SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
บทที่ 8
การเพิ่มมูลค่าผลผลิต การจัดจาหน่ายและการทาบัญชี
8.1. การเพิ่มมูลค่าผลผลิต
การนาพืชสมุนไพรมาใช้ประโยชน์นั้น พืชสมุนไพรบางชนิดต้องใช้เป็นสมุนไพรสด บาง
ชนิดสามารถใช้เป็นสมุนไพรในรูปแบบสมุนไพรแห้ง หรือพืชสมุนไพรบางอย่างนามาแปรรูปหรือ
สกัดก่อนนามาใช้ อย่างไรก็ตาม สมุนไพรที่นามาใช้นั้นจะต้องมีการผลิตและการดูแลรักษาที่ดี
ตลอดจนการเก็บรักษาที่ดีเพื่อให้ได้สมุนไพรที่ดีมีคุณภาพ การเพิ่มมูลค่าการผลิตนั้นสามารถทาได้
โดยมีขั้นตอนและแนวทางดังนี้
8.1.1 มาตรฐานการผลิตพืชสมุนไพร ในกระบวนการผลิตพืชสมุนไพรและการเก็บเกี่ยว การ
เก็บรักษาพืชสมุนไพร ควรได้รับการตรวจสอบกระบวนการผลิตเพื่อควบคุมคุณภาพให้ได้
มาตรฐานที่ดีและเป็นการรับประกันเพื่อให้ผู้บริโภคได้รับสิ่งที่ดีที่สุด ซึ่งมาตรฐานสมุนไพรด้าน
ต่างๆ ดังนี้
8.1.1.1 สารสาคัญออกฤทธิ์ เป็นคุณลักษณะจาเพาะทางเคมีของสมุนไพร คือ
องค์ประกอบทางเคมี และปริมาณสารที่เป็นตัวออกฤทธิ์สาคัญในสมุนไพรชนิดนั้นๆ สารเคมีใน
สมุนไพรมีหลายชนิด ปริมาณสาระสาคัญต่างๆ ก็เปลี่ยนแปลงไปตามพันธุ์ อายุการเก็บเกี่ยว
กรรมวิธีหลังการเก็บเกี่ยว แต่ปัจจัยที่สาคัญและเกษตรกรสามารถควบคุมได้ คือ อายุเก็บเกี่ยวที่มี
สารสาคัญสูง ซึ่งเกษตรกรจะต้องทราบอายุการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมเพื่อเก็บให้ถูกช่วงเวลาที่ที่มี
สารสาคัญมากที่สุด
8.1.1.2 สิ่งปนปลอม หมายถึง สิ่งอื่นๆ นอกเหนือจากส่วนของพืชที่ต้องการใช้ เช่น
ส่วนของพืช ชนิดอื่น หรือส่วนอื่นของพืช แม้แต่พืชชนิดเดียวกันหากต้องการใช้ใบ ก็ไม่ควรมีกิ่ง
และก้านปนมา รวมทั้งไม่ควรมีกรวด หิน ดิน ทราย ปนมา เป็นต้น โดยทั่วไปควรมีสิ่งแปลกปลอม
ไม่เกิน 2 เปอร์เซ็นต์
8.1.1.3 ความชื้น โดยทั่วไปสมุนไพรควรมีความชื้นไม่เกิน 10 เปอร์เซ็นต์ ยกเว้น
สมุนไพรบางชนิดมีการกาหนดไว้ตามความเหมาะสม สมุนไพรที่มีความชื้นมากเกินไป จะทาให้
เชื้อจุลินทรีย์เติบโตได้ง่าย ทาให้เกิดการสูญเสียสารสาคัญได้ง่าย
8.1.1.4 การปนเปื้อนด้วยจุลินทรีย์เป็นปัญหาหลักของเกษตรกร สมุนไพรที่ปราศจาก
สิ่งปนเปื้อนหรือมีปริมาณ สิ่งปนเปื้อนอยู่ในเกณฑ์ที่ปลอดภัย ก็จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย
ในระยะยาว การปนเปื้อนด้วย จุลินทรีย์ทาให้เกิดการสูญเสียสารสาคัญได้ง่าย เป็นสาเหตุสาคัญที่
ทาให้สมุนไพรมีคุณภาพต่า ได้อนุญาตให้มีการปนเปื้อนด้วยจุลินทรีย์ได้บ้าง แต่ต้องไม่เกินค่า
มาตรฐานที่กาหนดไว้
8.1.1.5 การปนเปื้อนด้วยสารพิษตกค้าง
สมุนไพรไม่ควรมีสารพิษตกค้าง หรืออาจมีได้แต่ต้องไม่เกินค่าที่กาหนดไว้เพราะหากใช้สมุนไพร
ที่ปนเปื้อนเป็นเวลานาน จะเกิดการสะสมของสารพิษในร่างกายได้จึงกาหนด ค่าที่อนุญาตให้มีไว้
ต่ามาก การปนเปื้อนด้วยสารหนูและโลหะหนัก สมุนไพรไม่ควรมีสารหนูและโลหะหนักตกค้าง
หรืออาจมีได้แต่ต้องไม่เกิน ค่าที่กาหนดไว้โลหะหนักที่ควรกาหนดค่ามาตรฐาน ได้แก่ แคดเมี่ยม
ตะกั่ว และสารหนู
ตัวอย่างข้อกาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน กระชายดาแห้ง
มผช.704/2547
ขอบข่าย มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนนี้ครอบคลุมเฉพาะกระชายดาแห้งที่มีกระชายดาเป็น
ส่วนประกอบหลัก อยู่ในลักษณะเป็นชิ้นแห้งและเป็นผง อาจบรรจุในซองเยื่อกระดาษ บรรจุใน
ภาชนะบรรจุ ใช้สาหรับชงเป็นเครื่องดื่ม
บทนิยาม ความหมายของคาที่ใช้ในมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนนี้ กระชายดาแห้ง หมายถึง
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนาเหง้ากระชายดาที่อยู่ในสภาพดีมาล้างให้สะอาด ผึ่งให้แห้งหั่นให้ละเอียด
อบให้แห้ง (dehydration) ในตู้อบแห้ง อาจบดเป็นผง และอาจผสมส่วนผสมอื่นจากธรรมชาติ เช่น
หญ้าปักกิ่ง ใบเตย
วัตถุดิบ ประกอบด้วย เหง้ากระชายดา หญ้าปักกิ่ง ใบเตย
คุณลักษณะที่ต้องการ กระชายดาแห้ง ต้องมีลักษณะต่างๆ ตามที่กาหนด ดังแสดงไว้ในตารางที่ 8.
สุขลักษณะ ด้านสุขลักษณะในการทากระชายดาแห้ง ให้เป็นไปตามคาแนะนาตาม GMP
การบรรจุ ให้บรรจุกระชายดาแห้งในภาชนะบรรจุที่สะอาด ปิดได้สนิท และสามารถป้ องกันการ
ปนเปื้อนจากสิ่งสกปรกภายนอกได้ น้าหนักสุทธิของกระชายดาแห้งในแต่ละภาชนะบรรจุ ต้องไม่
น้อยกว่าที่ระบุไว้ที่ฉลาก
เครื่องหมายและฉลาก ที่ภาชนะบรรจุกระชายดาแห้งทุกหน่วย อย่างน้อยต้องมีเลข อักษร หรือ
เครื่องหมายแจ้งรายละเอียดต่อไปนี้ให้เห็นได้ง่าย ชัดเจน
ตารางที่ 8. แสดงคุณลักษณะที่ต้องการของกระชายดาแห้งตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
กายภาพ เคมี จุลินทรีย์ ประสาทสัมผัส
1. เป็นชิ้นหรือ
เป็นผง
1. ความชื้น ต้อง
ไม่เกินร้อยละ
7.0 โดยน้าหนัก
1. จานวน
จุลินทรีย์ทั้งหมด
ต้องไม่เกิน
1 × 104 โคโลนี
ต่อตัวอย่าง 1 กรัม
1.มีกลิ่นรสที่ดีตามธรรมชาติของ
ส่วนประกอบที่ใช้ ปราศจากกลิ่น
รสอื่นที่ไม่พึงประสงค์
2. แห้ง ไม่จับ
ตัวเป็นก้อน
2. การเจือสี ต้อง
ไม่พบการเจือสี
ใดๆ
2. ยีสต์และรา
ต้องน้อยกว่า 10
โคโลนีต่อ
ตัวอย่าง 1 กรัม
2. มีสีที่ดีตามธรรมชาติของ
ส่วนประกอบที่ใช้
3. สารปนเปื้อน-
ตะกั่ว ต้องไม่
เกิน 2.5
มิลลิกรัมต่อ
กิโลกรัม
สารหนู ต้องไม่
เกิน 1 มิลลิกรัม
ต่อกิโลกรัม
3. การสกัดด้วยน้าเดือดของเหลวที่
ได้ต้องมีลักษณะที่ดีตามธรรมชาติ
ของส่วนประกอบที่ใช้ เมื่อ
ตรวจสอบโดยวิธีให้คะแนนแล้ว
ต้องได้คะแนนเฉลี่ยของแต่ละ
ลักษณะจากผู้ตรวจสอบทุกคนไม่
น้อยกว่า 3 คะแนน และไม่มี
ลักษณะใดได้1 คะแนน จากผู้
ตรวจสอบคนใดคนหนึ่ง
4. ต้องไม่พบสิ่งแปลกปลอมที่
ไม่ใช่ส่วนประกอบที่ใช้ เช่น เส้น
ผม ดิน ทราย กรวด ชิ้นส่วนหรือ
สิ่งปฏิกูลจากสัตว์
ที่มา : ดัดแปลงจากพิมพ์เพ็ญและนิธิยา (ม.ป.ป.)
บทที่8 พืชสมุนไพร

More Related Content

Viewers also liked

Model pembelajaran kontekstual
Model pembelajaran kontekstualModel pembelajaran kontekstual
Model pembelajaran kontekstualHarry Sugiarto
 
Reflective space
Reflective spaceReflective space
Reflective spacedrhanadi
 
Textbook Campaign
Textbook CampaignTextbook Campaign
Textbook CampaignMSCSA
 
Advising
AdvisingAdvising
AdvisingMSCSA
 
Legislative Session Review and a Look Ahead
Legislative Session Review and a Look AheadLegislative Session Review and a Look Ahead
Legislative Session Review and a Look AheadMSCSA
 
Using Student Life Funds
Using Student Life FundsUsing Student Life Funds
Using Student Life FundsMSCSA
 
Using Student Life Funds
Using Student Life FundsUsing Student Life Funds
Using Student Life FundsMSCSA
 
Design Patterns (by Joel Funu at DevCongress 2013)
Design Patterns (by Joel Funu at DevCongress 2013)Design Patterns (by Joel Funu at DevCongress 2013)
Design Patterns (by Joel Funu at DevCongress 2013)DevCongress
 
Geography - 5 minerals and energy resources
 Geography - 5 minerals and energy resources Geography - 5 minerals and energy resources
Geography - 5 minerals and energy resourcesVinod Pralhad Sonawane
 

Viewers also liked (9)

Model pembelajaran kontekstual
Model pembelajaran kontekstualModel pembelajaran kontekstual
Model pembelajaran kontekstual
 
Reflective space
Reflective spaceReflective space
Reflective space
 
Textbook Campaign
Textbook CampaignTextbook Campaign
Textbook Campaign
 
Advising
AdvisingAdvising
Advising
 
Legislative Session Review and a Look Ahead
Legislative Session Review and a Look AheadLegislative Session Review and a Look Ahead
Legislative Session Review and a Look Ahead
 
Using Student Life Funds
Using Student Life FundsUsing Student Life Funds
Using Student Life Funds
 
Using Student Life Funds
Using Student Life FundsUsing Student Life Funds
Using Student Life Funds
 
Design Patterns (by Joel Funu at DevCongress 2013)
Design Patterns (by Joel Funu at DevCongress 2013)Design Patterns (by Joel Funu at DevCongress 2013)
Design Patterns (by Joel Funu at DevCongress 2013)
 
Geography - 5 minerals and energy resources
 Geography - 5 minerals and energy resources Geography - 5 minerals and energy resources
Geography - 5 minerals and energy resources
 

บทที่8 พืชสมุนไพร

  • 1. บทที่ 8 การเพิ่มมูลค่าผลผลิต การจัดจาหน่ายและการทาบัญชี 8.1. การเพิ่มมูลค่าผลผลิต การนาพืชสมุนไพรมาใช้ประโยชน์นั้น พืชสมุนไพรบางชนิดต้องใช้เป็นสมุนไพรสด บาง ชนิดสามารถใช้เป็นสมุนไพรในรูปแบบสมุนไพรแห้ง หรือพืชสมุนไพรบางอย่างนามาแปรรูปหรือ สกัดก่อนนามาใช้ อย่างไรก็ตาม สมุนไพรที่นามาใช้นั้นจะต้องมีการผลิตและการดูแลรักษาที่ดี ตลอดจนการเก็บรักษาที่ดีเพื่อให้ได้สมุนไพรที่ดีมีคุณภาพ การเพิ่มมูลค่าการผลิตนั้นสามารถทาได้ โดยมีขั้นตอนและแนวทางดังนี้ 8.1.1 มาตรฐานการผลิตพืชสมุนไพร ในกระบวนการผลิตพืชสมุนไพรและการเก็บเกี่ยว การ เก็บรักษาพืชสมุนไพร ควรได้รับการตรวจสอบกระบวนการผลิตเพื่อควบคุมคุณภาพให้ได้ มาตรฐานที่ดีและเป็นการรับประกันเพื่อให้ผู้บริโภคได้รับสิ่งที่ดีที่สุด ซึ่งมาตรฐานสมุนไพรด้าน ต่างๆ ดังนี้ 8.1.1.1 สารสาคัญออกฤทธิ์ เป็นคุณลักษณะจาเพาะทางเคมีของสมุนไพร คือ องค์ประกอบทางเคมี และปริมาณสารที่เป็นตัวออกฤทธิ์สาคัญในสมุนไพรชนิดนั้นๆ สารเคมีใน สมุนไพรมีหลายชนิด ปริมาณสาระสาคัญต่างๆ ก็เปลี่ยนแปลงไปตามพันธุ์ อายุการเก็บเกี่ยว กรรมวิธีหลังการเก็บเกี่ยว แต่ปัจจัยที่สาคัญและเกษตรกรสามารถควบคุมได้ คือ อายุเก็บเกี่ยวที่มี สารสาคัญสูง ซึ่งเกษตรกรจะต้องทราบอายุการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมเพื่อเก็บให้ถูกช่วงเวลาที่ที่มี สารสาคัญมากที่สุด 8.1.1.2 สิ่งปนปลอม หมายถึง สิ่งอื่นๆ นอกเหนือจากส่วนของพืชที่ต้องการใช้ เช่น ส่วนของพืช ชนิดอื่น หรือส่วนอื่นของพืช แม้แต่พืชชนิดเดียวกันหากต้องการใช้ใบ ก็ไม่ควรมีกิ่ง และก้านปนมา รวมทั้งไม่ควรมีกรวด หิน ดิน ทราย ปนมา เป็นต้น โดยทั่วไปควรมีสิ่งแปลกปลอม ไม่เกิน 2 เปอร์เซ็นต์ 8.1.1.3 ความชื้น โดยทั่วไปสมุนไพรควรมีความชื้นไม่เกิน 10 เปอร์เซ็นต์ ยกเว้น สมุนไพรบางชนิดมีการกาหนดไว้ตามความเหมาะสม สมุนไพรที่มีความชื้นมากเกินไป จะทาให้ เชื้อจุลินทรีย์เติบโตได้ง่าย ทาให้เกิดการสูญเสียสารสาคัญได้ง่าย 8.1.1.4 การปนเปื้อนด้วยจุลินทรีย์เป็นปัญหาหลักของเกษตรกร สมุนไพรที่ปราศจาก สิ่งปนเปื้อนหรือมีปริมาณ สิ่งปนเปื้อนอยู่ในเกณฑ์ที่ปลอดภัย ก็จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย ในระยะยาว การปนเปื้อนด้วย จุลินทรีย์ทาให้เกิดการสูญเสียสารสาคัญได้ง่าย เป็นสาเหตุสาคัญที่ ทาให้สมุนไพรมีคุณภาพต่า ได้อนุญาตให้มีการปนเปื้อนด้วยจุลินทรีย์ได้บ้าง แต่ต้องไม่เกินค่า มาตรฐานที่กาหนดไว้
  • 2. 8.1.1.5 การปนเปื้อนด้วยสารพิษตกค้าง สมุนไพรไม่ควรมีสารพิษตกค้าง หรืออาจมีได้แต่ต้องไม่เกินค่าที่กาหนดไว้เพราะหากใช้สมุนไพร ที่ปนเปื้อนเป็นเวลานาน จะเกิดการสะสมของสารพิษในร่างกายได้จึงกาหนด ค่าที่อนุญาตให้มีไว้ ต่ามาก การปนเปื้อนด้วยสารหนูและโลหะหนัก สมุนไพรไม่ควรมีสารหนูและโลหะหนักตกค้าง หรืออาจมีได้แต่ต้องไม่เกิน ค่าที่กาหนดไว้โลหะหนักที่ควรกาหนดค่ามาตรฐาน ได้แก่ แคดเมี่ยม ตะกั่ว และสารหนู ตัวอย่างข้อกาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน กระชายดาแห้ง มผช.704/2547 ขอบข่าย มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนนี้ครอบคลุมเฉพาะกระชายดาแห้งที่มีกระชายดาเป็น ส่วนประกอบหลัก อยู่ในลักษณะเป็นชิ้นแห้งและเป็นผง อาจบรรจุในซองเยื่อกระดาษ บรรจุใน ภาชนะบรรจุ ใช้สาหรับชงเป็นเครื่องดื่ม บทนิยาม ความหมายของคาที่ใช้ในมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนนี้ กระชายดาแห้ง หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนาเหง้ากระชายดาที่อยู่ในสภาพดีมาล้างให้สะอาด ผึ่งให้แห้งหั่นให้ละเอียด อบให้แห้ง (dehydration) ในตู้อบแห้ง อาจบดเป็นผง และอาจผสมส่วนผสมอื่นจากธรรมชาติ เช่น หญ้าปักกิ่ง ใบเตย วัตถุดิบ ประกอบด้วย เหง้ากระชายดา หญ้าปักกิ่ง ใบเตย คุณลักษณะที่ต้องการ กระชายดาแห้ง ต้องมีลักษณะต่างๆ ตามที่กาหนด ดังแสดงไว้ในตารางที่ 8. สุขลักษณะ ด้านสุขลักษณะในการทากระชายดาแห้ง ให้เป็นไปตามคาแนะนาตาม GMP การบรรจุ ให้บรรจุกระชายดาแห้งในภาชนะบรรจุที่สะอาด ปิดได้สนิท และสามารถป้ องกันการ ปนเปื้อนจากสิ่งสกปรกภายนอกได้ น้าหนักสุทธิของกระชายดาแห้งในแต่ละภาชนะบรรจุ ต้องไม่ น้อยกว่าที่ระบุไว้ที่ฉลาก เครื่องหมายและฉลาก ที่ภาชนะบรรจุกระชายดาแห้งทุกหน่วย อย่างน้อยต้องมีเลข อักษร หรือ เครื่องหมายแจ้งรายละเอียดต่อไปนี้ให้เห็นได้ง่าย ชัดเจน
  • 3. ตารางที่ 8. แสดงคุณลักษณะที่ต้องการของกระชายดาแห้งตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน กายภาพ เคมี จุลินทรีย์ ประสาทสัมผัส 1. เป็นชิ้นหรือ เป็นผง 1. ความชื้น ต้อง ไม่เกินร้อยละ 7.0 โดยน้าหนัก 1. จานวน จุลินทรีย์ทั้งหมด ต้องไม่เกิน 1 × 104 โคโลนี ต่อตัวอย่าง 1 กรัม 1.มีกลิ่นรสที่ดีตามธรรมชาติของ ส่วนประกอบที่ใช้ ปราศจากกลิ่น รสอื่นที่ไม่พึงประสงค์ 2. แห้ง ไม่จับ ตัวเป็นก้อน 2. การเจือสี ต้อง ไม่พบการเจือสี ใดๆ 2. ยีสต์และรา ต้องน้อยกว่า 10 โคโลนีต่อ ตัวอย่าง 1 กรัม 2. มีสีที่ดีตามธรรมชาติของ ส่วนประกอบที่ใช้ 3. สารปนเปื้อน- ตะกั่ว ต้องไม่ เกิน 2.5 มิลลิกรัมต่อ กิโลกรัม สารหนู ต้องไม่ เกิน 1 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม 3. การสกัดด้วยน้าเดือดของเหลวที่ ได้ต้องมีลักษณะที่ดีตามธรรมชาติ ของส่วนประกอบที่ใช้ เมื่อ ตรวจสอบโดยวิธีให้คะแนนแล้ว ต้องได้คะแนนเฉลี่ยของแต่ละ ลักษณะจากผู้ตรวจสอบทุกคนไม่ น้อยกว่า 3 คะแนน และไม่มี ลักษณะใดได้1 คะแนน จากผู้ ตรวจสอบคนใดคนหนึ่ง 4. ต้องไม่พบสิ่งแปลกปลอมที่ ไม่ใช่ส่วนประกอบที่ใช้ เช่น เส้น ผม ดิน ทราย กรวด ชิ้นส่วนหรือ สิ่งปฏิกูลจากสัตว์ ที่มา : ดัดแปลงจากพิมพ์เพ็ญและนิธิยา (ม.ป.ป.)