SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
หน่วยความจาสารอง
นางสาว อารียา กลมกล่อม ม.4.9 เลขที่ 5
นางสาว ศิราณี สีแย้ม ม.4.9 เลขที่ 9
นางสาว ชนันชิดา เพ็ชรสุวรรณ ม.4.9 เลขที่ 11
นางสาว เบญญาภา วิริยพัฒนากูล ม.4.9 เลขที่ 12
นางสาว ปรีดาพร เงินปา ม.4.9 เลขที่ 15
นางสาว พิมพ์ชนก เชิดฉาย ม.4.9 เลขที่ 20
นาย สหภพ เลิศสุวรรณ์ ม.4.9 เลขที่ 27
นาย บรรณสรณ์ เชื้อยูนาน ม.4.9 เลขที่ 34

หน่วยความจาสารอง(Secondary
Storage)เป็นหน่วยความจาที่สามารถรักษาข้อมูลได้ตลอดไป หลังจากได้ทา
การปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว หน่วยความจาสารองมีประโยชน์ต่อระบบ
ฐานข้อมูลเป็นอย่างมาก ถ้าปราศจากหน่วยความจาสารองแล้วเราจะไม่
สามารถเก็บรักษาข้อมูลเอาไว้ใช้ได้ในอนาคต หน่วยความจาสารองใช้เก็บ
รักษาข้อมูลและโปรแกรมเอาไว้อย่างถาวรจึงทาให้หน่วยความจาสารองถูกใช้
เป็นสื่อในการนาข้อมูลและโปรแกรมจากเครื่องคอมพิวเตอร์หนึ่งไปใช้ยัง
คอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งได้ และนอกจากนี้หน่วยความจาสารองยังใช้เป็น
หน่วยเสริมหน่วยความจาหลัก โดยทาหน้าที่เป็นเสมือนหน่วยความจาหลัก
ชื่อเรียกว่าหน่วยความจาเสมือน (virtual memory) กล่าวคือแทนที่
จะดึงโปรแกรมทั้งหมดเข้าหน่วยความจาหลักที่มีจานวนจากัดพร้อมกันหมด
คอมพิวเตอร์จะทาการจัดเก็บโปรแกรมไว้ยังหน่วยความจาเสมือนก่อน และ
เมื่อต้องการจึงจะดึงคาสั่งจากหน่วยความจาเสมือนเข้าหน่วยความจาหลัก
เพื่อทาการประมวลผล ดังนั้น จึงสามารถประมวลผลโปรแกรมแรมที่มีขนาด
ใหญ่กว่าหน่วยความจาหลักได้
คานา
เพาเวอร์พอยต์ เรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา
คอมพิวเตอร์ เรื่อง หน่วยความจาสารอง โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึง หน่วยความจาสารองชอง
คอมพิวเตอร์ ที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาหาความรู้
ของผู้ที่สนใจศึกษา
ชนิดของหน่วยความจาสารอง
1.หน่วยความจาสารองประเภทที่สามารถเข้าถึงข้อมูล
โดยตรง เป็นหน่วยความจาสารองที่คอมพิวเตอร์สามารถที่จะเข้า
ไปกระทากับข้อมูลที่เก็บในอุปกรณ์ชนิดนั้นตรงส่วนใดก็ได้
ในทันที ซึ่งเรียกการเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวว่าการเข้าถึงโดยตรง
ส่วนใดก็ได้ในทันที ซึ่งเรียกการเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวว่าการเข้าถึง
โดยตรง หรือการเข้าถึงแบบสุ่ม (direct access หรือ
random access) อุปกรณ์ชนิดที่สามารถเลื่อนหัวอ่าน
หรือบันทึกข้อมูลหน่วยความจาประเภทดิสก์ต่าง ๆ ดิสก์ที่นิยมใช้
ในปัจจุบันมีหลายประเภทได้แก่
จานบันทึกแม่เหล็ก (magnetic disk)
เป็นอุปกรณ์ที่นิยมใช้มาก และถูกใช้เป็นหน่วยเก็บข้อมูลที่ใช้ภายใน
เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ จนถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ แต่ถึงแม้จะใช้
กับเครื่องต่างขนาดกัน โครงสร้างและการใช้งานจะเหมือนกัน จานบันทึก
แม่เหล็กที่นิยมใช้กันได้แก่ ฟลอปปี้ดิสก์ (floppy disk) ฮาร์ดดิสก์
(hard disk) และไมโครดิสก์ (microdisk) สามารถเก็บข้อมูลได้
เป็นจานวนมาก เข้าถึงข้อมูลโดยตรง ไม่ต้องอ่านไปตามลาดับเหมือนเทป จาน
แม่เหล็กต้องใช้ควบคู่กับตัวขับจานแม่เหล็ก หรือดิสก์ไดร์ฟ เป็นอุปกรณ์
สาหรับเขียนอ่านจานแม่เหล็ก เป็นสื่อของการใช้หลักการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม
ก่อนที่จะใช้จานแม่เหล็กเก็บข้อมูล จะต้องผ่านขั้นตอนการฟอร์แมตก่อน เพื่อ
เตรียมจานแผ่นแม่เหล็กให้พร้อมสาหรับเครื่องรุ่นที่จะใช้งาน โดยหัวอ่านและ
บันทึกจะเขียนรูปแบบของแม่เหล็กลงบนผิว ของแผ่นจานแม่เหล็ก เพื่อให้การ
บันทึกข้อมูลลงแผ่นจานแม่เหล็กในภายหลังทาตมรูปแบบดังกล่าว การ
ฟอร์แมตแผ่นจานบันทึกจัดเป็นงานพื้นฐานหนึ่งของระบบปฏิบัติการ
คอมพิวเตอร์ ข้อมูลขะถูกบันทึกลงบนแผ่นจานที่ฟอร์แมตไว้แล้ว คือแบ่งใน
แนว วงกลมรอบแกนหมุนเป็นหลายๆ วงเรียกว่า แทรก แต่ละแทรกถูกแบ่ง
ออกเป็นชั้นขนมเค้ก เยกว่า เซกเตอร์ และถ้ามีเซกเตอร์มากกว่าหนึ่ง
เซกเตอร์เรียรวมกันว่าคลัสเตอร์ ในปัจจุบันมีจานแม่เหล็กที่ได้รับความนิยม
สูงสุดอยู่สองชนิด คือ ฟลอปปีดิสก์ และ ฮาร์ดดิสก์
ออพติคัลดิสก์ (optical disk)
เป็นอุปกรณ์ที่ถูกพัฒนาให้มีความจุมากยิ่งขึ้น ได้แก่
ซีดี-รอม (Compact Disk Read Only
Memory, CDROM) วอร์ม (Write Once
Read Many, WORM) และแมคนิโต ออปติคัล
ดิสก์ (Magneto-optical disk, MO)
ใช้เทคโนโลยีขอแสงเลเซอร์ ทาให้สามารถเก็บข้อมูลได้
จานวนมหาศาลในราคาที่ไม่แพงนัก ในปัจจุบันจะมีออปติคอล
ดิสก์อยู่หลายแบบซึ่งใช้เทคโนโลยีที่แตกต่างกันไป
พีซีเอ็มซีไอเอ (Personal Computer Memory
Card International Association,
PCMCIA)
เป็นหน่วยความจาที่มีขนาดเล็ก มีขนาดความกว้าง 2
นิ้ว และยาวเพียง 3 นิ้ว คล้ายเครดิตการ์ด เป็น
หน่วยความจาสารองใช้เสียบเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ในเวลา
ใช้งาน และเป็นที่นิยมใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk)
อุปกรณ์ที่เก็บข้อมูลได้มาก สามารถเก็บได้อย่างถาวร
โดยไม่จาเป็นต้องมีไฟฟ้ ามาหล่อเลี้ยงตลอดเวลา เมื่อปิดเครื่อง
ข้อมูลก็จะไม่สูญหาย ดังนั้น Hard Disk จึงถูกจัดเป็น
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บระบบปฏิบัติการ โปรแกรม และข้อมูล
ต่าง ๆ เนื่องจาก Hard Disk เป็นอุปกรณ์ที่ง่ายต่อการ
อัพเกรดทาให้เทคโนโลยี Hard Disk ในปัจจุบันได้พัฒนา
อย่างรวดเร็ว ฉะนั้นการเลือกซื้อ Hard Disk จึงควร
คานึงซึ่งประสิทธิภาพที่จะได้รับจาก Hard Disk
ส่วนประกอบของ Hard Disk
1. แขนของหัวอ่าน ( Actuator Arm ) ทางาน
ร่วมกับ Stepping Motor ในการหมุนแขนของหัวอ่าน
ไปยังตาแหน่งที่เหมาะสม สาหรับการอ่านเขียนข้อมูล โดยมี
คอนโทรลเลอร์ ทาหน้าที่แปลคาสั่งที่มาจากคอมพิวเตอร์
จากนั้นก็เลื่อนหัวอ่านไปยังตาแหน่งที่ต้องการ เพื่ออ่านหรือ
เขียนข้อมูล และใช้หัวอ่านในการอ่านข้อมูล ต่อมา
Stepping Motor ได้ถูกแทนด้วย Voice Coil ที่
สามารถทางานได้เร็ว และแม่นยากว่า Stepping
Motor
2 . หัวอ่าน ( Head ) เป็นส่วนที่ใช้ในการอ่านเขียน
ข้อมูล ภายในหัวอ่านมีลักษณะเป็น ขดลวด โดยในการอ่าน
เขียนข้อมูลคอนโทรลเลอร์ จะนาคาสั่งที่ได้รับมาแปลงเป็น
แรงดันไฟฟ้ าแล้วป้ อนเข้าสู่ขดลวดทาให้เกิดการเหนี่ยวนาทาง
แม่เหล็ก ไปเปลี่ยนโครงสร้างของสารแม่เหล็ก ที่ฉาบบน
แผ่นดิสก์ จึงทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลขึ้น
3. แผ่นจานแม่เหล็ก ( Platters ) มีลักษณะเป็น
จานเหล็กกลมๆ ที่เคลือบสารแม่เหล็กวางซ้อนกันหลายๆชั้น
(ขึ้นอยู่กับความจุ) และสารแม่เหล็กที่ว่าจะถูกเหนี่ยวนาให้มี
สภาวะเป็น 0 และ1 เพื่อจัดเก็บข้อมูล โดยจานแม่เหล็กนี้จะติด
กับมอเตอร์ ที่ทาหน้าที่หมุน แผ่นจานเหล็กนี้ปกติ Hard
Disk แต่ละตัวจะมีแผ่นดิสก์ประมาณ 1-4 แผ่นแต่ละแผ่นก็
จะเก็บข้อมูลได้ทั้ง 2 ด้าน
4. มอเตอร์หมุนจานแม่เหล็ก ( Spindle Moter ) เป็น
มอเตอร์ที่ใช้หมุนของแผ่นแม่เหล็ก ซึ่งมีความสาคัญอย่างมากต่อ
ความเร็วใน การหมุน ของ Hard Disk เพราะยิ่งมอเตอร์หมุนเร็ว
หัวอ่านก็จะเจอข้อมูลที่ต้องการเร็วขึ้น ซึ่งความเร็วที่ว่านี้จะวัดกันเป็น
รอบต่อนาที ( Rovolution Per Minute หรือย่อว่า
RPM ) ถ้าเป็น Hard Disk รุ่นเก่าจะหมุนด้วยความเร็วเพียง
3,600รอบต่อนาที ต่อมาพัฒนาเป็น 7,200รอบต่อนาที และปัจจุบันหมุน
ได้เร็วถึง 10,000รอบต่อนาที การพัฒนาให้ Hard Disk หมุนเร็วจะ
ได้ประสิทธิภาพสูงขึ้น
5. เคส ( Case ) มีลักษณะเป็นกล่องสี่เหลี่ยม ใช้บรรจุกลไก
ต่างๆ ภายในแผ่นดิสก์เพื่อป้ องกันความเสียหาย ที่เกิดจากการหยิบ จับ
และป้ องกันฝุ่นละออง
Serial ATA ในปัจจุบัน
ปัจจุบัน Parallel ATA กาลังถูกแทนที่ด้วย Serial ATA
เนื่องจากปัญหา คอขวดที่เป็นอยู่คือมาตรฐานความเร็วการถ่ายโอนข้อมูลบน
คอนโทรลเลอร์ขนาด 40 พิน แม้จะสามารถทาเส้นทางรับ-ส่งเป็น 80 เส้น ความเร็ว
ก็ไม่เกิน 133 เมกะไบต์/วินาที ขณะที่ Serial ATA มีขนาดของสายรับ-ส่ง
สัญญาณ เพียง 7 พิน มีอัตราเร็วขั้นต้นของ Serial ATA ในขั้นแรกที่ 1.5 กิ
กะบิต/วินาที และสิ่งที่ โดดเด่นของ Serial ATA คือ Serial ATA II กับ
มาตรฐานความเร็ว 3.0 กิกะบิต/วินาที และสูงสุดถึง 6.0 กิกะบิต/วินาที ซึ่งเป็นเร็ว
ที่สามารถสนับสนุนกับอุปกรณ์ที่จะออกมาได้ถึง10 ปีเลยทีเดียวโดยก่อนหน้าที่จะ
กาเนิดSerial ATA II แบบเต็มตัวนั้นสิ่งที่มาก่อนก็คือการรองรับเทคโนโลยี
Native Command Queuing หรือ NCQ ที่มีเฉพาะ Serial
ATA เท่านั้น สิ่งหนึ่งที่ได้จากเทคโนโลยี NCQ ก็คือความรวดเร็วในการเรียง
ชุดคาสั่งแบบใหม่ที่เลือกคาสั่งที่ใกล้ก่อน ทาให้ประสิทธิภาพการทางานของ
Hard Disk และระบบเร็วขึ้น
หน่วยความจาแบบเฟลช์(Flash
Memory)
หน่วยความจาแบบเฟลช์ ( Flash Memory) เป็น
หน่วยความจาประเภทรอมที่เรียกว่า อีอีพร็อม (Electrically
Erasable Programnable Read Only
Memory :EEPROM) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่นาข้อดีของรอม
และแรม มารวมกัน ทาให้หน่วยความจาชนิดนี้สามารถเก็บข้อมูลได้
เหมือนฮาร์ดดิสก์ คือ สามารถเขียนและลบข้อมูลได้ตามต้องการและ
เก็บข้อมูลได้ แม้ไม่ได้ต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ หน่วยความจาชนิดนี้
มีขนาดเล็ก น้าหนักเบา พกพาได้สะดวก มักใช้เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูล
ในอุปกรณ์นาเข้าข้อมูล เช่น กล้องดิจิตอล กล้องวีดิทัศน์ ที่เก็บข้อมูล
แบบดิจิตอล ยูเอสบีแฟลชไดรฟ์ มีชื่อเรียกหลายชื่อ เช่น รีมูฟเอเบิลไดร์ฟ
(Removable Drive) ทัมป์ ไดรฟ์ (Thump Drive)
แฮนดี้ไดรฟ์ ( Handy Drive) และเพ็นไดรฟ์ (Pen Drive)
ซีดีรอม (CD-ROM)
ลักษณะคล้ายซีดีเพลง สามารถเก็บข้อมูลได้ถึง 650
เมกะไบต์ต่อแผ่น การใช้งานะต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีตัว
ซีดีรอมไดร์ฟ มีหลายชนิดแล้วแต่การทางาน ปัจจุบันซีดีรอมใน
ตลาดมีความเร็วตั้งแต่สิบเท่าขึ้นไป ข้อจากัดของซีดีรอม คือ
สามารถบันทึกได้เพียงครั้งเดียวด้วยเครื่องมือ เฉพาะเท่านั้น
ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้อีก ซีดีรอมนิยมใช้เห็นสื่อเก็บ
ข้อมูลสาหรับอ่านอย่างเดียวเป็นอย่างมาก เช่น ซอฟต์แวร์
เมาส์ แผนที่ หนังสือ ภาพยนตร์ การบันทึกข้อมูลลงในแผ่น
ซีดีรอมปกติแล้วต้องใช้ เครื่องมือเฉพาะซึ่งมีราคาแพงมาก
ปัจจุบันทีแผ่นซีดีรอมที่สามารถบันทึกและอ่านข้อมูลได้
เรียกว่า ซีดีอาร์ ซึ่งสามารถนาดิสก์ไดร์ชนิดใดก็ได้อ่านข้อมูลใน
แผ่นซีดีรอมนั้น ทาให้เหมาะสมสาหรับการนามาจัดเก็บ
โปรแกรมซอฟต์แวร์ทางด้านมัลติมีเดีย สามารเก็บบันทึกข้อมูล
ได้ประมาณ 600 เมกะไบต์ในหนึ่งแผ่น
ดีวีดี (DVD)
แผ่นดีวีดีสามารถเก็บข้อมูลได้ต่าสุดที่ 4.7 จิกะไบต์
ซึ่งเพียงพอสาหรับเก็บภาพยนตร์ได้เต็มเรื่องข้อกาหนดของดี
วีดี มีควาวมจุได้ตั้งแต่ 4.7 GB ถึง 17 GB และมี
ความเร็วในการเข้าถึง อยู่ที่ 600 กิโลไบต์ต่อวินาที ถึง 1.3 เม
กะไบต์ต่อวินาที รวมทั้งสามารถอ่านแผ่นซีดีรอมแบบเก่าได้
ด้วย และยังมีข้อกาหนดสาหรับเครื่องรุ่นที่สามารถอ่านและ
เขียนแผ่นดีวีดีได้ในตัว ซึ่งกาลังจะตามออกมา
2. หน่วยความจาสารองประเภทที่สามารถเข้าถึง
ข้อมูลโดยเรียงลาดับเท่านั้น เป็นหน่วยความจาสารอง
ประเภทที่เก็บตัวข้อมูลแบบเรียงลาดับกันไป ตั้งแต่ตาแหน่ง
แรกจนถึงตาแหน่งสุดท้าย เมื่อต้องการเข้าถึงข้อมูลตรงส่วน
ใดนั้น หัวอ่านและบันทึกจะต้องทาการอ่านหรือบันทึกข้อมูล
ตั้งแต่ตาแหน่งแรก เรียงลาดับกันไปจนถึงตาแหน่งสุดท้าย ซึ่ง
เรียกการเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวว่าการเข้าถึงแบบเรียงลาดับ
(seguential access) หน่วยความจาสารอง
ประเภทนี้ส่วนใหญ่จะใช้งานสารองข้อมูลของระบบ
เทปแม่เหล็ก (Megnetic Tape)
เป็นหน่วยเก็บข้อมูลที่ใช้กันมานานตั้งแต่คอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่งและ
ยุคที่สอง ปัจจุบันได้รับความนิยมน้อยลง เทปแม่เหล็กมีหลักการทางาน
คล้ายเทปบันทึกเสียง แต่เปลี่ยนจากการเล่น (play) และบันทัก
(record) เป็นการอ่าน (read) และเขียน (write) แทน ในเครื่อง
เมนเฟรมเทปที่ใช้จะเป็นแบบม้วนเทป (reel-to-reel) ซึ่งเป็นวงล้อ
ขนาดใหญ่ ในเครื่องมินิคอมพิวเตอร์จะใช้คาร์ทริดจ์เทป (cartidege
tape) ซึ่งมีลักษณะคล้ายวีดีโอเทป ส่วนในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์จะใช้
ตลับเทป (cassette tape) ซึ่งมีลักษณะเหมือนเทปเพลง เทปทุก
ชนิดที่กล่าวมามีหลักการทางานคล้ายกับเทปบันทึกเสียง คือจะอ่านข้อมูล
ตามลาดับก่อนหลังตามที่ได้บันทึกไว้ เรียกหลักการนี้ว่าการอ่านข้อมูลแบบ
ลาดับ (sequential access) การทางานลักษณะนี้จึงเป็นข้อเสีย
ของการใช้เทปแม่เหล็กบันทึกข้อมูล คือทาให้อ่านข้อมูลได้ช้า เนื่องจากต้อง
อ่านข้อมูลในม้วนเทปไปเรื่อย ๆ จนถึงตาแหน่งที่ต้องการ ผู้ใช้จึงนิยมนาเทป
แม่เหล็กมาสารองข้อมูลเท่านั้น ส่วนข้อมูลที่กาลังใช้งานจะถูกเก็บอยู่บน
หน่วยเก็บข้อมูลแบบ จานแม่เหล็ก (Megnetic Disk) เพื่อให้เรียก
ใช้ได้ง่าย และนาเฉพาะข้อมูลที่สาคัญและไม่ถูกเรียกใช้บ่อย ๆ มา เก็บ
สารอง (back up) ไว้ในเทปแม่เหล็ก เพื่อป้ องกันการสูญหายของข้อมูล
ข้อดีของเทปแม่เหล็กคือสามารถบันทึก อ่านและลบกี่ครั้งก็ได้
รวมทั้งมีราคาต่า นอกจากนี้ยังสามารถบันทึกข้อมูลจานวนมาก ๆ ได้
อย่างรวดเร็ว ในสื่อที่มีขนาดใหญ่มากนัก ความจุของเทปแม่เหล็กจะมี
หน่วยเป็น ไบต์ต่อนิ้ว (byte per inch) หรือ บีพีไอ (bpi) ซึ่ง
หมายถึงจานวนตัวอักษรที่เก็บได้ในเทปยาวหนึ่งนิ้ว หรือเรียกได้อีก
อย่างว่าความหนาแน่นของเทปแม่เหล็ก เทปแม่เหล็กที่มีความ
หนาแน่นต่า จะเก็บข้อมูลได้ประมาณ 1,600 บีพีไอ ส่วนเทปแม่เหล็กที่
มีความหนาแน่นสูง จะเก็บข้อมูลได้ประมาณ 6,250 บีพีไอ นอกจากนี้
จะมีเทปแม่เหล็กรุ่นใหม่ ๆ คือ DAT (Digital Audio
Tape) ซึ่งขนาดใหญ่กว่าเครดิตการ์ดเล็กน้อย แต่สามารถจุข้อมูลได้
2 - 5 จิกะไบต์และ R-DATs ซึ่งสามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่า 14 จิ
กะไบต์ บนเทปที่ยาว 90 เมตร การที่เทปแม่เหล็กยังคงได้รับความนิยม
ให้เป็นสื่อที่เก็บสารองข้อมูล ก็เพราะความเร็ว ความจุข้อมูล และราคา
นั่นเอง
บรรณานุกรม
 http://www.thaigoodview.com/library/c
ontest2552/type2/tech03/32/p3-5.html
 http://www.sirikitdam.egat.com/WEB_
MIS/103_116/12.html

More Related Content

More from Supaksorn Tatongjai (20)

คำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซีคำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
 
7 3 condition
7 3 condition7 3 condition
7 3 condition
 
7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง
 
7 1 dev c++
7 1 dev c++7 1 dev c++
7 1 dev c++
 
Work20253
Work20253Work20253
Work20253
 
Week4-16
Week4-16Week4-16
Week4-16
 
Week4-1
Week4-1Week4-1
Week4-1
 
Week3-14
Week3-14Week3-14
Week3-14
 
Week3-13
Week3-13Week3-13
Week3-13
 
Week3-2
Week3-2Week3-2
Week3-2
 
Week3-1
Week3-1Week3-1
Week3-1
 
Week2-13
Week2-13Week2-13
Week2-13
 
Week2-12
Week2-12Week2-12
Week2-12
 
Week2-2
Week2-2Week2-2
Week2-2
 
Week2-1
Week2-1Week2-1
Week2-1
 
Week1-11
Week1-11Week1-11
Week1-11
 
Week1-1
Week1-1Week1-1
Week1-1
 
M1-Programs1
M1-Programs1M1-Programs1
M1-Programs1
 
Work30243
Work30243Work30243
Work30243
 
Week4-46
Week4-46Week4-46
Week4-46
 

หน่วยความจำสำรอง Present 4-9 (Group3)

  • 1. หน่วยความจาสารอง นางสาว อารียา กลมกล่อม ม.4.9 เลขที่ 5 นางสาว ศิราณี สีแย้ม ม.4.9 เลขที่ 9 นางสาว ชนันชิดา เพ็ชรสุวรรณ ม.4.9 เลขที่ 11 นางสาว เบญญาภา วิริยพัฒนากูล ม.4.9 เลขที่ 12 นางสาว ปรีดาพร เงินปา ม.4.9 เลขที่ 15 นางสาว พิมพ์ชนก เชิดฉาย ม.4.9 เลขที่ 20 นาย สหภพ เลิศสุวรรณ์ ม.4.9 เลขที่ 27 นาย บรรณสรณ์ เชื้อยูนาน ม.4.9 เลขที่ 34 
  • 2. หน่วยความจาสารอง(Secondary Storage)เป็นหน่วยความจาที่สามารถรักษาข้อมูลได้ตลอดไป หลังจากได้ทา การปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว หน่วยความจาสารองมีประโยชน์ต่อระบบ ฐานข้อมูลเป็นอย่างมาก ถ้าปราศจากหน่วยความจาสารองแล้วเราจะไม่ สามารถเก็บรักษาข้อมูลเอาไว้ใช้ได้ในอนาคต หน่วยความจาสารองใช้เก็บ รักษาข้อมูลและโปรแกรมเอาไว้อย่างถาวรจึงทาให้หน่วยความจาสารองถูกใช้ เป็นสื่อในการนาข้อมูลและโปรแกรมจากเครื่องคอมพิวเตอร์หนึ่งไปใช้ยัง คอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งได้ และนอกจากนี้หน่วยความจาสารองยังใช้เป็น หน่วยเสริมหน่วยความจาหลัก โดยทาหน้าที่เป็นเสมือนหน่วยความจาหลัก ชื่อเรียกว่าหน่วยความจาเสมือน (virtual memory) กล่าวคือแทนที่ จะดึงโปรแกรมทั้งหมดเข้าหน่วยความจาหลักที่มีจานวนจากัดพร้อมกันหมด คอมพิวเตอร์จะทาการจัดเก็บโปรแกรมไว้ยังหน่วยความจาเสมือนก่อน และ เมื่อต้องการจึงจะดึงคาสั่งจากหน่วยความจาเสมือนเข้าหน่วยความจาหลัก เพื่อทาการประมวลผล ดังนั้น จึงสามารถประมวลผลโปรแกรมแรมที่มีขนาด ใหญ่กว่าหน่วยความจาหลักได้
  • 3. คานา เพาเวอร์พอยต์ เรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา คอมพิวเตอร์ เรื่อง หน่วยความจาสารอง โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึง หน่วยความจาสารองชอง คอมพิวเตอร์ ที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาหาความรู้ ของผู้ที่สนใจศึกษา
  • 4. ชนิดของหน่วยความจาสารอง 1.หน่วยความจาสารองประเภทที่สามารถเข้าถึงข้อมูล โดยตรง เป็นหน่วยความจาสารองที่คอมพิวเตอร์สามารถที่จะเข้า ไปกระทากับข้อมูลที่เก็บในอุปกรณ์ชนิดนั้นตรงส่วนใดก็ได้ ในทันที ซึ่งเรียกการเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวว่าการเข้าถึงโดยตรง ส่วนใดก็ได้ในทันที ซึ่งเรียกการเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวว่าการเข้าถึง โดยตรง หรือการเข้าถึงแบบสุ่ม (direct access หรือ random access) อุปกรณ์ชนิดที่สามารถเลื่อนหัวอ่าน หรือบันทึกข้อมูลหน่วยความจาประเภทดิสก์ต่าง ๆ ดิสก์ที่นิยมใช้ ในปัจจุบันมีหลายประเภทได้แก่
  • 6. เป็นอุปกรณ์ที่นิยมใช้มาก และถูกใช้เป็นหน่วยเก็บข้อมูลที่ใช้ภายใน เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ จนถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ แต่ถึงแม้จะใช้ กับเครื่องต่างขนาดกัน โครงสร้างและการใช้งานจะเหมือนกัน จานบันทึก แม่เหล็กที่นิยมใช้กันได้แก่ ฟลอปปี้ดิสก์ (floppy disk) ฮาร์ดดิสก์ (hard disk) และไมโครดิสก์ (microdisk) สามารถเก็บข้อมูลได้ เป็นจานวนมาก เข้าถึงข้อมูลโดยตรง ไม่ต้องอ่านไปตามลาดับเหมือนเทป จาน แม่เหล็กต้องใช้ควบคู่กับตัวขับจานแม่เหล็ก หรือดิสก์ไดร์ฟ เป็นอุปกรณ์ สาหรับเขียนอ่านจานแม่เหล็ก เป็นสื่อของการใช้หลักการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม ก่อนที่จะใช้จานแม่เหล็กเก็บข้อมูล จะต้องผ่านขั้นตอนการฟอร์แมตก่อน เพื่อ เตรียมจานแผ่นแม่เหล็กให้พร้อมสาหรับเครื่องรุ่นที่จะใช้งาน โดยหัวอ่านและ บันทึกจะเขียนรูปแบบของแม่เหล็กลงบนผิว ของแผ่นจานแม่เหล็ก เพื่อให้การ บันทึกข้อมูลลงแผ่นจานแม่เหล็กในภายหลังทาตมรูปแบบดังกล่าว การ ฟอร์แมตแผ่นจานบันทึกจัดเป็นงานพื้นฐานหนึ่งของระบบปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ ข้อมูลขะถูกบันทึกลงบนแผ่นจานที่ฟอร์แมตไว้แล้ว คือแบ่งใน แนว วงกลมรอบแกนหมุนเป็นหลายๆ วงเรียกว่า แทรก แต่ละแทรกถูกแบ่ง ออกเป็นชั้นขนมเค้ก เยกว่า เซกเตอร์ และถ้ามีเซกเตอร์มากกว่าหนึ่ง เซกเตอร์เรียรวมกันว่าคลัสเตอร์ ในปัจจุบันมีจานแม่เหล็กที่ได้รับความนิยม สูงสุดอยู่สองชนิด คือ ฟลอปปีดิสก์ และ ฮาร์ดดิสก์
  • 8. เป็นอุปกรณ์ที่ถูกพัฒนาให้มีความจุมากยิ่งขึ้น ได้แก่ ซีดี-รอม (Compact Disk Read Only Memory, CDROM) วอร์ม (Write Once Read Many, WORM) และแมคนิโต ออปติคัล ดิสก์ (Magneto-optical disk, MO) ใช้เทคโนโลยีขอแสงเลเซอร์ ทาให้สามารถเก็บข้อมูลได้ จานวนมหาศาลในราคาที่ไม่แพงนัก ในปัจจุบันจะมีออปติคอล ดิสก์อยู่หลายแบบซึ่งใช้เทคโนโลยีที่แตกต่างกันไป
  • 9. พีซีเอ็มซีไอเอ (Personal Computer Memory Card International Association, PCMCIA)
  • 10. เป็นหน่วยความจาที่มีขนาดเล็ก มีขนาดความกว้าง 2 นิ้ว และยาวเพียง 3 นิ้ว คล้ายเครดิตการ์ด เป็น หน่วยความจาสารองใช้เสียบเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ในเวลา ใช้งาน และเป็นที่นิยมใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
  • 12. อุปกรณ์ที่เก็บข้อมูลได้มาก สามารถเก็บได้อย่างถาวร โดยไม่จาเป็นต้องมีไฟฟ้ ามาหล่อเลี้ยงตลอดเวลา เมื่อปิดเครื่อง ข้อมูลก็จะไม่สูญหาย ดังนั้น Hard Disk จึงถูกจัดเป็น อุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บระบบปฏิบัติการ โปรแกรม และข้อมูล ต่าง ๆ เนื่องจาก Hard Disk เป็นอุปกรณ์ที่ง่ายต่อการ อัพเกรดทาให้เทคโนโลยี Hard Disk ในปัจจุบันได้พัฒนา อย่างรวดเร็ว ฉะนั้นการเลือกซื้อ Hard Disk จึงควร คานึงซึ่งประสิทธิภาพที่จะได้รับจาก Hard Disk
  • 13. ส่วนประกอบของ Hard Disk 1. แขนของหัวอ่าน ( Actuator Arm ) ทางาน ร่วมกับ Stepping Motor ในการหมุนแขนของหัวอ่าน ไปยังตาแหน่งที่เหมาะสม สาหรับการอ่านเขียนข้อมูล โดยมี คอนโทรลเลอร์ ทาหน้าที่แปลคาสั่งที่มาจากคอมพิวเตอร์ จากนั้นก็เลื่อนหัวอ่านไปยังตาแหน่งที่ต้องการ เพื่ออ่านหรือ เขียนข้อมูล และใช้หัวอ่านในการอ่านข้อมูล ต่อมา Stepping Motor ได้ถูกแทนด้วย Voice Coil ที่ สามารถทางานได้เร็ว และแม่นยากว่า Stepping Motor
  • 14. 2 . หัวอ่าน ( Head ) เป็นส่วนที่ใช้ในการอ่านเขียน ข้อมูล ภายในหัวอ่านมีลักษณะเป็น ขดลวด โดยในการอ่าน เขียนข้อมูลคอนโทรลเลอร์ จะนาคาสั่งที่ได้รับมาแปลงเป็น แรงดันไฟฟ้ าแล้วป้ อนเข้าสู่ขดลวดทาให้เกิดการเหนี่ยวนาทาง แม่เหล็ก ไปเปลี่ยนโครงสร้างของสารแม่เหล็ก ที่ฉาบบน แผ่นดิสก์ จึงทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลขึ้น 3. แผ่นจานแม่เหล็ก ( Platters ) มีลักษณะเป็น จานเหล็กกลมๆ ที่เคลือบสารแม่เหล็กวางซ้อนกันหลายๆชั้น (ขึ้นอยู่กับความจุ) และสารแม่เหล็กที่ว่าจะถูกเหนี่ยวนาให้มี สภาวะเป็น 0 และ1 เพื่อจัดเก็บข้อมูล โดยจานแม่เหล็กนี้จะติด กับมอเตอร์ ที่ทาหน้าที่หมุน แผ่นจานเหล็กนี้ปกติ Hard Disk แต่ละตัวจะมีแผ่นดิสก์ประมาณ 1-4 แผ่นแต่ละแผ่นก็ จะเก็บข้อมูลได้ทั้ง 2 ด้าน
  • 15. 4. มอเตอร์หมุนจานแม่เหล็ก ( Spindle Moter ) เป็น มอเตอร์ที่ใช้หมุนของแผ่นแม่เหล็ก ซึ่งมีความสาคัญอย่างมากต่อ ความเร็วใน การหมุน ของ Hard Disk เพราะยิ่งมอเตอร์หมุนเร็ว หัวอ่านก็จะเจอข้อมูลที่ต้องการเร็วขึ้น ซึ่งความเร็วที่ว่านี้จะวัดกันเป็น รอบต่อนาที ( Rovolution Per Minute หรือย่อว่า RPM ) ถ้าเป็น Hard Disk รุ่นเก่าจะหมุนด้วยความเร็วเพียง 3,600รอบต่อนาที ต่อมาพัฒนาเป็น 7,200รอบต่อนาที และปัจจุบันหมุน ได้เร็วถึง 10,000รอบต่อนาที การพัฒนาให้ Hard Disk หมุนเร็วจะ ได้ประสิทธิภาพสูงขึ้น 5. เคส ( Case ) มีลักษณะเป็นกล่องสี่เหลี่ยม ใช้บรรจุกลไก ต่างๆ ภายในแผ่นดิสก์เพื่อป้ องกันความเสียหาย ที่เกิดจากการหยิบ จับ และป้ องกันฝุ่นละออง
  • 16. Serial ATA ในปัจจุบัน ปัจจุบัน Parallel ATA กาลังถูกแทนที่ด้วย Serial ATA เนื่องจากปัญหา คอขวดที่เป็นอยู่คือมาตรฐานความเร็วการถ่ายโอนข้อมูลบน คอนโทรลเลอร์ขนาด 40 พิน แม้จะสามารถทาเส้นทางรับ-ส่งเป็น 80 เส้น ความเร็ว ก็ไม่เกิน 133 เมกะไบต์/วินาที ขณะที่ Serial ATA มีขนาดของสายรับ-ส่ง สัญญาณ เพียง 7 พิน มีอัตราเร็วขั้นต้นของ Serial ATA ในขั้นแรกที่ 1.5 กิ กะบิต/วินาที และสิ่งที่ โดดเด่นของ Serial ATA คือ Serial ATA II กับ มาตรฐานความเร็ว 3.0 กิกะบิต/วินาที และสูงสุดถึง 6.0 กิกะบิต/วินาที ซึ่งเป็นเร็ว ที่สามารถสนับสนุนกับอุปกรณ์ที่จะออกมาได้ถึง10 ปีเลยทีเดียวโดยก่อนหน้าที่จะ กาเนิดSerial ATA II แบบเต็มตัวนั้นสิ่งที่มาก่อนก็คือการรองรับเทคโนโลยี Native Command Queuing หรือ NCQ ที่มีเฉพาะ Serial ATA เท่านั้น สิ่งหนึ่งที่ได้จากเทคโนโลยี NCQ ก็คือความรวดเร็วในการเรียง ชุดคาสั่งแบบใหม่ที่เลือกคาสั่งที่ใกล้ก่อน ทาให้ประสิทธิภาพการทางานของ Hard Disk และระบบเร็วขึ้น
  • 18. หน่วยความจาแบบเฟลช์ ( Flash Memory) เป็น หน่วยความจาประเภทรอมที่เรียกว่า อีอีพร็อม (Electrically Erasable Programnable Read Only Memory :EEPROM) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่นาข้อดีของรอม และแรม มารวมกัน ทาให้หน่วยความจาชนิดนี้สามารถเก็บข้อมูลได้ เหมือนฮาร์ดดิสก์ คือ สามารถเขียนและลบข้อมูลได้ตามต้องการและ เก็บข้อมูลได้ แม้ไม่ได้ต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ หน่วยความจาชนิดนี้ มีขนาดเล็ก น้าหนักเบา พกพาได้สะดวก มักใช้เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูล ในอุปกรณ์นาเข้าข้อมูล เช่น กล้องดิจิตอล กล้องวีดิทัศน์ ที่เก็บข้อมูล แบบดิจิตอล ยูเอสบีแฟลชไดรฟ์ มีชื่อเรียกหลายชื่อ เช่น รีมูฟเอเบิลไดร์ฟ (Removable Drive) ทัมป์ ไดรฟ์ (Thump Drive) แฮนดี้ไดรฟ์ ( Handy Drive) และเพ็นไดรฟ์ (Pen Drive)
  • 20. ลักษณะคล้ายซีดีเพลง สามารถเก็บข้อมูลได้ถึง 650 เมกะไบต์ต่อแผ่น การใช้งานะต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีตัว ซีดีรอมไดร์ฟ มีหลายชนิดแล้วแต่การทางาน ปัจจุบันซีดีรอมใน ตลาดมีความเร็วตั้งแต่สิบเท่าขึ้นไป ข้อจากัดของซีดีรอม คือ สามารถบันทึกได้เพียงครั้งเดียวด้วยเครื่องมือ เฉพาะเท่านั้น ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้อีก ซีดีรอมนิยมใช้เห็นสื่อเก็บ ข้อมูลสาหรับอ่านอย่างเดียวเป็นอย่างมาก เช่น ซอฟต์แวร์ เมาส์ แผนที่ หนังสือ ภาพยนตร์ การบันทึกข้อมูลลงในแผ่น ซีดีรอมปกติแล้วต้องใช้ เครื่องมือเฉพาะซึ่งมีราคาแพงมาก ปัจจุบันทีแผ่นซีดีรอมที่สามารถบันทึกและอ่านข้อมูลได้ เรียกว่า ซีดีอาร์ ซึ่งสามารถนาดิสก์ไดร์ชนิดใดก็ได้อ่านข้อมูลใน แผ่นซีดีรอมนั้น ทาให้เหมาะสมสาหรับการนามาจัดเก็บ โปรแกรมซอฟต์แวร์ทางด้านมัลติมีเดีย สามารเก็บบันทึกข้อมูล ได้ประมาณ 600 เมกะไบต์ในหนึ่งแผ่น
  • 22. แผ่นดีวีดีสามารถเก็บข้อมูลได้ต่าสุดที่ 4.7 จิกะไบต์ ซึ่งเพียงพอสาหรับเก็บภาพยนตร์ได้เต็มเรื่องข้อกาหนดของดี วีดี มีควาวมจุได้ตั้งแต่ 4.7 GB ถึง 17 GB และมี ความเร็วในการเข้าถึง อยู่ที่ 600 กิโลไบต์ต่อวินาที ถึง 1.3 เม กะไบต์ต่อวินาที รวมทั้งสามารถอ่านแผ่นซีดีรอมแบบเก่าได้ ด้วย และยังมีข้อกาหนดสาหรับเครื่องรุ่นที่สามารถอ่านและ เขียนแผ่นดีวีดีได้ในตัว ซึ่งกาลังจะตามออกมา
  • 23. 2. หน่วยความจาสารองประเภทที่สามารถเข้าถึง ข้อมูลโดยเรียงลาดับเท่านั้น เป็นหน่วยความจาสารอง ประเภทที่เก็บตัวข้อมูลแบบเรียงลาดับกันไป ตั้งแต่ตาแหน่ง แรกจนถึงตาแหน่งสุดท้าย เมื่อต้องการเข้าถึงข้อมูลตรงส่วน ใดนั้น หัวอ่านและบันทึกจะต้องทาการอ่านหรือบันทึกข้อมูล ตั้งแต่ตาแหน่งแรก เรียงลาดับกันไปจนถึงตาแหน่งสุดท้าย ซึ่ง เรียกการเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวว่าการเข้าถึงแบบเรียงลาดับ (seguential access) หน่วยความจาสารอง ประเภทนี้ส่วนใหญ่จะใช้งานสารองข้อมูลของระบบ
  • 25. เป็นหน่วยเก็บข้อมูลที่ใช้กันมานานตั้งแต่คอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่งและ ยุคที่สอง ปัจจุบันได้รับความนิยมน้อยลง เทปแม่เหล็กมีหลักการทางาน คล้ายเทปบันทึกเสียง แต่เปลี่ยนจากการเล่น (play) และบันทัก (record) เป็นการอ่าน (read) และเขียน (write) แทน ในเครื่อง เมนเฟรมเทปที่ใช้จะเป็นแบบม้วนเทป (reel-to-reel) ซึ่งเป็นวงล้อ ขนาดใหญ่ ในเครื่องมินิคอมพิวเตอร์จะใช้คาร์ทริดจ์เทป (cartidege tape) ซึ่งมีลักษณะคล้ายวีดีโอเทป ส่วนในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์จะใช้ ตลับเทป (cassette tape) ซึ่งมีลักษณะเหมือนเทปเพลง เทปทุก ชนิดที่กล่าวมามีหลักการทางานคล้ายกับเทปบันทึกเสียง คือจะอ่านข้อมูล ตามลาดับก่อนหลังตามที่ได้บันทึกไว้ เรียกหลักการนี้ว่าการอ่านข้อมูลแบบ ลาดับ (sequential access) การทางานลักษณะนี้จึงเป็นข้อเสีย ของการใช้เทปแม่เหล็กบันทึกข้อมูล คือทาให้อ่านข้อมูลได้ช้า เนื่องจากต้อง อ่านข้อมูลในม้วนเทปไปเรื่อย ๆ จนถึงตาแหน่งที่ต้องการ ผู้ใช้จึงนิยมนาเทป แม่เหล็กมาสารองข้อมูลเท่านั้น ส่วนข้อมูลที่กาลังใช้งานจะถูกเก็บอยู่บน หน่วยเก็บข้อมูลแบบ จานแม่เหล็ก (Megnetic Disk) เพื่อให้เรียก ใช้ได้ง่าย และนาเฉพาะข้อมูลที่สาคัญและไม่ถูกเรียกใช้บ่อย ๆ มา เก็บ สารอง (back up) ไว้ในเทปแม่เหล็ก เพื่อป้ องกันการสูญหายของข้อมูล
  • 26. ข้อดีของเทปแม่เหล็กคือสามารถบันทึก อ่านและลบกี่ครั้งก็ได้ รวมทั้งมีราคาต่า นอกจากนี้ยังสามารถบันทึกข้อมูลจานวนมาก ๆ ได้ อย่างรวดเร็ว ในสื่อที่มีขนาดใหญ่มากนัก ความจุของเทปแม่เหล็กจะมี หน่วยเป็น ไบต์ต่อนิ้ว (byte per inch) หรือ บีพีไอ (bpi) ซึ่ง หมายถึงจานวนตัวอักษรที่เก็บได้ในเทปยาวหนึ่งนิ้ว หรือเรียกได้อีก อย่างว่าความหนาแน่นของเทปแม่เหล็ก เทปแม่เหล็กที่มีความ หนาแน่นต่า จะเก็บข้อมูลได้ประมาณ 1,600 บีพีไอ ส่วนเทปแม่เหล็กที่ มีความหนาแน่นสูง จะเก็บข้อมูลได้ประมาณ 6,250 บีพีไอ นอกจากนี้ จะมีเทปแม่เหล็กรุ่นใหม่ ๆ คือ DAT (Digital Audio Tape) ซึ่งขนาดใหญ่กว่าเครดิตการ์ดเล็กน้อย แต่สามารถจุข้อมูลได้ 2 - 5 จิกะไบต์และ R-DATs ซึ่งสามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่า 14 จิ กะไบต์ บนเทปที่ยาว 90 เมตร การที่เทปแม่เหล็กยังคงได้รับความนิยม ให้เป็นสื่อที่เก็บสารองข้อมูล ก็เพราะความเร็ว ความจุข้อมูล และราคา นั่นเอง