SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
สายโคแอ็กเชียล
           สายโคแอ็กเชียล (Coaxial
Cable) เป็นสายสัญญาณประเภทแรกที่
ใช้ และเป็นที่นิยมมากในเครือข่าย
คอมพิวเตอร์สมัย แรก ๆ แต่ในปัจจุบัน
สายโคแอ็กซ์ถือได้วาเป็นสายที่ล้าสมัย
                   ่
สาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน
อย่างไรก็ตามยังมีระบบ เครือข่ายบาง
ประเภทที่ยังใช้สายประเภทนี้อยู่
สายโคแอกเชียล มีตัวนาไฟฟ้าอยู่สองส่วน
คาว่า โคแอ็กซ์ มีความหมายว่า "มีแกน
ร่วมกัน" โครงสร้างของสาย
ประกอบด้วยสายทองแดงเป็นแกนกลาง
แล้วห่อหุ้มด้วยวัสดุที่เป็นฉนวน ชั้นต่อมาจะ
เป็นตัวนาไฟฟ้าอีกชันหนึ่ง ซึ่งจะเป็นแผ่น
                     ้
โลหะบาง ๆ หรืออาจจะเป็นใยโลหะที่ถักเปีย
ปุ้มอีกชั้นหนึ่ง สุดท้ายก็หุ้มด้วยฉนวนและ
วัสดุปองกันสายสัญญาณ
       ้
ส่วนแกนเป็นส่วนที่นาสัญญาณข้อมูล ส่วนชั้นใย
ข่ายเป็นชั้นที่ใช้ป้องกันสัญญาณรบกวนจาก
ภายนอกและเป็นสายดิน ในตัว ดังนั้นสองส่วนนี้
ต้องไม่เชื่อมต่อกันมิฉะนั้นอาจเกิดไฟช็อตได้
ถึงแม้ว่าส่วนใหญ่โคแอ็กซ์จะมีลักษณะคล้ายกัน
แต่ก็สามารถแบ่งสายโคแอ็กซ์แบ่งออกเป็น 2
ประเภท คือ
1. สายโคแอ็กซ์แบบบาง (Thin Coaxial Cable) สายโค
แอ็กซ์แบบบาง (Thin Coaxial Cable หรือ Thinnet
Cable) เป็น
สายที่มีขนาดเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.64 cm
เนื่องจากสายประเภทนี้มีขนาดเล็กและมีความยืดหยุ่นสูง
จึงสามารถใช้ได้ กับการติดตั้งเครือข่ายเกือบทุกประเภท
สายประเภทนี้สามารถนาสัญญาณได้ไกลถึง 185 เมตร
ก่อนที่สัญญาณจะเริ่มอ่อนกาลัง ลง บริษัทผู้ผลิตสายโค
แอ็กซ์ได้ลงความเห็นร่วมกันในการแบ่งประเภทของสายโค
แอ็กซ์ สายโคแอ็กซ์แบบบางได้ถูกรวมไว้ใน สายประเภท
RG-58 ซึ่งสายประเภทนี้จะมีความต้านทาน
(Impedance) ที่ 50 โอห์ม สายประเภทนี้จะมีแกนกลางอยู่
2 ลักษณะคือ แบบที่เป็นสายทองแดงเส้นเดียวและแบบที่
เป็นใยโลหะหลายเส้น
2. สายโคแอ็กซ์แบบหนา (Thick Coaxial Cable) สายโค
แอ็กซ์แบบหนา (Thicknet Cable) เป็นสายโคแอ็กซ์ที่ค่อนข้าง
แข็ง และขนาดใหญ่กว่าสายโคแอ็กซ์แบบบาง โดยมีเส้นผ่าน
ศูนย์กลางประมาณ 1.27 cm สายโคแอ็กซ์แบบหนานี้เป็นสาย
สัญญาณประเภทแรกที่ใช้กับเครือข่ายแบบอีเธอร์เน็ต ส่วน
แกนกลางที่เป็นสายทองแดงของสายโคแอ็กซ์แบบหนาจะมี
ขนาดใหญ่กว่า ดังนั้นสายโคแอ็กซ์แบบหนานีจึงสามารถนา
                                         ้
สัญญาณ ได้ไกลกว่าแบบบาง โดยสามารถนาสัญญาณได้ไกลถึง
500 เมตร ด้วยความสามารถนี้สายโคแอ็กซ์แบบหนาจึงนิยมใช้
ในการเชื่อมต่อเส้นทางหลักของข้อมูล หรือ แบ็คโบน
(Backbone) ของเครือข่ายสมัยแรก ๆ แต่ปัจจุบันได้เลิกใช้สาย
โคแอ็กซ์
แล้ว โดยสายที่นิยมใช้ทาเป็นแบ็คโบน คือ สายใยแก้วนาแสง ซึ่ง
จะได้กล่าวในรายละเอียดในส่วนต่อไป
หัวเชื่อมต่อทีใช้กบสายโคแอ็กเชียล
              ่ ั
            ทั้งสายแบบบางและแบบ
หนา จะใช้หัวเชื่อมต่อชนิดเดียวกัน ที่
เรียกว่าหัว BNC ซึ่งใช้ในการเชื่อมต่อ
ระหว่างสายสัญ ญาณและเน็ตเวิร์ค
การ์ด หัวเชื่อมต่อแบบ BNC นี้มีหลาย
แบบได้แก่ หัวเชื่อมสาย BNC หัวเชื่อม
สายรูปตัว T หัวเชื่อมสายแบบ Barrel
และตัวสิ้นสุดสัญญาณ
http://computernetwork.site40.net/chapter4-
1.html


http://guru.sanook.com/pedia/topic/%E0%B8%AA%E
0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%82%E0%B8%84%E0
%B9%81%E0%B8%AD%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%
B8%8B%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%
B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A5/

More Related Content

Viewers also liked (14)

Ix b
Ix bIx b
Ix b
 
Abrozakumi 9 a
Abrozakumi  9 aAbrozakumi  9 a
Abrozakumi 9 a
 
E text for ipads edukan 6jan14
E text for ipads edukan 6jan14E text for ipads edukan 6jan14
E text for ipads edukan 6jan14
 
Abrozakumi 9 a
Abrozakumi  9 aAbrozakumi  9 a
Abrozakumi 9 a
 
Sake, cider & perry
Sake, cider & perrySake, cider & perry
Sake, cider & perry
 
MENGENAL JIN
MENGENAL JINMENGENAL JIN
MENGENAL JIN
 
สายโคแอกซ์(กฤตณัฐ+ปัญจภัทร)405
สายโคแอกซ์(กฤตณัฐ+ปัญจภัทร)405สายโคแอกซ์(กฤตณัฐ+ปัญจภัทร)405
สายโคแอกซ์(กฤตณัฐ+ปัญจภัทร)405
 
Abrozakumi 9 a
Abrozakumi  9 aAbrozakumi  9 a
Abrozakumi 9 a
 
09. viral marketing
09. viral marketing09. viral marketing
09. viral marketing
 
08. mobile marketing
08. mobile marketing08. mobile marketing
08. mobile marketing
 
Drama titas
Drama titasDrama titas
Drama titas
 
Test 1
Test 1Test 1
Test 1
 
Cellar Management
Cellar ManagementCellar Management
Cellar Management
 
Maternal physiology, prenatal care,normal labor and delivery
Maternal physiology, prenatal care,normal labor and deliveryMaternal physiology, prenatal care,normal labor and delivery
Maternal physiology, prenatal care,normal labor and delivery
 

Similar to สายโคแอกซ์(กฤตณัฐ+ปัญจภัทร)405

สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
Bu Ba
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
Gunn Chaemkasem
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
Gunn Chaemkasem
 
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
Uracha Choodee
 
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
Jaja Ch
 
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
Aommy Arpajai
 
สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402
สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402
สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402
Jarensiri Pankoa
 

Similar to สายโคแอกซ์(กฤตณัฐ+ปัญจภัทร)405 (9)

สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
 
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
สายโคแอกซ์(ณัฏฐ์ชาภา+อุรชา)403
 
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
 
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
 
ตัวอย่างอุปกรณ์เครือข่าย1
ตัวอย่างอุปกรณ์เครือข่าย1ตัวอย่างอุปกรณ์เครือข่าย1
ตัวอย่างอุปกรณ์เครือข่าย1
 
4
44
4
 
สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402
สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402
สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402
 

สายโคแอกซ์(กฤตณัฐ+ปัญจภัทร)405

  • 1.
  • 2. สายโคแอ็กเชียล สายโคแอ็กเชียล (Coaxial Cable) เป็นสายสัญญาณประเภทแรกที่ ใช้ และเป็นที่นิยมมากในเครือข่าย คอมพิวเตอร์สมัย แรก ๆ แต่ในปัจจุบัน สายโคแอ็กซ์ถือได้วาเป็นสายที่ล้าสมัย ่ สาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามยังมีระบบ เครือข่ายบาง ประเภทที่ยังใช้สายประเภทนี้อยู่
  • 3. สายโคแอกเชียล มีตัวนาไฟฟ้าอยู่สองส่วน คาว่า โคแอ็กซ์ มีความหมายว่า "มีแกน ร่วมกัน" โครงสร้างของสาย ประกอบด้วยสายทองแดงเป็นแกนกลาง แล้วห่อหุ้มด้วยวัสดุที่เป็นฉนวน ชั้นต่อมาจะ เป็นตัวนาไฟฟ้าอีกชันหนึ่ง ซึ่งจะเป็นแผ่น ้ โลหะบาง ๆ หรืออาจจะเป็นใยโลหะที่ถักเปีย ปุ้มอีกชั้นหนึ่ง สุดท้ายก็หุ้มด้วยฉนวนและ วัสดุปองกันสายสัญญาณ ้
  • 4. ส่วนแกนเป็นส่วนที่นาสัญญาณข้อมูล ส่วนชั้นใย ข่ายเป็นชั้นที่ใช้ป้องกันสัญญาณรบกวนจาก ภายนอกและเป็นสายดิน ในตัว ดังนั้นสองส่วนนี้ ต้องไม่เชื่อมต่อกันมิฉะนั้นอาจเกิดไฟช็อตได้ ถึงแม้ว่าส่วนใหญ่โคแอ็กซ์จะมีลักษณะคล้ายกัน แต่ก็สามารถแบ่งสายโคแอ็กซ์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
  • 5. 1. สายโคแอ็กซ์แบบบาง (Thin Coaxial Cable) สายโค แอ็กซ์แบบบาง (Thin Coaxial Cable หรือ Thinnet Cable) เป็น สายที่มีขนาดเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.64 cm เนื่องจากสายประเภทนี้มีขนาดเล็กและมีความยืดหยุ่นสูง จึงสามารถใช้ได้ กับการติดตั้งเครือข่ายเกือบทุกประเภท สายประเภทนี้สามารถนาสัญญาณได้ไกลถึง 185 เมตร ก่อนที่สัญญาณจะเริ่มอ่อนกาลัง ลง บริษัทผู้ผลิตสายโค แอ็กซ์ได้ลงความเห็นร่วมกันในการแบ่งประเภทของสายโค แอ็กซ์ สายโคแอ็กซ์แบบบางได้ถูกรวมไว้ใน สายประเภท RG-58 ซึ่งสายประเภทนี้จะมีความต้านทาน (Impedance) ที่ 50 โอห์ม สายประเภทนี้จะมีแกนกลางอยู่ 2 ลักษณะคือ แบบที่เป็นสายทองแดงเส้นเดียวและแบบที่ เป็นใยโลหะหลายเส้น
  • 6. 2. สายโคแอ็กซ์แบบหนา (Thick Coaxial Cable) สายโค แอ็กซ์แบบหนา (Thicknet Cable) เป็นสายโคแอ็กซ์ที่ค่อนข้าง แข็ง และขนาดใหญ่กว่าสายโคแอ็กซ์แบบบาง โดยมีเส้นผ่าน ศูนย์กลางประมาณ 1.27 cm สายโคแอ็กซ์แบบหนานี้เป็นสาย สัญญาณประเภทแรกที่ใช้กับเครือข่ายแบบอีเธอร์เน็ต ส่วน แกนกลางที่เป็นสายทองแดงของสายโคแอ็กซ์แบบหนาจะมี ขนาดใหญ่กว่า ดังนั้นสายโคแอ็กซ์แบบหนานีจึงสามารถนา ้ สัญญาณ ได้ไกลกว่าแบบบาง โดยสามารถนาสัญญาณได้ไกลถึง 500 เมตร ด้วยความสามารถนี้สายโคแอ็กซ์แบบหนาจึงนิยมใช้ ในการเชื่อมต่อเส้นทางหลักของข้อมูล หรือ แบ็คโบน (Backbone) ของเครือข่ายสมัยแรก ๆ แต่ปัจจุบันได้เลิกใช้สาย โคแอ็กซ์ แล้ว โดยสายที่นิยมใช้ทาเป็นแบ็คโบน คือ สายใยแก้วนาแสง ซึ่ง จะได้กล่าวในรายละเอียดในส่วนต่อไป
  • 7. หัวเชื่อมต่อทีใช้กบสายโคแอ็กเชียล ่ ั ทั้งสายแบบบางและแบบ หนา จะใช้หัวเชื่อมต่อชนิดเดียวกัน ที่ เรียกว่าหัว BNC ซึ่งใช้ในการเชื่อมต่อ ระหว่างสายสัญ ญาณและเน็ตเวิร์ค การ์ด หัวเชื่อมต่อแบบ BNC นี้มีหลาย แบบได้แก่ หัวเชื่อมสาย BNC หัวเชื่อม สายรูปตัว T หัวเชื่อมสายแบบ Barrel และตัวสิ้นสุดสัญญาณ
  • 8.
  • 9.