SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
สายโคแอกซ์
       นาเสนอ
อ.ปิยวรรณ รัตนภานุศร
         สมาชิก
    1.ชวิศา ขรขันฑ์
  2.พิมพ์สิริ คล้ายรัศมี
สายโคแอ็กเชียล (Coaxial Cable) เป็นสายสัญญาณประเภท
แรกที่ใช้ และเป็นที่นิยมมากในเครือข่ายคอมพิวเตอร์สมัย
แรก ๆ แต่ในปัจจุบันสายโคแอ็กซ์ถือได้ว่าเป็นสายที่ล้าสมัย
สาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามยังมี
ระบบ เครือข่ายบางประเภทที่ยังใช้สายประเภทนี้อยู่
สายโคแอกเชียล มีตัวนาไฟฟ้าอยู่สองส่วน คาว่า โคแอ็กซ์ มี
ความหมายว่า "มีแกนร่วมกัน"
โครงสร้างของสาย ประกอบด้วยสายทองแดงเป็นแกนกลาง
แล้วห่อหุ้มด้วยวัสดุที่เป็นฉนวน ชั้นต่อมาจะเป็นตัวนาไฟฟ้าอีก
ชั้นหนึ่ง ซึ่งจะเป็นแผ่น โลหะบาง ๆ หรืออาจจะเป็นใยโลหะที่
ถักเปียปุ้มอีกชั้นหนึ่ง สุดท้ายก็ห้มด้วยฉนวนและวัสดุป้องกัน
                                   ุ
สายสัญญาณ
ส่วนแกนเป็นส่วนที่นาสัญญาณข้อมูล ส่วนชั้นใยข่ายเป็นชั้นที่
ใช้ป้องกันสัญญาณรบกวนจากภายนอกและเป็นสายดิน ในตัว
 ดังนั้นสองส่วนนี้ต้องไม่เชื่อมต่อกันมิฉะนั้นอาจเกิดไฟช็อตได้
        ถึงแม้ว่าส่วนใหญ่โคแอ็กซ์จะมีลักษณะคล้ายกัน
     สายโคแอ็กซ์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1. สายโคแอ็กซ์แบบบาง (Thin Coaxial Cable) เป็น
สายขนาดเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.64 cm มีความ
ยืดหยุ่นสูงสามารถใช้ได้กับการติดตั้งเครือข่ายเกือบทุก
ประเภท นาสัญญาณได้ไกลถึง 185 เมตร ก่อนจะเริ่มอ่อน
กาลังลง สายโคแอ็กซ์แบบบางได้ถูกรวมไว้ในสายประเภท
RG-58 มีความต้านทานที่ 50 โอห์ม จะมีแกนกลางอยู่ 2
ลักษณะคือ แบบที่เป็นสายทองแดงเส้นเดียวและแบบที่เป็นใย
โลหะหลายเส้น
2. สายโคแอ็กซ์แบบหนา (Thick Coaxial Cable) สาย
ค่อนข้างแข็งและขนาดใหญ่ มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ
1.27 cm เป็นสายสัญญาณประเภทแรกที่ใช้กับเครือข่ายแบบ
อินเตอร์เน็ต แกนกลางเป็นสายทองแดงจะมีขนาดใหญ่กว่า
ดังนั้นแบบหนาจึงสามารถนาสัญญาณได้ไกลกว่า ได้ไกลถึง
500 เมตร สายโคแอ็กซ์แบบหนาจึงนิยมใช้ในการเชื่อมต่อ
เส้นทางหลักของข้อมูล หรือ แบ็คโบน ของเครือข่ายสมัย
แรก ๆ แต่ปัจจุบันได้เลิกใช้แล้ว
หัวเชือมต่อที่ใช้กับสายโคแอ็กเชียล
       ่
ทั้งสายแบบบางและแบบหนาจะใช้หัวเชื่อมต่อชนิดเดียวกัน ที่
เรียกว่าหัว BNC ซึ่งใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างสายสัญ ญาณ
และเน็ตเวิร์คการ์ด หัวเชื่อมต่อแบบ BNC นี้มีหลายแบบได้แก่
หัวเชื่อมสาย BNC หัวเชื่อมสายรูปตัว T หัวเชื่อมสายแบบ
Barrel และตัวสิ้นสุดสัญญาณ
ข้อดี
1. ราคาถูก
2. มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน
3. ติดตั้งง่าย และมีน้าหนักเบา

ข้อเสีย
1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย
2. ระยะทางจากัด
THE END

More Related Content

Viewers also liked

Tools And Resources For Continuous Improvement Of Technology In Schools
Tools And Resources For Continuous Improvement Of Technology In SchoolsTools And Resources For Continuous Improvement Of Technology In Schools
Tools And Resources For Continuous Improvement Of Technology In Schoolsfridayinstitute
 
Hipotesi power point
Hipotesi power pointHipotesi power point
Hipotesi power pointMuhammad Amir
 
Digital Leadership is Instructional Leadership
Digital Leadership is Instructional LeadershipDigital Leadership is Instructional Leadership
Digital Leadership is Instructional LeadershipDerek McCoy
 
Educational use of technology
Educational use of technologyEducational use of technology
Educational use of technologyArt Cher
 

Viewers also liked (6)

Tools And Resources For Continuous Improvement Of Technology In Schools
Tools And Resources For Continuous Improvement Of Technology In SchoolsTools And Resources For Continuous Improvement Of Technology In Schools
Tools And Resources For Continuous Improvement Of Technology In Schools
 
Hipotesi power point
Hipotesi power pointHipotesi power point
Hipotesi power point
 
Developing 21st century leaders
Developing 21st century leadersDeveloping 21st century leaders
Developing 21st century leaders
 
Digital Leadership is Instructional Leadership
Digital Leadership is Instructional LeadershipDigital Leadership is Instructional Leadership
Digital Leadership is Instructional Leadership
 
Educational use of technology
Educational use of technologyEducational use of technology
Educational use of technology
 
EL_ppt2
EL_ppt2EL_ppt2
EL_ppt2
 

Similar to สายโคแอกซ์(ชวิศา+พิมพ์สิริ)401

สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406Bu Ba
 
สายโครแอกเชียล(อภิสรา สิริณิชช์)407
สายโครแอกเชียล(อภิสรา สิริณิชช์)407สายโครแอกเชียล(อภิสรา สิริณิชช์)407
สายโครแอกเชียล(อภิสรา สิริณิชช์)407Abhisara Chotikhun
 
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405Jaja Ch
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406Gunn Chaemkasem
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406Gunn Chaemkasem
 
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407Aommy Arpajai
 
สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402
สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402
สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402Jarensiri Pankoa
 

Similar to สายโคแอกซ์(ชวิศา+พิมพ์สิริ)401 (9)

สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
สายโคแอ็กเชียล นพณัฐ ญาณกร-406
 
สายโครแอกเชียล(อภิสรา สิริณิชช์)407
สายโครแอกเชียล(อภิสรา สิริณิชช์)407สายโครแอกเชียล(อภิสรา สิริณิชช์)407
สายโครแอกเชียล(อภิสรา สิริณิชช์)407
 
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
 
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
โคแอ็กซ์(สุธีพงศ์+กันติทัต)406
 
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
 
สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402
สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402
สายโคแอคเชียล(โชติกา+เจริญศิริ 2)402
 
ตัวอย่างอุปกรณ์เครือข่าย1
ตัวอย่างอุปกรณ์เครือข่าย1ตัวอย่างอุปกรณ์เครือข่าย1
ตัวอย่างอุปกรณ์เครือข่าย1
 
4
44
4
 

สายโคแอกซ์(ชวิศา+พิมพ์สิริ)401

  • 1. สายโคแอกซ์ นาเสนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภานุศร สมาชิก 1.ชวิศา ขรขันฑ์ 2.พิมพ์สิริ คล้ายรัศมี
  • 2. สายโคแอ็กเชียล (Coaxial Cable) เป็นสายสัญญาณประเภท แรกที่ใช้ และเป็นที่นิยมมากในเครือข่ายคอมพิวเตอร์สมัย แรก ๆ แต่ในปัจจุบันสายโคแอ็กซ์ถือได้ว่าเป็นสายที่ล้าสมัย สาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามยังมี ระบบ เครือข่ายบางประเภทที่ยังใช้สายประเภทนี้อยู่
  • 3. สายโคแอกเชียล มีตัวนาไฟฟ้าอยู่สองส่วน คาว่า โคแอ็กซ์ มี ความหมายว่า "มีแกนร่วมกัน" โครงสร้างของสาย ประกอบด้วยสายทองแดงเป็นแกนกลาง แล้วห่อหุ้มด้วยวัสดุที่เป็นฉนวน ชั้นต่อมาจะเป็นตัวนาไฟฟ้าอีก ชั้นหนึ่ง ซึ่งจะเป็นแผ่น โลหะบาง ๆ หรืออาจจะเป็นใยโลหะที่ ถักเปียปุ้มอีกชั้นหนึ่ง สุดท้ายก็ห้มด้วยฉนวนและวัสดุป้องกัน ุ สายสัญญาณ
  • 4. ส่วนแกนเป็นส่วนที่นาสัญญาณข้อมูล ส่วนชั้นใยข่ายเป็นชั้นที่ ใช้ป้องกันสัญญาณรบกวนจากภายนอกและเป็นสายดิน ในตัว ดังนั้นสองส่วนนี้ต้องไม่เชื่อมต่อกันมิฉะนั้นอาจเกิดไฟช็อตได้ ถึงแม้ว่าส่วนใหญ่โคแอ็กซ์จะมีลักษณะคล้ายกัน สายโคแอ็กซ์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
  • 5. 1. สายโคแอ็กซ์แบบบาง (Thin Coaxial Cable) เป็น สายขนาดเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.64 cm มีความ ยืดหยุ่นสูงสามารถใช้ได้กับการติดตั้งเครือข่ายเกือบทุก ประเภท นาสัญญาณได้ไกลถึง 185 เมตร ก่อนจะเริ่มอ่อน กาลังลง สายโคแอ็กซ์แบบบางได้ถูกรวมไว้ในสายประเภท RG-58 มีความต้านทานที่ 50 โอห์ม จะมีแกนกลางอยู่ 2 ลักษณะคือ แบบที่เป็นสายทองแดงเส้นเดียวและแบบที่เป็นใย โลหะหลายเส้น
  • 6. 2. สายโคแอ็กซ์แบบหนา (Thick Coaxial Cable) สาย ค่อนข้างแข็งและขนาดใหญ่ มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.27 cm เป็นสายสัญญาณประเภทแรกที่ใช้กับเครือข่ายแบบ อินเตอร์เน็ต แกนกลางเป็นสายทองแดงจะมีขนาดใหญ่กว่า ดังนั้นแบบหนาจึงสามารถนาสัญญาณได้ไกลกว่า ได้ไกลถึง 500 เมตร สายโคแอ็กซ์แบบหนาจึงนิยมใช้ในการเชื่อมต่อ เส้นทางหลักของข้อมูล หรือ แบ็คโบน ของเครือข่ายสมัย แรก ๆ แต่ปัจจุบันได้เลิกใช้แล้ว
  • 7. หัวเชือมต่อที่ใช้กับสายโคแอ็กเชียล ่ ทั้งสายแบบบางและแบบหนาจะใช้หัวเชื่อมต่อชนิดเดียวกัน ที่ เรียกว่าหัว BNC ซึ่งใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างสายสัญ ญาณ และเน็ตเวิร์คการ์ด หัวเชื่อมต่อแบบ BNC นี้มีหลายแบบได้แก่ หัวเชื่อมสาย BNC หัวเชื่อมสายรูปตัว T หัวเชื่อมสายแบบ Barrel และตัวสิ้นสุดสัญญาณ
  • 8. ข้อดี 1. ราคาถูก 2. มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน 3. ติดตั้งง่าย และมีน้าหนักเบา ข้อเสีย 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย 2. ระยะทางจากัด