SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
Download to read offline
ประวัติของการดมยาสลบ โดย คุณหญิง แพทย์หญิงสลาด ทัพวงศ์ และนายแพทย์เกษียร ภังตานนท์

      การดมยาสลบที่กล่าวได้ว่าเป็นรากฐานของการให้ยาดมสลบในปัจจุบันนี้ เริ่มต้นในคริสต์ศตวรรษที่ ๑๘ เมื่อก๊าซไน
ทรัสออกไซด์ ถูกค้นพบโดยพริสต์เลย์ (Joseph Priestley, ค.ศ.๑๗๓๓-๑๘๐๔) ในปี พ.ศ. ๒๓๑๕ แต่ในเวลานันยังไม่ทราบ
                                                                                              ้
ว่าก๊าซตัวนี้มีคุณสมบัติระงับความเจ็บปวดได้ จนกระทั่งในปี พ.ศ.๒๓๔๓ เดวี จึงค้นพบฤทธิ์ระงับความเจ็บปวด และเรียก
ก๊าซนี้ว่าก๊าซหัวเราะ (laughing gas) ต่อจากนั้นมาก็มีการค้นคว้าและนาเอาอีเทอร์ คลอโรฟอร์ม และ เอทิลคลอไรด์ มาใช้
เป็นยาดมสลบ ในระยะแรก ๆ ก็ใช้ในการถอนฟัน โดยให้แบบหยด (open drop)ต่อมาเมื่อ ฮอเรซ เวลส์ สร้างเครื่องดมยา
ด้ายก๊าซไนทรัสออกไซด์ได้ (พ.ศ. ๒๓๘๗) จึงเป็นความคิดริเริ่มของนักวิทยาศาสตร์ที่จะประดิษฐ์เครื่องดมยาขึ้นมา ซึ่ง
เซอร์ เฟรเดริก เฮวิตต์ (Sir Frederic Hewitt, ค.ศ. ๑๘๘๗) ได้ประดิษฐ์เครื่องดมยาเครื่องแรกขึ้น แต่ในเวลานั้นก็ไม่เป็นที่
นิยมใช้ เพราะแพทย์ส่วนมากยังนิยมใช้แบบหยดกันอยู่

      นอกจากการทาให้ผู้ป่วยหลับ และไม่รู้สึกเจ็บปวดระหว่างถอนฟัน ผ่าตัด หรือขณะคลอดบุตรแล้ว ก็ยังมีผู้พยายามคิด
หาวิธีอื่นที่ผู้ป่วยไม่ต้องหลับแต่ไม่เจ็บปวดขณะทาการผ่าตัด ซึ่งคาร์ล ลุดวิก ชไลค์ (Karl Ludwig Schleich) ทาสาเร็จโดย
การฉีดยาชาเฉพาะที่ในปี พ.ศ. ๒๔๓๕ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๔๑ ไบเออร์ (Bier) ก็เป็นคนแรกที่ฉีดยาเข้าช่องไขสันหลังทา
ให้เกิดการชาครึ่งล่างของร่างกายสาเร็จ ต่อจากนั้นมาการใช้ยาชาโปรเคน (procaine) และโคเคน (cocaine) ก็ทากันเรื่อยมา
ปัจจุบันมียาชาตัวใหม่ๆ ที่มีคุณสมบัติที่ดีและเหมาะสมที่จะใช้กับผู้ป่วยหลายตัว เช่น ไลโดเคน บิวปิวาเคน คลอโรโปรเคน
เททระเคนเมปิวาเคน และเอติโดเคน(lidocaine,bupivacaine, chloroprocaine,tetracaine, mepivacaine และ etidocaine) เป็น
ต้น
การให้ยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดานั้นเริ่มต้นจากปี พ.ศ.๒๔๔๖ โดย เอมิล ฟิสเชอร์ (Emil Fischer, ค.ศ. ๑๘๕๒ - ๑๙๑๙
ชาวเยอรมัน) ได้สังเคราะห์ยานอนหลับ บาร์บิทูเรท (barbiturate)ตัวแรกขึ้นมาคือ บาร์บิโทน หรือ เวอโรนัล (barbitone or
veronal)ต่อมา เปอร์นอกตอน (Pernocton) ก็ได้แนะนาให้ใช้ยานอนหลับนี้เป็นยานาให้หลับก่อน (Induction of anesthesia)
ซึ่งปัจจุบันนี้ เราก็ใช้ไทโอบาร์บิทูเรท (thiobarbiturate) ซึ่งมีการออกฤทธิ์ที่เร็วมากเป็นตัวยานาสลบก่อน

      จากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ จึงมีการค้นพบยาดมสลบตัวใหม่ๆ ซึ่งมีคุณสมบัติและคุณภาพดีกว่า
และปลอดภัยกว่ายาตัวเก่า ยาที่กล่าวนี้ได้แก่ เมทอกไซฟลูเรน (methoxyflurane) ผลิตขึ้นโดยลาร์เซน (Larsen) ในปี พ.ศ.
๒๕๐๑ ฟลูรอกเซน (fluroxene) สังเคราะห์ได้โดย แกรนทซ์ (Krantz)พ.ศ. ๒๔๙๗ ฮาโลเทน (halothane) ซึ่งเป็นที่นิยมใช้
กันมากในปัจจุบัน ถูกสังเคราะห์ขึ้นโดยซักคลิง (Suckling) ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๙๔-๒๔๙๙ ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๐๓ เทอร์
เรลล์ (Terrell)ก็สังเคราะห์ เอนฟลูเรน (enflurane) ขึ้นมาเป็นที่นิยมใช้พอๆ กับฮาโลเทน และหลังสุดคือปี พ.ศ. ๒๕๐๘ ยา
ดมสลบ ไอโซฟลูเรน (isoflurane) ก็ถูกสังเคราะห์ขึ้นมา

      ในประเทศไทย การดมยาในสมัยแรกเราใช้อีเทอร์ และคลอโรฟอร์ม ต่อมาเมื่อมียาตัวใหม่ที่ออกฤทธิ์เร็วกว่า ดีกว่ามี
ผลแทรกซ้อนเกิดขึ้นน้อยกว่าก็ได้นามาใช้แทน ยาเหล่านั้น มีทั้งยาให้ดมสลบ เช่น ฮาโลเทน ใช้ร่วมกับ ไนทรัสออกไซด์ ยา
ฉีดเข้าหลอดเลือดดา เช่น ไทโอเพนโทน วาเลียม มอร์ฟน เฟนตานีล (thiopentone, valium, morphine, fentanyl) ใช้ร่วมกับ
                                                ี
ยาหย่อนกล้ามเนื้อ และในผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ในการให้ยาชาเฉพาะที่ก็ใช้ยาชาไลโดเคน และ บิวปิวาเคน ซึ่งได้ผลดี

More Related Content

More from pyopyo

ประกาศผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงาน
ประกาศผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงานประกาศผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงาน
ประกาศผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงานpyopyo
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจpyopyo
 
ตารางบรรยายวิชาภาษาอังกฤษ วิทยาลัยสหวิทยาการ
ตารางบรรยายวิชาภาษาอังกฤษ วิทยาลัยสหวิทยาการ ตารางบรรยายวิชาภาษาอังกฤษ วิทยาลัยสหวิทยาการ
ตารางบรรยายวิชาภาษาอังกฤษ วิทยาลัยสหวิทยาการ pyopyo
 
กำหนดการ งานพระราชทานปริญญาบัตร
กำหนดการ งานพระราชทานปริญญาบัตรกำหนดการ งานพระราชทานปริญญาบัตร
กำหนดการ งานพระราชทานปริญญาบัตรpyopyo
 
ขายทอดตลาดพัสดุชำรุด
ขายทอดตลาดพัสดุชำรุด ขายทอดตลาดพัสดุชำรุด
ขายทอดตลาดพัสดุชำรุด pyopyo
 
จัดกลุ่มเรียนวิชาภาษาอังกฤษ PPE 2557
จัดกลุ่มเรียนวิชาภาษาอังกฤษ PPE 2557จัดกลุ่มเรียนวิชาภาษาอังกฤษ PPE 2557
จัดกลุ่มเรียนวิชาภาษาอังกฤษ PPE 2557pyopyo
 
กฎหมายแรงงานน่ารู้
กฎหมายแรงงานน่ารู้กฎหมายแรงงานน่ารู้
กฎหมายแรงงานน่ารู้pyopyo
 
รายชื่อผู้ยืนยันสิทธิ์เข้าศึกษาต่อ PPE
รายชื่อผู้ยืนยันสิทธิ์เข้าศึกษาต่อ PPEรายชื่อผู้ยืนยันสิทธิ์เข้าศึกษาต่อ PPE
รายชื่อผู้ยืนยันสิทธิ์เข้าศึกษาต่อ PPEpyopyo
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธ์สอบจิตวิทยา สหวิยาการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธ์สอบจิตวิทยา สหวิยาการประกาศรายชื่อผู้มีสิทธ์สอบจิตวิทยา สหวิยาการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธ์สอบจิตวิทยา สหวิยาการpyopyo
 
รายวิชาที่เปิดสอนปีการศึกษา 2557
รายวิชาที่เปิดสอนปีการศึกษา 2557 รายวิชาที่เปิดสอนปีการศึกษา 2557
รายวิชาที่เปิดสอนปีการศึกษา 2557 pyopyo
 
ตารางสอน ภาค1
ตารางสอน ภาค1ตารางสอน ภาค1
ตารางสอน ภาค1pyopyo
 
แบบฟอร์มหนังสือยืนยันสิทธิ สหวิทย์ ลำปาง
แบบฟอร์มหนังสือยืนยันสิทธิ สหวิทย์ ลำปางแบบฟอร์มหนังสือยืนยันสิทธิ สหวิทย์ ลำปาง
แบบฟอร์มหนังสือยืนยันสิทธิ สหวิทย์ ลำปางpyopyo
 
ประกาศผ่านการคัดเลือก สหวิทลำปาง
ประกาศผ่านการคัดเลือก สหวิทลำปางประกาศผ่านการคัดเลือก สหวิทลำปาง
ประกาศผ่านการคัดเลือก สหวิทลำปางpyopyo
 
ประกาศสัมภาษณ์ สหวิทยาการ ลำปาง
ประกาศสัมภาษณ์ สหวิทยาการ ลำปาง ประกาศสัมภาษณ์ สหวิทยาการ ลำปาง
ประกาศสัมภาษณ์ สหวิทยาการ ลำปาง pyopyo
 
ประกาศรับตรงโครงการ Ppe 57 ลำปาง (ขยายเวลารับสมัคร)
ประกาศรับตรงโครงการ Ppe 57  ลำปาง (ขยายเวลารับสมัคร)ประกาศรับตรงโครงการ Ppe 57  ลำปาง (ขยายเวลารับสมัคร)
ประกาศรับตรงโครงการ Ppe 57 ลำปาง (ขยายเวลารับสมัคร)pyopyo
 
จดทะเบียนรายวิชาภาคเรียนที่ 1 / 2557
จดทะเบียนรายวิชาภาคเรียนที่ 1 / 2557จดทะเบียนรายวิชาภาคเรียนที่ 1 / 2557
จดทะเบียนรายวิชาภาคเรียนที่ 1 / 2557pyopyo
 
ประกาศรายวิชาที่เปิดสอนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
ประกาศรายวิชาที่เปิดสอนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557ประกาศรายวิชาที่เปิดสอนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
ประกาศรายวิชาที่เปิดสอนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557pyopyo
 
รายงานการตรวจร่างกาย
รายงานการตรวจร่างกายรายงานการตรวจร่างกาย
รายงานการตรวจร่างกายpyopyo
 
ประกาศผู้ผ่านข้อเขียน 3 อัตรา 57
ประกาศผู้ผ่านข้อเขียน 3 อัตรา 57ประกาศผู้ผ่านข้อเขียน 3 อัตรา 57
ประกาศผู้ผ่านข้อเขียน 3 อัตรา 57pyopyo
 
ขยายเวลารับสมัครอาจารย์ไทย
ขยายเวลารับสมัครอาจารย์ไทยขยายเวลารับสมัครอาจารย์ไทย
ขยายเวลารับสมัครอาจารย์ไทยpyopyo
 

More from pyopyo (20)

ประกาศผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงาน
ประกาศผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงานประกาศผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงาน
ประกาศผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงาน
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
ตารางบรรยายวิชาภาษาอังกฤษ วิทยาลัยสหวิทยาการ
ตารางบรรยายวิชาภาษาอังกฤษ วิทยาลัยสหวิทยาการ ตารางบรรยายวิชาภาษาอังกฤษ วิทยาลัยสหวิทยาการ
ตารางบรรยายวิชาภาษาอังกฤษ วิทยาลัยสหวิทยาการ
 
กำหนดการ งานพระราชทานปริญญาบัตร
กำหนดการ งานพระราชทานปริญญาบัตรกำหนดการ งานพระราชทานปริญญาบัตร
กำหนดการ งานพระราชทานปริญญาบัตร
 
ขายทอดตลาดพัสดุชำรุด
ขายทอดตลาดพัสดุชำรุด ขายทอดตลาดพัสดุชำรุด
ขายทอดตลาดพัสดุชำรุด
 
จัดกลุ่มเรียนวิชาภาษาอังกฤษ PPE 2557
จัดกลุ่มเรียนวิชาภาษาอังกฤษ PPE 2557จัดกลุ่มเรียนวิชาภาษาอังกฤษ PPE 2557
จัดกลุ่มเรียนวิชาภาษาอังกฤษ PPE 2557
 
กฎหมายแรงงานน่ารู้
กฎหมายแรงงานน่ารู้กฎหมายแรงงานน่ารู้
กฎหมายแรงงานน่ารู้
 
รายชื่อผู้ยืนยันสิทธิ์เข้าศึกษาต่อ PPE
รายชื่อผู้ยืนยันสิทธิ์เข้าศึกษาต่อ PPEรายชื่อผู้ยืนยันสิทธิ์เข้าศึกษาต่อ PPE
รายชื่อผู้ยืนยันสิทธิ์เข้าศึกษาต่อ PPE
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธ์สอบจิตวิทยา สหวิยาการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธ์สอบจิตวิทยา สหวิยาการประกาศรายชื่อผู้มีสิทธ์สอบจิตวิทยา สหวิยาการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธ์สอบจิตวิทยา สหวิยาการ
 
รายวิชาที่เปิดสอนปีการศึกษา 2557
รายวิชาที่เปิดสอนปีการศึกษา 2557 รายวิชาที่เปิดสอนปีการศึกษา 2557
รายวิชาที่เปิดสอนปีการศึกษา 2557
 
ตารางสอน ภาค1
ตารางสอน ภาค1ตารางสอน ภาค1
ตารางสอน ภาค1
 
แบบฟอร์มหนังสือยืนยันสิทธิ สหวิทย์ ลำปาง
แบบฟอร์มหนังสือยืนยันสิทธิ สหวิทย์ ลำปางแบบฟอร์มหนังสือยืนยันสิทธิ สหวิทย์ ลำปาง
แบบฟอร์มหนังสือยืนยันสิทธิ สหวิทย์ ลำปาง
 
ประกาศผ่านการคัดเลือก สหวิทลำปาง
ประกาศผ่านการคัดเลือก สหวิทลำปางประกาศผ่านการคัดเลือก สหวิทลำปาง
ประกาศผ่านการคัดเลือก สหวิทลำปาง
 
ประกาศสัมภาษณ์ สหวิทยาการ ลำปาง
ประกาศสัมภาษณ์ สหวิทยาการ ลำปาง ประกาศสัมภาษณ์ สหวิทยาการ ลำปาง
ประกาศสัมภาษณ์ สหวิทยาการ ลำปาง
 
ประกาศรับตรงโครงการ Ppe 57 ลำปาง (ขยายเวลารับสมัคร)
ประกาศรับตรงโครงการ Ppe 57  ลำปาง (ขยายเวลารับสมัคร)ประกาศรับตรงโครงการ Ppe 57  ลำปาง (ขยายเวลารับสมัคร)
ประกาศรับตรงโครงการ Ppe 57 ลำปาง (ขยายเวลารับสมัคร)
 
จดทะเบียนรายวิชาภาคเรียนที่ 1 / 2557
จดทะเบียนรายวิชาภาคเรียนที่ 1 / 2557จดทะเบียนรายวิชาภาคเรียนที่ 1 / 2557
จดทะเบียนรายวิชาภาคเรียนที่ 1 / 2557
 
ประกาศรายวิชาที่เปิดสอนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
ประกาศรายวิชาที่เปิดสอนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557ประกาศรายวิชาที่เปิดสอนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
ประกาศรายวิชาที่เปิดสอนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
 
รายงานการตรวจร่างกาย
รายงานการตรวจร่างกายรายงานการตรวจร่างกาย
รายงานการตรวจร่างกาย
 
ประกาศผู้ผ่านข้อเขียน 3 อัตรา 57
ประกาศผู้ผ่านข้อเขียน 3 อัตรา 57ประกาศผู้ผ่านข้อเขียน 3 อัตรา 57
ประกาศผู้ผ่านข้อเขียน 3 อัตรา 57
 
ขยายเวลารับสมัครอาจารย์ไทย
ขยายเวลารับสมัครอาจารย์ไทยขยายเวลารับสมัครอาจารย์ไทย
ขยายเวลารับสมัครอาจารย์ไทย
 

ที่มาของยาสลบ

  • 1. ประวัติของการดมยาสลบ โดย คุณหญิง แพทย์หญิงสลาด ทัพวงศ์ และนายแพทย์เกษียร ภังตานนท์ การดมยาสลบที่กล่าวได้ว่าเป็นรากฐานของการให้ยาดมสลบในปัจจุบันนี้ เริ่มต้นในคริสต์ศตวรรษที่ ๑๘ เมื่อก๊าซไน ทรัสออกไซด์ ถูกค้นพบโดยพริสต์เลย์ (Joseph Priestley, ค.ศ.๑๗๓๓-๑๘๐๔) ในปี พ.ศ. ๒๓๑๕ แต่ในเวลานันยังไม่ทราบ ้ ว่าก๊าซตัวนี้มีคุณสมบัติระงับความเจ็บปวดได้ จนกระทั่งในปี พ.ศ.๒๓๔๓ เดวี จึงค้นพบฤทธิ์ระงับความเจ็บปวด และเรียก ก๊าซนี้ว่าก๊าซหัวเราะ (laughing gas) ต่อจากนั้นมาก็มีการค้นคว้าและนาเอาอีเทอร์ คลอโรฟอร์ม และ เอทิลคลอไรด์ มาใช้ เป็นยาดมสลบ ในระยะแรก ๆ ก็ใช้ในการถอนฟัน โดยให้แบบหยด (open drop)ต่อมาเมื่อ ฮอเรซ เวลส์ สร้างเครื่องดมยา ด้ายก๊าซไนทรัสออกไซด์ได้ (พ.ศ. ๒๓๘๗) จึงเป็นความคิดริเริ่มของนักวิทยาศาสตร์ที่จะประดิษฐ์เครื่องดมยาขึ้นมา ซึ่ง เซอร์ เฟรเดริก เฮวิตต์ (Sir Frederic Hewitt, ค.ศ. ๑๘๘๗) ได้ประดิษฐ์เครื่องดมยาเครื่องแรกขึ้น แต่ในเวลานั้นก็ไม่เป็นที่ นิยมใช้ เพราะแพทย์ส่วนมากยังนิยมใช้แบบหยดกันอยู่ นอกจากการทาให้ผู้ป่วยหลับ และไม่รู้สึกเจ็บปวดระหว่างถอนฟัน ผ่าตัด หรือขณะคลอดบุตรแล้ว ก็ยังมีผู้พยายามคิด หาวิธีอื่นที่ผู้ป่วยไม่ต้องหลับแต่ไม่เจ็บปวดขณะทาการผ่าตัด ซึ่งคาร์ล ลุดวิก ชไลค์ (Karl Ludwig Schleich) ทาสาเร็จโดย การฉีดยาชาเฉพาะที่ในปี พ.ศ. ๒๔๓๕ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๔๑ ไบเออร์ (Bier) ก็เป็นคนแรกที่ฉีดยาเข้าช่องไขสันหลังทา ให้เกิดการชาครึ่งล่างของร่างกายสาเร็จ ต่อจากนั้นมาการใช้ยาชาโปรเคน (procaine) และโคเคน (cocaine) ก็ทากันเรื่อยมา ปัจจุบันมียาชาตัวใหม่ๆ ที่มีคุณสมบัติที่ดีและเหมาะสมที่จะใช้กับผู้ป่วยหลายตัว เช่น ไลโดเคน บิวปิวาเคน คลอโรโปรเคน เททระเคนเมปิวาเคน และเอติโดเคน(lidocaine,bupivacaine, chloroprocaine,tetracaine, mepivacaine และ etidocaine) เป็น ต้น การให้ยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดานั้นเริ่มต้นจากปี พ.ศ.๒๔๔๖ โดย เอมิล ฟิสเชอร์ (Emil Fischer, ค.ศ. ๑๘๕๒ - ๑๙๑๙ ชาวเยอรมัน) ได้สังเคราะห์ยานอนหลับ บาร์บิทูเรท (barbiturate)ตัวแรกขึ้นมาคือ บาร์บิโทน หรือ เวอโรนัล (barbitone or veronal)ต่อมา เปอร์นอกตอน (Pernocton) ก็ได้แนะนาให้ใช้ยานอนหลับนี้เป็นยานาให้หลับก่อน (Induction of anesthesia) ซึ่งปัจจุบันนี้ เราก็ใช้ไทโอบาร์บิทูเรท (thiobarbiturate) ซึ่งมีการออกฤทธิ์ที่เร็วมากเป็นตัวยานาสลบก่อน จากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ จึงมีการค้นพบยาดมสลบตัวใหม่ๆ ซึ่งมีคุณสมบัติและคุณภาพดีกว่า และปลอดภัยกว่ายาตัวเก่า ยาที่กล่าวนี้ได้แก่ เมทอกไซฟลูเรน (methoxyflurane) ผลิตขึ้นโดยลาร์เซน (Larsen) ในปี พ.ศ. ๒๕๐๑ ฟลูรอกเซน (fluroxene) สังเคราะห์ได้โดย แกรนทซ์ (Krantz)พ.ศ. ๒๔๙๗ ฮาโลเทน (halothane) ซึ่งเป็นที่นิยมใช้ กันมากในปัจจุบัน ถูกสังเคราะห์ขึ้นโดยซักคลิง (Suckling) ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๙๔-๒๔๙๙ ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๐๓ เทอร์ เรลล์ (Terrell)ก็สังเคราะห์ เอนฟลูเรน (enflurane) ขึ้นมาเป็นที่นิยมใช้พอๆ กับฮาโลเทน และหลังสุดคือปี พ.ศ. ๒๕๐๘ ยา ดมสลบ ไอโซฟลูเรน (isoflurane) ก็ถูกสังเคราะห์ขึ้นมา ในประเทศไทย การดมยาในสมัยแรกเราใช้อีเทอร์ และคลอโรฟอร์ม ต่อมาเมื่อมียาตัวใหม่ที่ออกฤทธิ์เร็วกว่า ดีกว่ามี ผลแทรกซ้อนเกิดขึ้นน้อยกว่าก็ได้นามาใช้แทน ยาเหล่านั้น มีทั้งยาให้ดมสลบ เช่น ฮาโลเทน ใช้ร่วมกับ ไนทรัสออกไซด์ ยา ฉีดเข้าหลอดเลือดดา เช่น ไทโอเพนโทน วาเลียม มอร์ฟน เฟนตานีล (thiopentone, valium, morphine, fentanyl) ใช้ร่วมกับ ี ยาหย่อนกล้ามเนื้อ และในผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ในการให้ยาชาเฉพาะที่ก็ใช้ยาชาไลโดเคน และ บิวปิวาเคน ซึ่งได้ผลดี