับการตั้งค่า ของ browser ของผู้ใช้ ก็เป็นอุปสรรคในการอ่านเนื้อหาของเว็บไซต์ ข้อแนะนาคือเราควรใช้ CSS ในการควบคุมการแสดงผลตัวอักษรให้เป็นไปในทาง เดียวกัน จะทาให้เว็บไซต์ของเราดูดี และอ่านได้ง่ายขึ้น 7. การเว้นวรรค การเว้นบรรทัด และการจัดช่องไฟของตัวอักษร เราสามารถใช้คาสั่ง CSS ในการจัดช่องไฟของตัวอักษรได้ การจัดช่องไฟให้ ตัวอักษร การเว้นวรรคที่ดี และการเว้นบรรทัดของเนื้อหาที่ดี ก็ทาให้เว็บไซต์ของเราดูดี ขึ้นได้มากทีเดียว 8. การใส่เพลงประกอบเว็บไซต์ โดยที่ผู้ใช้งานไม่สามารถปิดมันได้ ถ้ามีความจาเป็นที่จะต้องใส่เพลงประกอบเว็บไซต์ อาจเพื่อจูงใจลูกค้า ต้อง แน่ใจว่าได้ทาปุ่มสาหรับปิดเพลงนั้นไว้ โดยที่ผู้ใช้งานสามารถปิดมันได้โดยง่าย และเห็น มันอย่างชัดเจน มิฉะนั้นเพลงที่คุณใส่ไปอาจส่งผลทาให้ผู้ใช้งานเกิดความรู้สึกหงุดหงิด ได้ 9.การทาเว็บไซต์โดยไม่ได้วางองค์ประกอบของหน้ามาก่อน องค์ประกอบของหน้ามีความสาคัญมาก ถ้าไม่ได้วางองค์ประกอบของหน้ามา ก่อนจะทาให้เกิดปัญหาตามมามากมาย เช่นการใส่เนื้อหาในหน้ามากเกินไป อาจเห็น 20 23
  • 13. หลายเว็บไซต์ที่ใช้พื้นที่ของหน้าแทบจะทุกจุดของเว็บเพจก็ว่าได้ ซึ่งผู้ใช้งานไม่เคยตั้งใจ อ่านเนื้อหาอย่างจริงจัง การใส่เนื้อหาที่มากไปจะทาให้ไม่สามารถสื่ออะไร หรือบอกอะไร ได้เลย ดังนั้นจึงควรใส่เนื้อหาที่อยากจะสื่อ และแบ่งสัดส่วนต่างๆให้เป็นกลุ่มเป็นก้อนเห็น ได้ชัดเจน รูปแบบเว็บไซต์ในแต่ละหน้าก็มีความสาคัญมาก ไม่ควรเปลี่ยนรูปแบบของ เว็บไซต์ในแต่ละหน้าให้แตกต่างกันมากเกินไป เพราะจะทาให้ผู้ใช้งานเข้าใจผิดได้ 10. การทาหน้าเว็บเพจที่ยาวเกินไป เนื้อหาที่ยาวจนเกินไปไม่ส่งผลดีต่อเว็บไซต์แน่นอน เพราะนอกจากจะทาให้ การแสดงผลเว็บเพจนั้นช้าแล้ว ยังส่งผลผู้ใช้งานรู้สึกเบื่อด้วย ดังนั้นเราจึงควรแบ่งเนื้อหา เป็นตอนๆ และให้ผู้ใช้งานโหลดทีละตอนจะดีกว่า 11.การทาลิงค์ที่ผิดพลาด ลิงค์เป็นส่วนที่สาคัญมากของเว็บไซต์ เพราะจะเป็นส่วนที่นาไปยังส่วนอื่นๆ ของเว็บไซต์ จึงควรทาให้ส่วนที่เป็นลิงค์มีความชัดเจนในตัวเอง และถ้าไม่จาเป็นไม่ควร เปลี่ยนสีของลิงค์ 12. ขณะนี้อยู่ระหว่างการปรับปรุง คานี้ไม่ควรให้มีในเว็บเพจของเป็นอย่างยิ่ง เพราะนอกจากจะทาให้ผู้ใช้งาน ผิดหวังที่จะต้องรอหน้าที่อยู่ระหว่างการปรับปรุงแล้ว ยังทาให้รู้สึกว่าเว็บไซต์ของยังไม่ สมบรูณ์ ยังไมได้มาตรฐาน ตัวอย่างเว็บที่อยู่ระหว่างการปรับปรุง 13. ไม่ตรวจสอบเว็บไซต์ก่อน การตรวจสอบเว็บไซต์เป็นสิ่งที่สาคัญมาก เพราะการแสดงผลใน browser กับการแสดงผลตอนที่เราเขียนเว็บเพจอาจไม่เหมือนกันก็ได้ ดังนั้นจึงควรตรวจสอบเว็บ เพจทุกหน้า ถ้าจะให้ดีควรใช้หลายๆ browser ในการตรวจสอบ 14. เนวิเกชันที่ไม่สื่อความหมาย การใช้เนวิเกชันที่ไม่สื่อความหมาย เมื่อคลิกแล้วไม่สามารถเปิดหน้าที่ลิงค์ไว้ ได้ มีข้อผิดพลาด (error) ในเนวิเกชัน และมีหลายปุ่มให้เลือกมากเกินไป จะส่งผลต่อ ผู้ใช้งานเป็นอย่างมาก เนวิเกชันที่ดีควรมีการแบ่งหมวดหมู่ที่ดี ไม่ซับซ้อนจนเกินไป และ ควรครอบคลุมส่วนต่างๆของเว็บไซต์ หรือหน้าเว็บไซต์ใหญ่มาก ก็ควรครอบคลุมในหมวด นั้นๆ การใช้คาก็เป็นเรื่องสาคัญ ควรใช้คาที่สื่อความหมายชัดเจนไม่คลุมเครือ หรือเป็น คาที่เข้าใจกันเฉพาะกลุ่มไม่ควรใช้ 15. ทาเว็บไซต์อย่างลวกๆ การทาเว็บไซต์อย่างลวกๆ เช่น คัดลอกเนื้อหาจากเว็บไซต์อื่นมา แล้วมีการ 25
  • 14. ตกหล่น หรือไม่มีภาพแสดงเหมือนเว็บไซต์ต้นฉบับ การพิมพ์ผิด หรือการเขียนข้อความที่ ไม่สื่อความหมาย การใช้ภาษาวิบัติ เนื้อหาของเว็บไซต์คือทุกอย่างของเว็บไซต์ เราจึง ควรให้ความสาคัญกับเนื้อหาให้มากๆ อย่าให้เกิดข้อผิดพลาด หรือผิดพลาดให้น้อยที่สุด 16.ไม่เคยอัพเดทเว็บไซต์เลย การอัพเดทเว็บไซต์เป็นประจาก็ทาให้ผู้ใช้งานเกิดความมั่นใจ ว่าเว็บไซต์ของ เรายังมีผู้ดูแลอยู่ และเนื้อหายังได้รับการปรับปรุงอยู่ นอกจากนี้ยังส่งผลต่ออันดับใน search engine อีกด้วย 17. จานวนคลิกเพื่อเข้าถึงข้อมูลมากเกินไป หลายๆเว็บไซต์จะเก็บเนื้อหาในส่วนที่คิดว่าดีเอาไว้ โดยผู้ใช้งานจะต้องผ่าน การคลิกนับครั้งไม่ถ้วน ผ่านโฆษณามากมายกว่าจะมาถึงเนื้อหาที่สนใจได้ นับว่าเป็นสิ่งที่ ผิดพลาดอย่างมาก อย่างที่บอกไปว่าเว็บของเราห่างจากเว็บอื่นเพียงคลิกเดียว ถ้าทาให้ เกิดความลาบากในการเข้าถึงเนื้อหา หรือส่วนที่ผู้ใช้งานสนใจ ก็ทาให้ผู้ใช้งานท้อ หรือ ล้มเลิกความตั้งใจที่จะใช้งานต่อไปได้ จานวนคลิกที่มากที่สุดที่คุณควรทาคือ ไม่เกิน 3 คลิก ที่จะทาให้ผู้ใช้งานเข้าถึงส่วนที่สนใจ 18. สร้างความมั่นใจในส่วนของความปลอดภัยแก่ผู้ใช้ ถ้าเว็บไซต์เป็นเว็บไซต์ขายของ หรือทาธุรกิจต่างๆ ก็ควรสร้างความมั่นใจให้ ลูกค้าว่าจะไม่โดนหลอก เช่น การจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์ หรือไม่เปิดเผยข้อมูล ต่างๆของลูกค้า 19. ไม่มีที่อยู่ หรือที่ติดต่อกลับ เว็บไซต์ทางธุรกิจจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีส่วนของ ติดต่อเรา , contact information , ที่อยู่บริษัท , เบอร์โทรศัพท์ , email สิ่งพวกนี้เป็นสิ่งจาเป็นทั้งสิ้นที่ จะต้องมีในเว็บ 20. การใช้ Free web hosting ถ้าเป็นเว็บเกี่ยวกับธุรกิจแล้วจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีชื่อ domain name เป็นของตัวเอง และจะต้องมี web hosting เป็นของตัวเองไม่ว่าจะเช่า หรือจะซื้อมาเอง เราะจะส่งผลต่อความเชื่อมั่นของลูกค้า 21. การใช้ Free E-mail addresses ในปัจจุบันมี free email มากมายเช่น hotmail , gmail แต่พวกนี้เป็นสิ่งที่ ควรหลีกเลี่ยง ควรใช้ email ที่เป็นของคุณเอง มาจาก domain name ของคุณ เรื่องนี้ เป็นสิ่งที่จาเป็นอย่างยิ่งกับความน่าเชื่อถือของ email ของคุณที่ส่งไปยังลูกค้า 22. โฆษณาที่มีมากจนเกินไป โฆษณาเป็นรายได้หลักของเว็บไซต์บางประเภท แต่การที่ใส่โฆษณามาก เกินไปจะส่งผลต่อเนื้อหาของเว็บไซต์ เพราะจะทาให้ผู้ใช้สับสนระหว่าง เนื้อหาที่แท้จริง กับโฆษณาที่แทรกอยู่
  • 15. ตัวอย่างเว็บที่โฆษณามากเกินไป 23. รูปภาพ รูปภาพก็เป็นส่วนสาคัญของเว็บไซต์เราจึงควรดูและส่วนนี้ให้ดี ไม่ควรให้เกิด การผิดพลาดในการแสดงรูปภาพ และควรบีบอัดไฟล์รูปให้ถูกต้องกับรูปแบบ ชนิดของ ไฟล์ที่ใช้ในการบีบอัดรูปได้แก่ GIF , JPEG และ PNG ซึ่งจะใช้ฟอร์แมตใดก็ต้องทา ความเข้าใจลักษณะในการบีบอัดข้อมูลของแต่ละฟอร์แมต เพื่อให้เสามารถเลือกใช้ได้ ถูกต้อง 1.JPEG สาหรับภาพถ่าย หรือภาพวาดที่มีจานวนสีมากๆ 2.GIF , PNG-8 สาหรับภาพที่มีลักษณะเป็นลายเส้น หรือภาพที่ไม่ต้องการให้มีพื้น หลัง รูปที่ไม่มีการไล่สี เช่นภาพการ์ตูน ภาพที่มีจานวนสีน้อยๆ เช่น โลโก้ 3.PNG ใช้กับภาพถ่ายที่ต้องการให้มีลักษณะโปร่งแสง ไฟล์ที่อัดแล้วจะมีขนาดใหญ่ กว่า JPEG แต่มีคุณภาพความคมชัดสูงกว่า 24. เว็บไซต์นี้แสดงผลได้ดีที่สุดในขนาด 1024 x 768 การกาหนดขนาดที่ใช้ในการแสดงผล หรือ browser ที่ใช้แสดงผลเป็นสิ่งที่ไม่ ควรทาเป็นอย่างยิ่ง เพราะปัจจุบันมีหน้าจอหลายรูปหลายขนาดมากมาย ตั้งแต่ 14 นิ้ว จนถึง 20 กว่านิ้ว ทั้งแบบ wide screen และแบบทั่วไป การกาหนดขนาดแสดงผลจึง ไม่ควรทา 25. ไม่ใส่ราคา การไม่ใส่ราคาในเว็บไซต์ขายของ หรือแนะนาสินค้า อาจเป็นกลยุทธ์ของ ผู้ขาย แต่สิ่งนี้ใช้ไม่ได้ในโลกของอินเตอร์เน็ตอย่างแน่นอน เพราะถ้าเว็บไซต์ของคุณไม่บอกก็ ต้องมีเว็บไซต์อื่นที่สามารถบอกราคาได้ และลูกค้าที่เคยจะเป็นของคุณก็จะเป็นของคนอื่น แทน การประเมินเว็บไซต์ 1 ผู้รับผิดชอบ/ผู้ผลิต / ผู้แต่ง (author) พิจารณาผู้รับผิดชอบหรือผู้ผลิต สารสนเทศเช่น บุคคล หน่วยงานราชการ บริษัทเอกชน สถาบันการศึกษา เป็นต้น มี ความเชี่ยวชาญด้านใด และวัตถุประสงค์ในการนาเสนอ 2 เนื้อหา (content) พิจารณาจาก - ความเที่ยงตรง ถูกต้อง แม่นยา (accuracy) การสะกด การพิมพ์ถูกพิมพ์ ผิดตัวเลข สถิติต่างๆ และความละเอียดของสารสนเทศ (precision) - ความทันสมัย (timeliness) วันที่ปรับปรุงข้อมูลครั้งสุดท้าย วันเวลาในการ บันทึกสารสนเทศไว้ในอินเทอร์เน็ต วันเวลาในการรวบรวมเนื้อหา วันเวลาในการโฆษณา และวันเวลาในการส่งอีเมล์ 28 27
  • 16. - ความสมบูรณ์ของเนื้อหา (completeness) - ความสัมพันธ์กับความต้องการของผู้ใช้ (relevance) ขึ้นอยู่กับความต้อง การของผู้ใช้แต่ละคน - ความพอเพียงของเนื้อหา (sufficiency) ที่สามารถค้นหาสารสนเทศเรื่อง เดียวกันได้จากหลาย ๆ เว็บไซต์ และสามารถนาข้อมูลมาเปรียบเทียบกันได้ - ความเข้าใจง่ายของเนื้อหา (understandability) การใช้ภาษาเหมาะสม และถูกต้องกับเนื้อหาระดับความยากง่ายของศัพท์ที่ใช้ เนื้อหานั้นมีการสื่อความหมายหรือ แปลความหมายที่เข้าใจตรงกัน มีการแบ่งหัวข้ออย่างชัดเจน มีการเรียงลา ดับเนื้อหาจาก งายไปหายากหรือตามลา ดับเหตุการณ์ - สามารถตรวจสอบได้ (verification) จากเอกสารและเนื้อหาที่มีการ อ้างอิงตามหลักวิชาการผู้แต่งหรือผู้รับผิดชอบข้อมูลมีการกล่าวถึงในแหล่งข้อมูลหรือ แหล่งความรู้ใด 3 ความยุติธรรมไม่ลาเอียง (freedom from Bias) 4 คุณธรรมและจริยธรรม (morals and Virtue) ความหมายของบทเรียนผ่านเว็บ บทเรียนผ่านเว็บ หมายถึง การจัดสภาพการเรียนการสอนที่ได้รับการ ออกแบบอย่างมีระบบ โดยการใช้โปรแกรมการเรียนการสอนในรูปแบบของสื่อหลายมิติที่ นาคุณสมบัติและทรัพยากรของระบบอินเทอร์เน็ตและเครื่องมือต่างๆ ของเวิลด์ไวด์เว็บมา ใช้ประโยชน์ในการจัดสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ เชื่อมโยง เป็นเครือข่ายได้ทุกที่ทุกเวลา โดยผ่านกลยุทธ์การเรียนการสอนในลักษณะที่ผู้เรียน สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง และการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน โดยมีลักษณะที่ ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กัน ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงซึ่งกันและ กัน ประเภทของบทเรียนผ่านเว็บ บทเรียนผ่านเว็บออกเป็น 3 ประเภท ตามระดับความยากง่าย ดังนี้ 1. บทเรียนแบบทั่วไป (Embedded WBI) เป็นบทเรียนที่นาเสนอด้วย ข้อความและกราฟิกเป็นหลัก จัดว่าเป็นบทเรียนขั้นพื้นฐานที่พัฒนามาจากบทเรียน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ส่วนใหญ่พัฒนาขึ้นด้วยภาษา HTML (Hypertext markup language) 2. บทเรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive WBI: IWBI) เป็นบทเรียนที่ พัฒนาขึ้นจากบทเรียนประเภทแรก โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์สัมพันธ์กับผู้ใช้เป็นหลัก นอกจากจะนาเสนอด้วยสื่อต่างๆ ทั้งข้อความ กราฟิก และภาพเคลื่อนไหวแล้ว การ พัฒนาบทเรียนระดับนี้จึงต้องใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 4 ได้แก่ ภาษาเชิงวัตถุ (Object-oriented programming) เช่นVisual Basic, Visual C++ รวมทั้งภาษา HTML, Perl เป็นต้น 3. บทเรียนแบบปฏิสัมพันธ์สื่อประสม (Interactive Multimedia WBI:IMMWBI) เป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเว็บที่นาเสนอโดยยึดคุณสมบัติทั้ง 5 26 3029
  • 17. ด้านของมัลติมีเดีย ได้แก่ ข้อความ กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว การปฏิสัมพันธ์ และเสียง จัดว่าเป็นระดับสูงสุด เนื่องจากการปฏิสัมพันธ์เพื่อการจัดการทางด้านภาพเคลื่อนไหว และเสียงของบทเรียนโดยใช้เว็บบราวเซอร์นั้นมีความยุ่งยากมากกว่าบทเรียนที่นาเสนอ แบบใช้งานเพียงลาพัง ผู้พัฒนาบทเรียนจะต้องใช้เทคนิคต่างๆ เข้าช่วย เพื่อให้บทเรียน จากการมีปฏิสัมพันธ์เป็นไปด้วยความรวดเร็วและราบรื่น เช่น การเขียนคุกกี้ (Cookies) ช่วยสื่อสารข้อมูลระหว่างเว็บเซิร์ฟเวอร์กับตัวบทเรียนที่อยู่ในไคล์เอ็นต์ ตัวอย่างของภาษา ที่ใช้พัฒนาบทเรียนระดับนี้ได้แก่ Java, JSP, ASPและ PHP เป็นต้น รูปแบบของบทเรียนผ่านเว็บ จัดแบ่งโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บ (WBI) ออกเป็น 4 รูปแบบตามมิติการใช้ ประโยชน์ในการเรียนการสอน คือ 1. Information access เป็นโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บที่มุ่งประโยชน์ใน การ นาเสนอข้อมูลข่าวสารในการเรียนการสอน เช่น ประมวลรายวิชา (Course syllabus) กาหนดการเรียนการสอน เนื้อหา เอกสารประกอบการสอน การบ้าน เป็นต้น 2. Interactive learning เป็นโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บที่นาเสนอบทเรียน โดยออกแบบให้บทเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน มีการให้แรงจูงใจ มีการให้ข้อมูลย้อนกลับ ในขั้นตอนต่างๆ ที่ผู้ใช้บทเรียนดาเนินกิจกรรมตามบทเรียนไป ซึ่งเป็นลักษณะเดียวกับ บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเพียงแต่นาเสนอในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 3. Networked learning เป็นโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บที่เพิ่มมิติของการ สื่อสารปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เช่น ระหว่างผู้เรียนผู้สอน ระหว่างผู้เรียนด้วยกันเอง ตลอดกิจกรรมการเรียนการสอน 4. Material development เป็นโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บที่มีมิติของการ ให้ผู้เรียนใช้เว็บเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล จัดโครงสร้าง และเป็นสื่อในการ นาเสนอความรู้ที่ได้จากการเรียน การประชาสัมพันธ์ ความหมายของการประชาสัมพันธ์คาว่า “การประชาสัมพันธ์” มาจากคาว่า “ประชา” กับ “สัมพันธ์” ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า “public relations” หรือที่เรียก กันทั่วไปว่า “PR” ตามคาศัพท์นี้หมายถึงการมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับประชาชน ตาม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึงการติดต่อสื่อสาร เพื่อส่งเสริม ความเข้าใจอันถูกต้องต่อกัน และถ้าจะขยายความหมายให้เป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น จะหมายถึง “ความพยายามที่มีการวางแผนและเป็นการกระทาที่ต่อเนื่อง ในอันที่จะมีอิทธิพลเหนือ ความคิดจิตใจของประชาชน กลุ่มเป้าหมายโดยการกระทาสิ่งที่ดีมีคุณค่าให้กับสังคม เพื่อให้ประชาชนเหล่านี้เกิดทัศนคติทีดีต่อหน่วยงานกิจกรรม และบริการ หรือสินค้าของ หน่วยงานนี้ และเพื่อที่จะได้รับการสนับสนุนและร่วมมือที่ดีจากประชาชนเหล่านี้ในระยะ ยาว สรุป 3231