SlideShare a Scribd company logo
1 of 133
Download to read offline
วันศุกร์ที่ 25 กันยายน 2558
เวลา 14.00 – 16.30 น.
บรรยายโดย: ดร. สมนึก จงมีวศิน (อาจารย์ เขียว)
CULTURAL	
  LANDSCAPE	
  
MANAGEMENT	
  
SOMNUCK JONGMEEWASIN., Ph.D.
CULTURE	
  
วัฒนธรรมคือความหมาย
•  รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์ และ/หรือ โครงสร้าง
เชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมี
ความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรม
และสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้
จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่ง
สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความ
เหมาะสม
•  วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี
วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละคร
และภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่า
วัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้า
บริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับ
ต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น
•  แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึง
วัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมาย
รวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้
ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึง
ความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้
วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน
•  ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึง
เทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีล
ธรรม
•  วัฒนธรรมชุมชน ก็คือ พัฒนาการของชุมชน หรือ
เราอาจเรียกว่า Modernity (ความเป็นสมัยใหม่)
ของชุมชน
LANDSCAPE	
  
	
  
ภูมิทัศน ์
NATURAL	
  LANDSCAPE	
  
ภูมิทัศน์ทางธรรมชาติ
พวกเรารู้จักดี
ความหมายของภูมิทัศน์
•  ภาพรวมของพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ที่มนุษย์รับรู้ทางสายตาใน
ระยะห่าง อาจเป็นพื้นที่ธรรมชาติที่ประกอบด้วยรูปทรง
ของแผ่นดิน น้ำ ต้นไม้ สัตว์และสรรพสิ่งมนุษย์สร้างใน
สภาพอากาศหนึ่งและช่วงเวลาหนึ่งที่เรียกว่าภูมิทัศน์
ธรรมชาติ หรือภาพรวมของเมืองหรือส่วนของเมือง
เรียกว่าภูมิทัศน์เมือง นอกจากนี้ยังมีการใช้คำ “ภูมิทัศน์”
กับพื้นที่ที่มีลักษณะเฉพาะเด่นชัด เช่น ภูมิทัศน์ทะเล ภูมิ
ทัศน์ภูเขา ภูมิทัศน์ทะเลทราย หรือ ภูมิทัศน์พระจันทร์ ซึ่ง
หมายถึงภาพรวมของพื้นที่บนผิวดวงจันทร์ที่
มนุษย์อวกาศไปเยือน
•  จิตรกรรมภูมิทัศน์ (Landscape art) ได้แก่งาน
จิตรกรรมภาพวิวทิวทัศน์ หรือสื่ออื่นที่แสดงภูมิทัศน์
•  ภาพถ่ายภูมิทัศน์ (Nature photography) ได้แก่
งานการถ่ายภาพภาพวิวทิวทัศน์
•  ภูมิทัศน์สถาปัตยกรรม หรือภูมิสถาปัตยกรรม
(Landscape architecture) ได้แก่ศิลปะและ
วิทยาศาสตร์ว่าด้วยการวางแผน การออกแบบ และการ
จัดการงานภูมิทัศน์สาธารณะ งานภูมิทัศน์และสวนส่วน
บุคคลซึ่งสามารถแบ่งเป็นสาขาย่อยได้ดังนี้
•  การออกแบบภูมิทัศน์ (Landscape design) ได้แก่
การออกแบบที่ว่างทั้งในเมืองและชนบท
•  ภูมิทัศน์วิศวกรรม (Landscape engineering)
ได้แก่งานด้านเทคนิคในงานภูมิสถาปัตยกรรม
•  การวางแผนภูมิทัศน์ (Landscape planning) ได้แก่
การวางแผนพื้นที่ขนาดใหญ่ และ/หรืองานพัฒนา
โครงการภูมิทัศน์ระยะยาว
•  ก า ร จ ั ด ก า ร ง า น ภ ู ม ิ ท ั ศ น ์ ( L a n d s c a p e
management) ได้แก่การดูแลและจัดการภูมิทัศน์
มนุษย์สร้างและภูมิทัศน์ธรรมชาติ
•  งานภูมิทัศน์สวน (Landscape gardening) ได้แก่
งานออกแบบสวนในคฤหาสก์ขนาดใหญ่ ซึ่งนิยมทำและมี
ความสำคัญในคริสต์ศตวรรษที่ 18-19 ในยุโรป โดย
เฉพาะประเทศอังกฤษ นับเป็นต้นตอของภูมิ
สถาปัตยกรรม
•  ภูมิทัศน์ชุมชน (Urban landscape) ได้แก่การ
ออกแบบหรือปรับปรุงคุณภาพทางทัศนียภาพในสภาพ
แวดล้อมที่เป็นส่วนของเมือง โดยเฉพาะที่เป็นชุมชนให้มี
ความร่มรื่น สวยงาม มีเอกลักษณ์และร่มรื่น
•  ภูมิทัศน์นิเวศวิทยา (Landscape ecology) ได้แก่
สาขาย่อยในวิชานิเวศวิทยาที่ว่าด้วยการศึกษาสาเหตุ
ผลกระทบและกระบวนการของรูปลักษณ์ภูมิทัศน์ของ
พื้นที่ที่ถูกเปลี่ยนแปลง
	
  
What	
  is	
  a	
  Natural	
  Landscape?	
  
•  View	
  the	
  following	
  images	
  and	
  state	
  whether	
  
you	
  consider	
  them	
  to	
  be	
  natural	
  landscapes	
  
Defining	
  Natural	
  Landscapes	
  
•  What	
  do	
  we	
  mean	
  by	
  natural?	
  
– Parts	
  of	
  the	
  environment	
  that	
  are	
  present	
  within	
  
it	
  without	
  the	
  influence	
  of	
  people	
  
•  What	
  do	
  we	
  mean	
  by	
  landscape?	
  
– All	
  the	
  features	
  of	
  the	
  environment	
  that	
  can	
  be	
  
seen	
  or	
  observed	
  
	
  
Describing	
  a	
  Landscape	
  
•  ConcentraIng	
  on	
  a	
  couple	
  of	
  the	
  images	
  we	
  
have	
  already	
  looked	
  at,	
  how	
  can	
  we	
  describe	
  
the	
  landscape	
  in	
  more	
  detail?	
  
NATURAL	
  LANDSCAPE	
  
VS	
  
CULTURAL	
  LANDSCAPE	
  
Natural	
  landscapes	
  
Natural	
  landscape	
  
•  Refers	
  to	
  the	
  Visible	
  features	
  of	
  the	
  environment	
  
–  Varies	
  from	
  place	
  to	
  place	
  and	
  form	
  paLerns	
  which	
  can	
  be	
  
described/mapped	
  
•  Includes	
  interacIng	
  components	
  or	
  elements,	
  
including	
  
–  Relief	
  
	
  
–  Climate	
  
	
  
–  Soils	
  
	
  
–  Vegeta2on	
  	
  
Relief	
  
•  Height	
  and	
  shape	
  
of	
  the	
  land	
  
•  Processes	
  that	
  have	
  
formed	
  the	
  land	
  
over	
  geological	
  
Ime	
  
Climate	
  
•  Average	
  atmospheric	
  
condiIons	
  over	
  a	
  long	
  
period	
  of	
  Ime	
  
•  Rainfall,	
  temperature,	
  
sunshine	
  hours,	
  
humidity,	
  wind	
  etc	
  
Soils	
  
•  Weathered	
  or	
  eroded	
  materials	
  from	
  rocks	
  
•  Of	
  interest	
  is	
  soil	
  type,	
  ferIlity,	
  drainage	
  
VegetaIon	
  
•  Plant	
  cover	
  of	
  an	
  area	
  
•  VegetaIon	
  	
  
	
  types	
  and	
  	
  
	
  their	
  distribuIon	
  
InteracIon	
  
•  Elements	
  of	
  the	
  landscape	
  affect	
  one	
  another	
  in	
  different	
  
ways	
  
•  As	
  a	
  consequence	
  of	
  interac2on	
  the	
  natural	
  landscape	
  of	
  an	
  
area	
  can	
  be	
  seen	
  as	
  a	
  system	
  
Climate
Relief
Vegetation
Soils
Interactions in
the
natural
landscape
Direct interaction
Indirect interaction
AcIvity	
  
1.  Define	
  ‘natural	
  
landscapes’	
  
2.  Define	
  ‘interacIon’	
  
3.  Study	
  photo	
  and	
  
answer	
  the	
  following	
  
a)  Describe	
  two	
  relief	
  
features	
  of	
  the	
  area	
  
b)  Describe	
  one	
  feature	
  
of	
  the	
  climate	
  
c)  Describe	
  one	
  
vegetaIon	
  feature	
  
d)  Describe	
  one	
  soil	
  
feature	
  
4.  Describe	
  how	
  relief	
  is	
  
interacIng	
  with	
  
climate	
  in	
  the	
  area	
  
5.  Describe	
  how	
  climate	
  is	
  
interacIng	
  with	
  relief	
  
in	
  the	
  area	
  
Head of Lake Wakatipu, Dart River
Cultural	
  landscapes	
  
Cultural	
  landscapes	
  
•  The	
  acIviIes	
  and	
  ways	
  which	
  people	
  have	
  influenced	
  the	
  landscape	
  
are	
  known	
  as	
  it’s	
  cultural	
  landscape	
  	
  
•  Cultural	
  features	
  are	
  established	
  by	
  people	
  as	
  they	
  modify	
  the	
  
natural	
  landscape	
  
–  In	
  order	
  to	
  use	
  it	
  
•  The	
  main	
  cultural	
  features	
  are	
  (leave	
  two	
  lines	
  between	
  each)	
  
–  Land	
  use	
  	
  
–  Transport	
  features	
  
–  PopulaIon	
  and	
  seLlement	
  
•  Natural	
  features	
  in	
  the	
  area	
  will	
  affect	
  the	
  cultural	
  features	
  
–  Very	
  few	
  people	
  live	
  in	
  the	
  hoLest	
  or	
  coldest	
  climates	
  
•  Cultural	
  factors	
  can	
  influence	
  features	
  of	
  the	
  environment	
  as	
  people	
  
and	
  the	
  environment	
  interact	
  
–  An	
  opencast	
  mine	
  changes	
  the	
  relief	
  features	
  of	
  the	
  environment	
  
ภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม
(Cultural Landscape)
•  การรวมเข้าด้วยกันในงานของธรรมชาติและงาน
ของมนุษย์” เป็นการแสดงให้เห็นภาพของ
วิวัฒนาการของสังคมมนุษย์และการตั้งถิ่นฐาน
ตามกาลเวลาที่ล่วงเลยมา ซึ่งได้รับอิทธิพลจากข้อ
จำกัดทางกายภาพและ/หรือโอกาสในสิ่งแวดล้อม
ธรรมชาติและจากการสืบทอดทางสังคม
เศรษฐกิจและพลังอิทธิพลทางวัฒนธรรมทั้งที่เกด
ภายในและที่ได้รับจากภายนอก
Land	
  use	
  
•  PaLerns	
  made	
  by	
  people	
  as	
  they	
  use	
  the	
  land	
  
for	
  mining,	
  farming,	
  forestry	
  etc	
  
•  For	
  example	
  
– Altering	
  the	
  vegetaIon	
  by	
  clearing	
  forests	
  to	
  
make	
  pasture	
  
Transport	
  features	
  
•  Networks	
  of	
  roads,	
  railways,	
  canals,	
  shipping	
  
lanes,	
  airports	
  etc	
  
•  Known	
  as	
  infrastructure	
  
PopulaIon	
  and	
  seLlement	
  
•  PaLerns	
  of	
  populaIon,	
  its	
  distribuIon	
  and	
  the	
  
locaIon	
  of	
  seLlements	
  
•  Such	
  as	
  
– Farmsteads	
  
– Villages	
  
– Towns	
  
– CiIes	
  
AcIvity	
  
1.  Define	
  ‘cultural	
  landscape’	
  
2.  Study	
  the	
  photograph	
  of	
  The	
  Canterbury	
  Plains	
  
3.  Describe	
  2	
  
natural	
  
features	
  
4.  Describe	
  3	
  
cultural	
  
features	
  
5.  Show	
  an	
  
example	
  of	
  	
  
a.  Influence	
  of	
  
relief	
  on	
  
climate	
  
b.  Influence	
  of	
  
relief	
  on	
  
farming	
  
ความหมายของ…การจัดการ (Management)
 P – Planing - วางแผน
 O – Organizing - จัดองคกร
 C – Coordinating - ประสานงาน
 C – Communicating - สื่อสาร
 C – Controlling - ควบคุม
ประเภทของภูมิทัศน์วัฒนธรรม
•  UNESCO
– ภูมิทัศน์ซึ่งได้ออกแบบและสร้างสรรค์อย่างตั้งใจจาก
มนุษย์ เช่น สวน สวนสาธารณะ
– ภูมิทัศน์ที่มีวิวัฒนาการอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การปกครอง
ศาสนา ความเชื่อ
– ภูมิทัศน์ที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม หรือ
องค์ประกอบทางธรรมชาติ
ประเภทของภูมิทัศน์วัฒนธรรม
•  LUCAS .. แบ่งตามอิทธิพลของมนุษย์ต่อการ
เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ
– ภูมิทัศน์ที่ได้รับการจัดการ (Managed Landscape)
– ภูมิทัศน์เกษตรกรรม (Cultivated Landscape)
– ภูมิทัศน์รอบนอกศูนย์กลางเมือง (Suburban
Landscape)
– ภูมิทัศน์ในเมือง (Urban Landscape)
สรุป การแบ่งภูมิทัศน์วัฒนธรรม (1)
•  ภูมิทัศน์ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ธรรมชาติ สภาพภูมิศาสตร์เดิม เพื่อการตั้งถิ่นฐาน
บ้านเรือน ชุมชน สังคม มีพัฒนาการอันเป็นผลมา
จากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมการ
ปกครอง ศาสนา ความเชื่อ และ/หรือมีความเกี่ยว
เนื่องกับ ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิทัศน์แบบนี้
ต้องการการจัดการที่ละเอียดลึกซึ้ง มีระบบ
ระเบียบ เนื่องจากเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายด้าน
สรุป การแบ่งภูมิทัศน์วัฒนธรรม (2)
•  ภูมิทัศน์ที่เกิดจากออกแบบสร้างสรรค์อย่างตั้งใจ
มีความสวยงาม โดยคำนึงถึงสุนทรียภาพ มี
ลักษณะเป็นสวน หรือ สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ ภูมิ
ทัศน์วัฒนธรรมประเภทนี้เป็นผลจากปัจจัยที่มี
วัตถุประสงค์ไม่หลากหลาย จึงมีการจัดการ การ
ดำเนินการที่น้อยกว่า
เหตุผลที่ต้องมีการจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรม
•  ไม่มีสิ่งทดแทนได้ หรือทำขึ้นใหม่ได้
•  หากถูกทำลายแล้ว ไม่มีทางนำกลับมาใหม่ได้
•  ไวต่อการสูญหาย ถูกทำลาย หรือหมดไป
•  เป็นสิ่งที่แสดงถึงความเป็นอยู่ หรือเอกลักษณ์ของ
สังคมนั้น
•  เป็นพื้นฐานอย่างหนึ่งเพื่อการพัฒนาสังคมอย่าง
ยั่งยืน
วัตถุประสงค์ของ
การจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรม (1)
•  เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับภูมิทัศน์วัฒนธรรม สำหรับ
การวางแผน และดำเนินการรักษาคุณค่า และ ความ
สำคัญ เพื่อประโยชน์ของการดำรงอยู่ของสังคม
นั้น
•  เพื่อการวิเคราะห์ วางแผน และดำเนินงานเกี่ยวกับ
ภูมิทัศน์วัฒนธรรมของสังคมนั้นอย่างเหมาะสม
วัตถุประสงค์ของ
การจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรม (2)
•  เพื่อสร้างความตระหนักในคุณค่าและความสำคัญ
ของภูมิทัศน์วัฒนธรรมของสังคมนั้นแก่สมาชิกใน
สังคม
•  เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในสังคม ผู้เป็น
เจ้าของภูมิทัศน์วัฒนธรรม
โครงสร้างแผนการจัดการ
ภูมิทัศน์วัฒนธรรม
•  ศึกษาข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับพื้นที่และ
โครงสร้างของโครงการ
•  ประเมินผลและกำหนดวัตถุประสงค์ของการ
จัดการ รวมทั้งแสดงเหตุผลประกอบ
•  กำหนดวิธีการ และ เครื่องมือที่จะทำให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ อย่างไรก็ตามแต่ละพื้นที่โครงการจะ
มีรายละเอียดเฉพาะต่างๆกัน
หลักการจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมของ
IUCN
•  การรักษาภูมิทัศน์วัฒนธรรมต้องการการสนับสนุน
ในเชิงเศรษฐกิจ
•  การรักษาภูมิทัศน์วัฒนธรรมต้องการการสนับสนุน
จากท้องถิ่น และผู้ที่เกี่ยวข้อง
•  องค์ประกอบของภูมิทัศน์วัฒนธรรมต้องมีการ
ศึกษาในรายละเอียด เก็บข้อมูล วิเคราะห์ เพื่อการ
จัดการได้อย่างเหมาะสม
หลักการจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมของ
IUCN
•  การวางแผนจัดการ ต้องวิเคราะห์คุณค่า จุดมุ่ง
หมาย ผลกระทบ และข้อมูลด้านต่างๆ เพื่อการ
ตัดสินใจที่เหมาะสม
•  กฎระเบียบ ข้อบังคับ ควรยืดหยุ่นได้และต้องคำนึง
ถึงสิทธิของชุมชนท้องถิ่น
•  การจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมต้องพิจารณาปัจจัย
ครอบคลุม ทั้งสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ ารเมือง
การปกครองสังคม และ วัฒนธรรม
CULTURAL	
  LANDSCAPE	
  
MANAGEMENT	
  
เกี่ยวข้องกับ การอนุรักษ์และพัฒนา
คือ สมดุลของการอนุรักษ์และการพัฒนา
ระบบการอนุรักษ์ภูมิทัศน์วัฒนธรรม
(Pregil & Volkman)
•  การศึกษาพื้นที่โดยละเอียด
•  ค้นหาความสำคัญของบริเวณที่มีคุณค่าต่อชุมชน
•  ศึกษาคุณค่าของพื้นที่เพื่อแปลความหมายแสดงให้
สังคมรับรู้
•  กำหนดขอบเขตพื้นที่สงวนรักษาและพื้นที่พัฒนา
•  กำหนดกลยุทธ์ในการอนุรักษ์พื้นที่
การแบ่งภูมิทัศน์วัฒนธรรม
ตามความเข้มข้นของการจัดการ
ของมนุษย์ที่มีต่อสภาพแวดล้อม
•  ชุมชนที่มีภูมิทัศน์นำวัฒนธรรม
•  ชุมชนที่มีลักษณะเด่นร่วมกันทั้งภูมิทัศน์และ
วัฒนธรรม
•  ชุมชนที่มีวัฒนธรรมนำภูมิทัศน์
ขนาดของแหล่งภูมิทัศน์วัฒนธรรม
•  อาคาร
•  บริเวณ ย่าน
•  ชุมชน
•  เมือง
องค์ประกอบของ เมือง
•  เส้นทางสัญจร (Path)
•  เส้นขอบ (Edge)
•  ชุมทาง ชุมนุมชน (Node)
•  ย่าน (District)
•  จุดหมายตา (Landmark)
แนวทางการบริหารจัดการ
ภูมิทัศน์วัฒนธรรม
•  การดูแลรักษา (Maintenance)
•  การรักษาให้คงสภาพ (Preservation)
•  การบูรณะปฎิสังขรณ์ (Restoration๗
•  การสร้างขึ้นใหม่ (Reconstruction)
•  การปรับประโยชน์ใช้สอยใหม่ (Adaptation)
•  การพัฒนาและสร้างสรรค์ใหม่ (Development &
Creation)
Burra
Charter
The
The Australia ICOMOS Charter for Places of Cultural Significance
1 9 9 9
International Council on Monuments and Sites
The Burra Charter Process
Sequence of investigations, decisions and actions
10 Australia ICOMOS Inc The Burra Charter, 1999
IDENTIFY PLACE AND ASSOCIATIONS
Secure the place and make it safe
GATHER AND RECORD INFORMATION ABOUT THE PLACE
SUFFICIENT TO UNDERSTAND SIGNIFICANCE
Documentary Oral Physical
ASSESS SIGNIFICANCE
MONITOR AND REVIEW
PREPARE A STATEMENT OF SIGNIFICANCE
IDENTIFY OBLIGATIONS ARISING FROM SIGNIFICANCE
PREPARE A STATEMENT OF POLICY
GATHER INFORMATION ABOUT OTHER FACTORS
AFFECTING THE FUTURE OF THE PLACE
Owner/manager’s needs and resources
External factors Physical condition
MANAGE PLACE IN ACCORDANCE WITH POLICY
Develop strategies
Implement strategies through a management plan
Record place prior to any change
DEVELOP POLICY
Identify options
Consider options and test their impact on significance
แนวทางการทำ Inventory Report
Cultural Landscape Management (1)
•  The	
  study	
  and	
  its	
  context 	
  	
  
•  Study	
  area 	
   	
   	
   	
  	
  
•  Study	
  method 	
   	
   	
   	
   	
  	
  
•  IdenIficaIon 	
   	
   	
  	
  
•  Contextual	
  boundaries 	
  	
  
•  DescripIon:	
  Landscape	
  type 	
  	
  
•  DescripIon:	
  Site	
  boundaries 	
  	
  
•  Primary	
  landscape	
  features	
  	
  
•  DescripIon:	
  Significant	
  landscape	
  systems 	
  	
  
แนวทางการทำ Inventory Report
Cultural Landscape Management (2)
•  DescripIon:	
  Landscape	
  details	
  and	
  historic	
  
remnants	
  
•  History 	
   	
   	
   	
  	
  
•  Statement	
  of	
  significance	
  	
  
•  Type	
  of	
  integrity	
   	
  	
  
•  Threats	
  to	
  the	
  significance 	
  	
  
•  Future	
  acIons	
  for	
  management	
  of	
  the	
  area 	
  	
  
Past, current and future trends in
Latvian landscapes
Inga Rasa
University of Latvia
E-mail: Inga.Rasa@lu.lv
•  Rural landscape in Latvia is the result of
interaction between nature and human
and has a particular structure of land-use
and settlement dynamics
The image of
traditional
Latvian
landscape often
is associated with
the rural
landscape of the
1st Latvia’s
independence
(1918 – 1940)
•  Basic structure of rural landscape in Latvia
formed at the end of 19th century and at
the beginning of 20th century:
–  large forest massives on less fertile soils,
–  agricultural lands (arable lands, pastures, meadows)
with single farmsteads,
–  wetlands,
–  unique cultural landscapes (river valleys, lake
surroundings)
•  Since 1920ties the main tendencies are –
growth of woodlands and decrease of
agricultural lands
0%
10%
20%
30%
40%
50%
60%
70%
80%
90%
100%
1935 1949 1960 1970 1980 1992 2000 2004
Other land use Forests Agricultural land
Research questions
– Changes of rural landscapes in Latvia during
the 20th century
– Factors influencing these changes
– Current and future trends in rural landscapes
Materials and Methods
– Analysis of topographic maps, ortophotos and
other cartographic materials by using ArcGIS
software
– Field work to analyse present tendencies of
land-use
– Analysis of farmers applications for the EU
direct payments (single area payment), to
estimate possible changes of rural landscape in
future
Study areas
Types of land-use changes
1. Increase and homogenisation of large forest massives
Bārta parish at the beginning of the 20th century Bārta parish at the end of 20th century
2. Formation of the mosaic-type landscape instead of
agricultural landscape (in morain uplands)
Nautrēni parish at the beginning of the 20th
century
Nautrēni parish at the end of 20th century
Types of land-use changes
3. Formation of woodland patches and large forest massives
(at the margins of rural muncipalities)
Vecsaule parish at the beginning of the 20th
century
Vecsaule parish at the end of 20th century
Types of land-use changes
4. Changes of unique cultural landscapes (e.g. change of
land-use in valley of Gauja river)
View from “Gleznotāju kalns” to the
valley of Gauja river in 1959
View from “Gleznotāju kalns” to the
valley of Gauja river in 2005
Types of land-use changes
Valley of Gauja river at the beginning
of the 20th century
Valley of Gauja river at the end of
the 20th century
Politics - the crucial factor causing changes in
rural landscapes during the 20th century
•  Agricultural reforms
•  Afforestation of agricultural lands
•  Deportation of the inhabitants to Russia
•  Elimination of single farmsteads and formation
of villages
•  Amelioration of agricultural lands
•  Other factors
Current and future trends in rural
landscapes in Latvia
•  Single area payment – a payment for agricultural
land, which has mantained in good agricultural
and environmental conditions:
–  Agricultural land is cultivated;
–  At least yearly pastures, meadows and perennial
graslands are cut or pastured;
–  There are no shrubs or weeds in agricultural land;
–  Agricultural land is not bogged up or afforested.
•  Single area payment can get for all agricultural
land, which corresponds to the receipt
conditions.
Farmers application for the EU Single area
payment in 2005 (Bārta parish)
Farmers application for the EU Single area
payment in 2005 (Nautrēni parish)
Farmers application for the EU Single area
payment in 2005 (Vecsaule parish)
Farmers
application
for the EU
Single area
payment in
2005
(Gauja
national
park)
Conclusions
•  In the 20th century the rural landscape in Latvia
has become, on the one hand, more
homogeneous, on the other – more
heterogeneous
•  With the present land-use tendencies in Latvia,
woodlands will increase and the agricultural
lands will decrease
•  The main factors influencing these changes are
economic, social factors and land owners’
decisions – to use or not to use the agricultural
land
Transform
Cultural Landscape Management
into
Cultural Heritage Management
in Practice
มาสร้างแผนการบริหารจัดการมรดก
ที่อยู่ใน ชุมชน / พื้นที่ / เส้นทาง
อย่างยั่งยืนกันเถอะ
สรุปขั้นตอนและวิธีการเพื่อให้ได้มาซึ่งแผนฯ
ทบทวน 4 รู้ชุมชน
•  รู้จักตัวตน … อัตลักษณ์ และ พัฒนาการของพื้นที่
ศึกษา
•  รู้จักมรดก … ฐานทรัพยากรทางธรรมชาติและ
วัฒนธรรม ในพื้นที่ศึกษา
•  รู้จักปัญหา … ผลกระทบ ภาวะคุกคาม ในพื้นที่ศึกษา
•  รู้จักอนาคต … วิธีการแก้ไขปัญหา ในพื้นที่ เช่น ทำ
ทันที แผนระยะสั้น แผนระยะยาว
ขยายความ
การศึกษา 4 รู้ชุมชน ในพื้นที่
ด้วย….
11 ขั้นตอน
เพื่อการสร้างแผนบริหารจัดการ
มรดกในชุมชนอย่างยั่งยืน
เมื่อแผนการบริหารจัดการพื้นที่พร้อม
จึงจะพัฒนา “นโยบายและแผนการตลาดการท่องเที่ยว
เชิงกลยุทธ์ของพื้นที่” ได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
SERVICE DESIGN จะเป็นเครื่องมือที่ดีที่จะช่วยเรา
•  ชื่อพื้นที่มรดกทางธรรมชาติและวัฒนธรรม
(ชื่อทางการ และ ชื่อไม่เป็นทางการ)
•  ตําแหน่ง
(หมู่บ้าน ตําบล อําเภอ จังหวัด)
•  ขนาดของพื้นที่
•  ลักษณะพื้นที่
(ที่ราบลุ่ม ป่า ภูเขา แม่น้ํา คลอง อ่าว แหลม ฯลฯ)
•  ประเภทของพื้นที่
(พื้นที่ต้นน้ํา พื้นที่กลางน้ํา พื้นที่ปลายน้ํา)
!
•  ความสําคัญ (คุณค่าและมูลค่า) ของพื้นที่"
"
พื้นที่สําคัญ(พื้นที่ที่น่าสนใจ)ในชุมชน"
"
พื้นที่ที่จับต้องได้ (วัด วัง บ้าน โบสถ์ มัสยิด ป่าชายเลน
ป่าดิบชื้น พื้นที่ปลูกข้าวโบราณ แหล่งเกษตรอินทรีย์ อ่าว
ทองคํา แหล่งชีวมณฑล ฯลฯ)"
"
พื้นที่ที่จับต้องไม่ได้ (พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ พื้นที่ที่เคยมีอยู่ใน
อดีต ฯลฯ)"
!
คําสําคัญเพื่อบ่งบอกคุณค่า (และหรือมูลค่า) โดยรวมของ
ชุมชน "
(เช่น พื้นที่ความมั่นคงทางอาหารที่สําคัญของประเทศ
อ่าวทองคําแห่งภาคใต้ ธนาคารทางทะเลแห่งบูรพาทิศ
ด้วยมูลค่ากว่าพันล้านบาทต่อปี ฯลฯ)
•  แผนผังโดยรวมของพื้นที่
(ผังภูมิศาสตร์ ผังนิเวศวัฒนธรรม..คน ธรรมชาติ สิ่งปลูกสร้าง)!
•  พัฒนาการของชุมชนจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
•  ข้อมูลประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เรื่องเล่าท้องถิ่น
วัฒนธรรมท้องถิ่น รูปภาพอดีต-ปัจจุบัน
(ภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม .. วัฒนธรรมข้าว วัฒนธรรมน้ํา ฯลฯ)!
•  พัฒนาการทางภูมิศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ในอดีต!
! ที่ผ่านมา (ภูมิบ้าน ภูมิเมือง)!
• ความรุ่งเรืองในอดีต ปัญหาหรือผลกระทบในอดีต !
จุดพลิกผัน (ภูมิสังคม)
•  การประเมินคุณค่าของมรดกชุมชนแบบบูรณาการ!
•  คุณค่าทางประวัติศาสตร์!
•  คุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ (รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส
อารมณ์ ความรู้สึก)!
•  คุณค่าทางวิทยาศาสตร์ (รวมถึงภูมิปํญญา) !
•  คุณค่าทางสังคม!
•  คุณค่าทางจิตวิญญาณ (รวมถึงศาสนา ความเชื่อ)!
•  คุณค่าจากการตีความ (คุณค่าร่วมระดับท้องถิ่น ระดับ
ประเทศ หรือระดับโลก)!
•  คุณค่าจากความร่วมมือร่วมใจ (ความสัมพันธ์ ความ
สามัคคี ความเป็นน้ําหนึ่งใจเดียวกัน)!
•  คุณค่าจากความจริงแท้ ความสมบูรณ์ และความต่อเนื่อง
ของมรดกในชุมชน!
•  สถานการณ์ปัจจุบันของการมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการ
บริหารจัดการมรดกในชุมชน
•  ปํญหาและอุปสรรคที่มีผลกระทบต่ออนาคตของมรดกใน
ชุมชน (ที่มีผลกระทบต่อคุณค่าและมูลค่าของมรดกใน
ชุมชน)
•  การพัฒนานโยบายการบริหารจัดการมรดกในชุมชน!
•  คําสําคัญเพื่อบ่งบอกถึงนโยบายโดยรวมในการจัดการมรดก
ในชุมชน !
•  ร่างนโยบายการบริหารจัดการมรดกในชุมชน ในเชิงสงวน
รักษาหรืออนุรักษ์!
•  ทางเลือกต่างๆที่มีของนโยบายการบริหารจัดการมรดกใน
ชุมชน ในเชิงสงวนรักษาหรืออนุรักษ์!
•  แผนการสงวนรักษาหรืออนุรักษ์ และแผนการจัดการบริหาร
มรดกในชุมชนเพื่อความยั่งยืน!
แผนการสงวนรักษาหรืออนุรักษ์
แผนการจัดการบริหารมรดกในชุมชนเพื่อ
ความยั่งยืน

•  ต้องประกอบไปด้วย :-!
•  วิสัยทัศน์ !
•  เป้าหมาย!
•  ยุทธศาสตร์ (กลยุทธ์การจัดการ)!
•  แผนการจัดการหลัก (ต้องมีวัตถุประสงค์
และเป้าหมายเป็นตัวชี้วัด)!
•  แผนการจัดการย่อย หรือ แผนปฎิบัติ
การ (5W1H ต้องครบ ต้องมีรูปแบบ
การวัดผลที่ชัดเจน)!
อย่าลืม: ในทุกๆครั้งที่จะมีการจัดการบริหาร
มรดกชุมชน ใน ภาคปฎิบัติ จะต้อง :-
•  บันทึกสถานภาพของมรดกในชุมชนก่อนการเปลี่ยนแปลง
และหลังการใช้งานแผนการจัดการ!
•  การแปลความหมายของผลลัพธ์ต้องชัดเจนและอธิบายได้ใน
มุมกว้าง (เข้าถึงภาคประชาชน)
•  ตรวจสอบและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง
•  แผนการปรับปรุง หรือ แผนการแก้ไข ต้องมีต่อเนื่อง
(แผนการจัดการ วิธีวัดผล การแปลผล และเป้าหมาย
สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้)
•  การสื่อสารการเปลี่ยนแปลงสู่สาธารณชนทั้งในและนอก
ชุมชน!
!
ความรู้
ระบบความ
สัมพันธ์ของ
ส่วนต่างๆ	
	
สิ่งที่มีอิทธิพต่อ
แบบแผน
นโยบาย
กฎหมาย
สภาพแวดล้อม	
ฐานคติ 	
ความเชื่อ
คุณค่า วิธีคิด
ปรากฏการณ์
สิ่งที่เห็น
สิ่งที่มักไม่ปรากฏให้เห็น
เครื่องมือ 7	
  ชิ้น	
  
สําหรับการวิจัยชุมชนแนวลึก	
เพื่อ	
การสร้่างการมีส่วนร่วมของชุมชน	
	
  
สรุปย่อ
แผนการบริหารการตลาด
การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ก่อนนำไปสู่
แผนการบริการการตลาดการท่องเที่ยว
เชิงกลยุทธ์ของพื้นที่
เมื่อ “นวัตกรรม (Innovation)” มีความหมายอย่างง่าย
คือ สิ่งที่มีอยู่แล้วอย่างน้อยสองสิ่งมารวมกันเป็นสิ่งใหม่
แผนการตลาดอย่างยั่งยืน (1)
•  บทสรุปสําหรับผู้บริหาร
•  สรุปเรื่องทั้งหมดของแผนการตลาดที่สร้างขึ้น
•  วิสัยทัศน์
•  บอกเป้าหมายของชุมชนที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวที่จะไปถึงในระยะยาว
•  ภารกิจ
•  บอกกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียว่าชุมชนจะทําอะไร
•  สภาวะการตลาดท่องเที่ยวในปัจจุบัน
•  สภาวะตลาด
•  ตลาดเป้าหมาย ขนาดตลาด การเจริญเติบโต ส่วนแบ่งการตลาด
พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
•  สภาวะผลิตภัณฑ์ / บริการ
•  ยอดขาย ราคา กําไรขั้นต้น กําไรสุทธิ
•  สภาพการแข่งขัน
•  คู่แข่ง ขนาดคู่แข่ง ส่วนแบ่งตลาดของคู่แข่ง กลยุทธ์คู่แข่ง
•  สภาวะการกระจายผลิตภัณฑ์ / บริการ
•  ใครเป็นคนกระจายผลิตภัณฑ์ / บริการให้
•  สภาพแวดล้อมมหภาค
•  ด้านประชากร ด้านเศรษฐกิจ ด้านเทคโนโลยี การเมือง การปกครอง
สังคม วัฒนธรรม
แผนการตลาดอย่างยั่งยืน (2)
•  การวิเคราะห์โอกาสและความเป็นไปได้
•  การวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อน
•  4P
•  Product / Price / Place / Promotion
•  7S
•  Structure / Strategy / System / Style / Staff / Skill / Shared Value
•  ทําเลที่ตั้งสถานที่ท่องเที่ยว
•  ภาพลักษณ์ของชุมชน / สถานที่ท่องเที่ยว
•  การวิจัยและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ / บริการ
•  การวิเคราะห์โอกาสและอุปสรรค
•  ประชากร เศรษฐกิจ การเมือง กฎหมาย เทคโนโลยี ธรรมชาติ
สังคม วัฒนธรรม สภาพการแข่งขัน ห่วงโซ่อุปทาน
•  การวิเคราะห์ปัญหา
•  หาปัญหาจาก จุดอ่อน อุปสรรค
•  หาปัญหาจาก จุดเด่น โอกาส
•  นําปัญหาออกมาวิเคราะห์ให้ชัดเจน เพื่อสร้างแผนการตลาดใหม่
(วัตถุประสงค์ใหม่ กลยุทธ์ใหม่ แผนปฎิบัติการใหม่)
สภาพการแข่งขัน วิเคราะห์จาก 5 Forces
•  อุปสรรคจากคู่แข่งขันปัจจุบันของเรา (Current Competitor)
•  อุปสรรคจากคู่แข่งขันหน้าใหม่ของเรา (New Entries)
•  อํานาจการต่อรองจากซัพพลายเออร์ของเรา (Suppliers)
•  อุปสรรคจากผลิตภัณฑ์และบริการที่สามารถเข้ามาทดแทนเรา
(Substituted Products / Services)
•  อํานาจการต่อรองจากผู้ซื้อของเรา (Buyers)
แผนการตลาดอย่างยั่งยืน (3)
•  วัตถุประสงค์
•  ระบุวัตถุประสงค์ทางการตลาดเพื่อใช้เป็นแนวทางในการกําหนด
กลยุทธ์ และ แผนปฎิบัติการด้านการตลาด
•  Sales Revenue / % Share / Number of Tourist ฯลฯ
•  อาจนําวัตถุประสงค์ทางด้านการเงิน เช่น เศรษฐกิจชุมชนเป็นตัว
กําหนดร่วมกันไปด้วย .. ตั้งเป้า ROI / Net Profit / Cash Flow ฯลฯ
•  กลยุทธ์ทางการตลาด
•  S: Mass / Segment / Niche / Local / Individual
•  T: Single Segment / Selective Specialization / Specialized Product/ Specialized
Market / Mass
•  P: Positioning on Price & Quality
•  กลยุทธ์
•  Product Differentiation / Cost Leadership / Focus (Market Differentiation)
•  Time to React / Strategic Alliance / Merge r& Acquisition
•  Growth Strategy (Market Penetration , Market / Product / Service Development)
•  โปรแกรมปฎิบัติงาน
•  กําหนดแผนการปฎิบัติการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้
•  อะไรที่ต้องทํา/ เมื่อไหร่ที่ต้องทํา/ เมื่อไหร่เสร็จ /ใครทํา /งบประมาณเท่าไหร่
อ้างอิง ( REFERENCE)
•  SLIDE หน้า 91-127 อ้างจาก Presentation
Package “วิถีชุมชนเครื่องมือ 7 ชิ้น” จัดทำโดย
ดร.นพ. โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์, ส่วนหนึ่งของ
หนังสือ “วิถีชุมชนเครื่องมือ7ชิ้น ที่ทำให้งานชุมชน
ง่าย ได้ผล และสนุก” โดย โกมาตร จึงเสถียร
ทรัพย์, คณิสร เต็งรัง, ราตรี ปิ่นแก้ว, และ วรัญญา
เพ็ชรคง, สนพ สุขศาลา, กรุงเทพฯ : 2555

More Related Content

More from Silpakorn University

Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning) Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning) Silpakorn University
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part3
Strategic destination marketing presentation 2015 part3Strategic destination marketing presentation 2015 part3
Strategic destination marketing presentation 2015 part3Silpakorn University
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part2
Strategic destination marketing presentation 2015 part2Strategic destination marketing presentation 2015 part2
Strategic destination marketing presentation 2015 part2Silpakorn University
 
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part iStrategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part iSilpakorn University
 
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015Silpakorn University
 
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015Silpakorn University
 
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015Silpakorn University
 
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015Silpakorn University
 
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Silpakorn University
 

More from Silpakorn University (9)

Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning) Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part3
Strategic destination marketing presentation 2015 part3Strategic destination marketing presentation 2015 part3
Strategic destination marketing presentation 2015 part3
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part2
Strategic destination marketing presentation 2015 part2Strategic destination marketing presentation 2015 part2
Strategic destination marketing presentation 2015 part2
 
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part iStrategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
 
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
 
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
 
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015
 
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
 
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
 

Strategic destination marketing presentation 2015 part4

  • 1. วันศุกร์ที่ 25 กันยายน 2558 เวลา 14.00 – 16.30 น. บรรยายโดย: ดร. สมนึก จงมีวศิน (อาจารย์ เขียว)
  • 2. CULTURAL  LANDSCAPE   MANAGEMENT   SOMNUCK JONGMEEWASIN., Ph.D.
  • 4. •  รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์ และ/หรือ โครงสร้าง เชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมี ความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรม และสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้ จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่ง สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความ เหมาะสม
  • 5. •  วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละคร และภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่า วัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้า บริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับ ต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น
  • 6. •  แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึง วัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมาย รวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึง ความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้ วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน •  ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึง เทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีล ธรรม
  • 7. •  วัฒนธรรมชุมชน ก็คือ พัฒนาการของชุมชน หรือ เราอาจเรียกว่า Modernity (ความเป็นสมัยใหม่) ของชุมชน
  • 10. ความหมายของภูมิทัศน์ •  ภาพรวมของพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ที่มนุษย์รับรู้ทางสายตาใน ระยะห่าง อาจเป็นพื้นที่ธรรมชาติที่ประกอบด้วยรูปทรง ของแผ่นดิน น้ำ ต้นไม้ สัตว์และสรรพสิ่งมนุษย์สร้างใน สภาพอากาศหนึ่งและช่วงเวลาหนึ่งที่เรียกว่าภูมิทัศน์ ธรรมชาติ หรือภาพรวมของเมืองหรือส่วนของเมือง เรียกว่าภูมิทัศน์เมือง นอกจากนี้ยังมีการใช้คำ “ภูมิทัศน์” กับพื้นที่ที่มีลักษณะเฉพาะเด่นชัด เช่น ภูมิทัศน์ทะเล ภูมิ ทัศน์ภูเขา ภูมิทัศน์ทะเลทราย หรือ ภูมิทัศน์พระจันทร์ ซึ่ง หมายถึงภาพรวมของพื้นที่บนผิวดวงจันทร์ที่ มนุษย์อวกาศไปเยือน
  • 11. •  จิตรกรรมภูมิทัศน์ (Landscape art) ได้แก่งาน จิตรกรรมภาพวิวทิวทัศน์ หรือสื่ออื่นที่แสดงภูมิทัศน์ •  ภาพถ่ายภูมิทัศน์ (Nature photography) ได้แก่ งานการถ่ายภาพภาพวิวทิวทัศน์ •  ภูมิทัศน์สถาปัตยกรรม หรือภูมิสถาปัตยกรรม (Landscape architecture) ได้แก่ศิลปะและ วิทยาศาสตร์ว่าด้วยการวางแผน การออกแบบ และการ จัดการงานภูมิทัศน์สาธารณะ งานภูมิทัศน์และสวนส่วน บุคคลซึ่งสามารถแบ่งเป็นสาขาย่อยได้ดังนี้ •  การออกแบบภูมิทัศน์ (Landscape design) ได้แก่ การออกแบบที่ว่างทั้งในเมืองและชนบท
  • 12. •  ภูมิทัศน์วิศวกรรม (Landscape engineering) ได้แก่งานด้านเทคนิคในงานภูมิสถาปัตยกรรม •  การวางแผนภูมิทัศน์ (Landscape planning) ได้แก่ การวางแผนพื้นที่ขนาดใหญ่ และ/หรืองานพัฒนา โครงการภูมิทัศน์ระยะยาว •  ก า ร จ ั ด ก า ร ง า น ภ ู ม ิ ท ั ศ น ์ ( L a n d s c a p e management) ได้แก่การดูแลและจัดการภูมิทัศน์ มนุษย์สร้างและภูมิทัศน์ธรรมชาติ •  งานภูมิทัศน์สวน (Landscape gardening) ได้แก่ งานออกแบบสวนในคฤหาสก์ขนาดใหญ่ ซึ่งนิยมทำและมี ความสำคัญในคริสต์ศตวรรษที่ 18-19 ในยุโรป โดย เฉพาะประเทศอังกฤษ นับเป็นต้นตอของภูมิ สถาปัตยกรรม
  • 13. •  ภูมิทัศน์ชุมชน (Urban landscape) ได้แก่การ ออกแบบหรือปรับปรุงคุณภาพทางทัศนียภาพในสภาพ แวดล้อมที่เป็นส่วนของเมือง โดยเฉพาะที่เป็นชุมชนให้มี ความร่มรื่น สวยงาม มีเอกลักษณ์และร่มรื่น •  ภูมิทัศน์นิเวศวิทยา (Landscape ecology) ได้แก่ สาขาย่อยในวิชานิเวศวิทยาที่ว่าด้วยการศึกษาสาเหตุ ผลกระทบและกระบวนการของรูปลักษณ์ภูมิทัศน์ของ พื้นที่ที่ถูกเปลี่ยนแปลง  
  • 14. What  is  a  Natural  Landscape?   •  View  the  following  images  and  state  whether   you  consider  them  to  be  natural  landscapes  
  • 15.
  • 16.
  • 17. Defining  Natural  Landscapes   •  What  do  we  mean  by  natural?   – Parts  of  the  environment  that  are  present  within   it  without  the  influence  of  people   •  What  do  we  mean  by  landscape?   – All  the  features  of  the  environment  that  can  be   seen  or  observed    
  • 18. Describing  a  Landscape   •  ConcentraIng  on  a  couple  of  the  images  we   have  already  looked  at,  how  can  we  describe   the  landscape  in  more  detail?  
  • 19.
  • 20.
  • 21. NATURAL  LANDSCAPE   VS   CULTURAL  LANDSCAPE  
  • 23. Natural  landscape   •  Refers  to  the  Visible  features  of  the  environment   –  Varies  from  place  to  place  and  form  paLerns  which  can  be   described/mapped   •  Includes  interacIng  components  or  elements,   including   –  Relief     –  Climate     –  Soils     –  Vegeta2on    
  • 24. Relief   •  Height  and  shape   of  the  land   •  Processes  that  have   formed  the  land   over  geological   Ime  
  • 25. Climate   •  Average  atmospheric   condiIons  over  a  long   period  of  Ime   •  Rainfall,  temperature,   sunshine  hours,   humidity,  wind  etc  
  • 26. Soils   •  Weathered  or  eroded  materials  from  rocks   •  Of  interest  is  soil  type,  ferIlity,  drainage  
  • 27. VegetaIon   •  Plant  cover  of  an  area   •  VegetaIon      types  and      their  distribuIon  
  • 28. InteracIon   •  Elements  of  the  landscape  affect  one  another  in  different   ways   •  As  a  consequence  of  interac2on  the  natural  landscape  of  an   area  can  be  seen  as  a  system   Climate Relief Vegetation Soils Interactions in the natural landscape Direct interaction Indirect interaction
  • 29. AcIvity   1.  Define  ‘natural   landscapes’   2.  Define  ‘interacIon’   3.  Study  photo  and   answer  the  following   a)  Describe  two  relief   features  of  the  area   b)  Describe  one  feature   of  the  climate   c)  Describe  one   vegetaIon  feature   d)  Describe  one  soil   feature   4.  Describe  how  relief  is   interacIng  with   climate  in  the  area   5.  Describe  how  climate  is   interacIng  with  relief   in  the  area   Head of Lake Wakatipu, Dart River
  • 31. Cultural  landscapes   •  The  acIviIes  and  ways  which  people  have  influenced  the  landscape   are  known  as  it’s  cultural  landscape     •  Cultural  features  are  established  by  people  as  they  modify  the   natural  landscape   –  In  order  to  use  it   •  The  main  cultural  features  are  (leave  two  lines  between  each)   –  Land  use     –  Transport  features   –  PopulaIon  and  seLlement   •  Natural  features  in  the  area  will  affect  the  cultural  features   –  Very  few  people  live  in  the  hoLest  or  coldest  climates   •  Cultural  factors  can  influence  features  of  the  environment  as  people   and  the  environment  interact   –  An  opencast  mine  changes  the  relief  features  of  the  environment  
  • 32. ภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม (Cultural Landscape) •  การรวมเข้าด้วยกันในงานของธรรมชาติและงาน ของมนุษย์” เป็นการแสดงให้เห็นภาพของ วิวัฒนาการของสังคมมนุษย์และการตั้งถิ่นฐาน ตามกาลเวลาที่ล่วงเลยมา ซึ่งได้รับอิทธิพลจากข้อ จำกัดทางกายภาพและ/หรือโอกาสในสิ่งแวดล้อม ธรรมชาติและจากการสืบทอดทางสังคม เศรษฐกิจและพลังอิทธิพลทางวัฒนธรรมทั้งที่เกด ภายในและที่ได้รับจากภายนอก
  • 33. Land  use   •  PaLerns  made  by  people  as  they  use  the  land   for  mining,  farming,  forestry  etc   •  For  example   – Altering  the  vegetaIon  by  clearing  forests  to   make  pasture  
  • 34. Transport  features   •  Networks  of  roads,  railways,  canals,  shipping   lanes,  airports  etc   •  Known  as  infrastructure  
  • 35. PopulaIon  and  seLlement   •  PaLerns  of  populaIon,  its  distribuIon  and  the   locaIon  of  seLlements   •  Such  as   – Farmsteads   – Villages   – Towns   – CiIes  
  • 36. AcIvity   1.  Define  ‘cultural  landscape’   2.  Study  the  photograph  of  The  Canterbury  Plains   3.  Describe  2   natural   features   4.  Describe  3   cultural   features   5.  Show  an   example  of     a.  Influence  of   relief  on   climate   b.  Influence  of   relief  on   farming  
  • 37. ความหมายของ…การจัดการ (Management)  P – Planing - วางแผน  O – Organizing - จัดองคกร  C – Coordinating - ประสานงาน  C – Communicating - สื่อสาร  C – Controlling - ควบคุม
  • 38. ประเภทของภูมิทัศน์วัฒนธรรม •  UNESCO – ภูมิทัศน์ซึ่งได้ออกแบบและสร้างสรรค์อย่างตั้งใจจาก มนุษย์ เช่น สวน สวนสาธารณะ – ภูมิทัศน์ที่มีวิวัฒนาการอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การปกครอง ศาสนา ความเชื่อ – ภูมิทัศน์ที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม หรือ องค์ประกอบทางธรรมชาติ
  • 39. ประเภทของภูมิทัศน์วัฒนธรรม •  LUCAS .. แบ่งตามอิทธิพลของมนุษย์ต่อการ เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ – ภูมิทัศน์ที่ได้รับการจัดการ (Managed Landscape) – ภูมิทัศน์เกษตรกรรม (Cultivated Landscape) – ภูมิทัศน์รอบนอกศูนย์กลางเมือง (Suburban Landscape) – ภูมิทัศน์ในเมือง (Urban Landscape)
  • 40. สรุป การแบ่งภูมิทัศน์วัฒนธรรม (1) •  ภูมิทัศน์ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ธรรมชาติ สภาพภูมิศาสตร์เดิม เพื่อการตั้งถิ่นฐาน บ้านเรือน ชุมชน สังคม มีพัฒนาการอันเป็นผลมา จากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมการ ปกครอง ศาสนา ความเชื่อ และ/หรือมีความเกี่ยว เนื่องกับ ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิทัศน์แบบนี้ ต้องการการจัดการที่ละเอียดลึกซึ้ง มีระบบ ระเบียบ เนื่องจากเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายด้าน
  • 41. สรุป การแบ่งภูมิทัศน์วัฒนธรรม (2) •  ภูมิทัศน์ที่เกิดจากออกแบบสร้างสรรค์อย่างตั้งใจ มีความสวยงาม โดยคำนึงถึงสุนทรียภาพ มี ลักษณะเป็นสวน หรือ สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ ภูมิ ทัศน์วัฒนธรรมประเภทนี้เป็นผลจากปัจจัยที่มี วัตถุประสงค์ไม่หลากหลาย จึงมีการจัดการ การ ดำเนินการที่น้อยกว่า
  • 42. เหตุผลที่ต้องมีการจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรม •  ไม่มีสิ่งทดแทนได้ หรือทำขึ้นใหม่ได้ •  หากถูกทำลายแล้ว ไม่มีทางนำกลับมาใหม่ได้ •  ไวต่อการสูญหาย ถูกทำลาย หรือหมดไป •  เป็นสิ่งที่แสดงถึงความเป็นอยู่ หรือเอกลักษณ์ของ สังคมนั้น •  เป็นพื้นฐานอย่างหนึ่งเพื่อการพัฒนาสังคมอย่าง ยั่งยืน
  • 43. วัตถุประสงค์ของ การจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรม (1) •  เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับภูมิทัศน์วัฒนธรรม สำหรับ การวางแผน และดำเนินการรักษาคุณค่า และ ความ สำคัญ เพื่อประโยชน์ของการดำรงอยู่ของสังคม นั้น •  เพื่อการวิเคราะห์ วางแผน และดำเนินงานเกี่ยวกับ ภูมิทัศน์วัฒนธรรมของสังคมนั้นอย่างเหมาะสม
  • 45. โครงสร้างแผนการจัดการ ภูมิทัศน์วัฒนธรรม •  ศึกษาข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับพื้นที่และ โครงสร้างของโครงการ •  ประเมินผลและกำหนดวัตถุประสงค์ของการ จัดการ รวมทั้งแสดงเหตุผลประกอบ •  กำหนดวิธีการ และ เครื่องมือที่จะทำให้บรรลุ วัตถุประสงค์ อย่างไรก็ตามแต่ละพื้นที่โครงการจะ มีรายละเอียดเฉพาะต่างๆกัน
  • 46. หลักการจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมของ IUCN •  การรักษาภูมิทัศน์วัฒนธรรมต้องการการสนับสนุน ในเชิงเศรษฐกิจ •  การรักษาภูมิทัศน์วัฒนธรรมต้องการการสนับสนุน จากท้องถิ่น และผู้ที่เกี่ยวข้อง •  องค์ประกอบของภูมิทัศน์วัฒนธรรมต้องมีการ ศึกษาในรายละเอียด เก็บข้อมูล วิเคราะห์ เพื่อการ จัดการได้อย่างเหมาะสม
  • 47. หลักการจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมของ IUCN •  การวางแผนจัดการ ต้องวิเคราะห์คุณค่า จุดมุ่ง หมาย ผลกระทบ และข้อมูลด้านต่างๆ เพื่อการ ตัดสินใจที่เหมาะสม •  กฎระเบียบ ข้อบังคับ ควรยืดหยุ่นได้และต้องคำนึง ถึงสิทธิของชุมชนท้องถิ่น •  การจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมต้องพิจารณาปัจจัย ครอบคลุม ทั้งสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ ารเมือง การปกครองสังคม และ วัฒนธรรม
  • 48. CULTURAL  LANDSCAPE   MANAGEMENT   เกี่ยวข้องกับ การอนุรักษ์และพัฒนา คือ สมดุลของการอนุรักษ์และการพัฒนา
  • 49. ระบบการอนุรักษ์ภูมิทัศน์วัฒนธรรม (Pregil & Volkman) •  การศึกษาพื้นที่โดยละเอียด •  ค้นหาความสำคัญของบริเวณที่มีคุณค่าต่อชุมชน •  ศึกษาคุณค่าของพื้นที่เพื่อแปลความหมายแสดงให้ สังคมรับรู้ •  กำหนดขอบเขตพื้นที่สงวนรักษาและพื้นที่พัฒนา •  กำหนดกลยุทธ์ในการอนุรักษ์พื้นที่
  • 52. องค์ประกอบของ เมือง •  เส้นทางสัญจร (Path) •  เส้นขอบ (Edge) •  ชุมทาง ชุมนุมชน (Node) •  ย่าน (District) •  จุดหมายตา (Landmark)
  • 53. แนวทางการบริหารจัดการ ภูมิทัศน์วัฒนธรรม •  การดูแลรักษา (Maintenance) •  การรักษาให้คงสภาพ (Preservation) •  การบูรณะปฎิสังขรณ์ (Restoration๗ •  การสร้างขึ้นใหม่ (Reconstruction) •  การปรับประโยชน์ใช้สอยใหม่ (Adaptation) •  การพัฒนาและสร้างสรรค์ใหม่ (Development & Creation)
  • 54. Burra Charter The The Australia ICOMOS Charter for Places of Cultural Significance 1 9 9 9 International Council on Monuments and Sites
  • 55. The Burra Charter Process Sequence of investigations, decisions and actions 10 Australia ICOMOS Inc The Burra Charter, 1999 IDENTIFY PLACE AND ASSOCIATIONS Secure the place and make it safe GATHER AND RECORD INFORMATION ABOUT THE PLACE SUFFICIENT TO UNDERSTAND SIGNIFICANCE Documentary Oral Physical ASSESS SIGNIFICANCE MONITOR AND REVIEW PREPARE A STATEMENT OF SIGNIFICANCE IDENTIFY OBLIGATIONS ARISING FROM SIGNIFICANCE PREPARE A STATEMENT OF POLICY GATHER INFORMATION ABOUT OTHER FACTORS AFFECTING THE FUTURE OF THE PLACE Owner/manager’s needs and resources External factors Physical condition MANAGE PLACE IN ACCORDANCE WITH POLICY Develop strategies Implement strategies through a management plan Record place prior to any change DEVELOP POLICY Identify options Consider options and test their impact on significance
  • 56.
  • 57. แนวทางการทำ Inventory Report Cultural Landscape Management (1) •  The  study  and  its  context     •  Study  area           •  Study  method             •  IdenIficaIon         •  Contextual  boundaries     •  DescripIon:  Landscape  type     •  DescripIon:  Site  boundaries     •  Primary  landscape  features     •  DescripIon:  Significant  landscape  systems    
  • 58. แนวทางการทำ Inventory Report Cultural Landscape Management (2) •  DescripIon:  Landscape  details  and  historic   remnants   •  History           •  Statement  of  significance     •  Type  of  integrity       •  Threats  to  the  significance     •  Future  acIons  for  management  of  the  area    
  • 59. Past, current and future trends in Latvian landscapes Inga Rasa University of Latvia E-mail: Inga.Rasa@lu.lv
  • 60. •  Rural landscape in Latvia is the result of interaction between nature and human and has a particular structure of land-use and settlement dynamics
  • 61. The image of traditional Latvian landscape often is associated with the rural landscape of the 1st Latvia’s independence (1918 – 1940)
  • 62. •  Basic structure of rural landscape in Latvia formed at the end of 19th century and at the beginning of 20th century: –  large forest massives on less fertile soils, –  agricultural lands (arable lands, pastures, meadows) with single farmsteads, –  wetlands, –  unique cultural landscapes (river valleys, lake surroundings)
  • 63. •  Since 1920ties the main tendencies are – growth of woodlands and decrease of agricultural lands 0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100% 1935 1949 1960 1970 1980 1992 2000 2004 Other land use Forests Agricultural land
  • 64. Research questions – Changes of rural landscapes in Latvia during the 20th century – Factors influencing these changes – Current and future trends in rural landscapes
  • 65. Materials and Methods – Analysis of topographic maps, ortophotos and other cartographic materials by using ArcGIS software – Field work to analyse present tendencies of land-use – Analysis of farmers applications for the EU direct payments (single area payment), to estimate possible changes of rural landscape in future
  • 67. Types of land-use changes 1. Increase and homogenisation of large forest massives Bārta parish at the beginning of the 20th century Bārta parish at the end of 20th century
  • 68. 2. Formation of the mosaic-type landscape instead of agricultural landscape (in morain uplands) Nautrēni parish at the beginning of the 20th century Nautrēni parish at the end of 20th century Types of land-use changes
  • 69. 3. Formation of woodland patches and large forest massives (at the margins of rural muncipalities) Vecsaule parish at the beginning of the 20th century Vecsaule parish at the end of 20th century Types of land-use changes
  • 70. 4. Changes of unique cultural landscapes (e.g. change of land-use in valley of Gauja river) View from “Gleznotāju kalns” to the valley of Gauja river in 1959 View from “Gleznotāju kalns” to the valley of Gauja river in 2005 Types of land-use changes
  • 71. Valley of Gauja river at the beginning of the 20th century Valley of Gauja river at the end of the 20th century
  • 72. Politics - the crucial factor causing changes in rural landscapes during the 20th century •  Agricultural reforms •  Afforestation of agricultural lands •  Deportation of the inhabitants to Russia •  Elimination of single farmsteads and formation of villages •  Amelioration of agricultural lands •  Other factors
  • 73. Current and future trends in rural landscapes in Latvia •  Single area payment – a payment for agricultural land, which has mantained in good agricultural and environmental conditions: –  Agricultural land is cultivated; –  At least yearly pastures, meadows and perennial graslands are cut or pastured; –  There are no shrubs or weeds in agricultural land; –  Agricultural land is not bogged up or afforested. •  Single area payment can get for all agricultural land, which corresponds to the receipt conditions.
  • 74. Farmers application for the EU Single area payment in 2005 (Bārta parish)
  • 75. Farmers application for the EU Single area payment in 2005 (Nautrēni parish)
  • 76. Farmers application for the EU Single area payment in 2005 (Vecsaule parish)
  • 77. Farmers application for the EU Single area payment in 2005 (Gauja national park)
  • 78. Conclusions •  In the 20th century the rural landscape in Latvia has become, on the one hand, more homogeneous, on the other – more heterogeneous •  With the present land-use tendencies in Latvia, woodlands will increase and the agricultural lands will decrease •  The main factors influencing these changes are economic, social factors and land owners’ decisions – to use or not to use the agricultural land
  • 79. Transform Cultural Landscape Management into Cultural Heritage Management in Practice มาสร้างแผนการบริหารจัดการมรดก ที่อยู่ใน ชุมชน / พื้นที่ / เส้นทาง อย่างยั่งยืนกันเถอะ สรุปขั้นตอนและวิธีการเพื่อให้ได้มาซึ่งแผนฯ
  • 80. ทบทวน 4 รู้ชุมชน •  รู้จักตัวตน … อัตลักษณ์ และ พัฒนาการของพื้นที่ ศึกษา •  รู้จักมรดก … ฐานทรัพยากรทางธรรมชาติและ วัฒนธรรม ในพื้นที่ศึกษา •  รู้จักปัญหา … ผลกระทบ ภาวะคุกคาม ในพื้นที่ศึกษา •  รู้จักอนาคต … วิธีการแก้ไขปัญหา ในพื้นที่ เช่น ทำ ทันที แผนระยะสั้น แผนระยะยาว
  • 81. ขยายความ การศึกษา 4 รู้ชุมชน ในพื้นที่ ด้วย…. 11 ขั้นตอน เพื่อการสร้างแผนบริหารจัดการ มรดกในชุมชนอย่างยั่งยืน เมื่อแผนการบริหารจัดการพื้นที่พร้อม จึงจะพัฒนา “นโยบายและแผนการตลาดการท่องเที่ยว เชิงกลยุทธ์ของพื้นที่” ได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน SERVICE DESIGN จะเป็นเครื่องมือที่ดีที่จะช่วยเรา
  • 82. •  ชื่อพื้นที่มรดกทางธรรมชาติและวัฒนธรรม (ชื่อทางการ และ ชื่อไม่เป็นทางการ) •  ตําแหน่ง (หมู่บ้าน ตําบล อําเภอ จังหวัด) •  ขนาดของพื้นที่ •  ลักษณะพื้นที่ (ที่ราบลุ่ม ป่า ภูเขา แม่น้ํา คลอง อ่าว แหลม ฯลฯ) •  ประเภทของพื้นที่ (พื้นที่ต้นน้ํา พื้นที่กลางน้ํา พื้นที่ปลายน้ํา) !
  • 83. •  ความสําคัญ (คุณค่าและมูลค่า) ของพื้นที่" " พื้นที่สําคัญ(พื้นที่ที่น่าสนใจ)ในชุมชน" " พื้นที่ที่จับต้องได้ (วัด วัง บ้าน โบสถ์ มัสยิด ป่าชายเลน ป่าดิบชื้น พื้นที่ปลูกข้าวโบราณ แหล่งเกษตรอินทรีย์ อ่าว ทองคํา แหล่งชีวมณฑล ฯลฯ)" " พื้นที่ที่จับต้องไม่ได้ (พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ พื้นที่ที่เคยมีอยู่ใน อดีต ฯลฯ)" ! คําสําคัญเพื่อบ่งบอกคุณค่า (และหรือมูลค่า) โดยรวมของ ชุมชน " (เช่น พื้นที่ความมั่นคงทางอาหารที่สําคัญของประเทศ อ่าวทองคําแห่งภาคใต้ ธนาคารทางทะเลแห่งบูรพาทิศ ด้วยมูลค่ากว่าพันล้านบาทต่อปี ฯลฯ)
  • 84. •  แผนผังโดยรวมของพื้นที่ (ผังภูมิศาสตร์ ผังนิเวศวัฒนธรรม..คน ธรรมชาติ สิ่งปลูกสร้าง)! •  พัฒนาการของชุมชนจากอดีตจนถึงปัจจุบัน •  ข้อมูลประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เรื่องเล่าท้องถิ่น วัฒนธรรมท้องถิ่น รูปภาพอดีต-ปัจจุบัน (ภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม .. วัฒนธรรมข้าว วัฒนธรรมน้ํา ฯลฯ)! •  พัฒนาการทางภูมิศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ในอดีต! ! ที่ผ่านมา (ภูมิบ้าน ภูมิเมือง)! • ความรุ่งเรืองในอดีต ปัญหาหรือผลกระทบในอดีต ! จุดพลิกผัน (ภูมิสังคม)
  • 85. •  การประเมินคุณค่าของมรดกชุมชนแบบบูรณาการ! •  คุณค่าทางประวัติศาสตร์! •  คุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ (รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส อารมณ์ ความรู้สึก)! •  คุณค่าทางวิทยาศาสตร์ (รวมถึงภูมิปํญญา) ! •  คุณค่าทางสังคม! •  คุณค่าทางจิตวิญญาณ (รวมถึงศาสนา ความเชื่อ)! •  คุณค่าจากการตีความ (คุณค่าร่วมระดับท้องถิ่น ระดับ ประเทศ หรือระดับโลก)! •  คุณค่าจากความร่วมมือร่วมใจ (ความสัมพันธ์ ความ สามัคคี ความเป็นน้ําหนึ่งใจเดียวกัน)! •  คุณค่าจากความจริงแท้ ความสมบูรณ์ และความต่อเนื่อง ของมรดกในชุมชน!
  • 86. •  สถานการณ์ปัจจุบันของการมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการ บริหารจัดการมรดกในชุมชน •  ปํญหาและอุปสรรคที่มีผลกระทบต่ออนาคตของมรดกใน ชุมชน (ที่มีผลกระทบต่อคุณค่าและมูลค่าของมรดกใน ชุมชน) •  การพัฒนานโยบายการบริหารจัดการมรดกในชุมชน! •  คําสําคัญเพื่อบ่งบอกถึงนโยบายโดยรวมในการจัดการมรดก ในชุมชน ! •  ร่างนโยบายการบริหารจัดการมรดกในชุมชน ในเชิงสงวน รักษาหรืออนุรักษ์! •  ทางเลือกต่างๆที่มีของนโยบายการบริหารจัดการมรดกใน ชุมชน ในเชิงสงวนรักษาหรืออนุรักษ์! •  แผนการสงวนรักษาหรืออนุรักษ์ และแผนการจัดการบริหาร มรดกในชุมชนเพื่อความยั่งยืน!
  • 87. แผนการสงวนรักษาหรืออนุรักษ์ แผนการจัดการบริหารมรดกในชุมชนเพื่อ ความยั่งยืน •  ต้องประกอบไปด้วย :-! •  วิสัยทัศน์ ! •  เป้าหมาย! •  ยุทธศาสตร์ (กลยุทธ์การจัดการ)! •  แผนการจัดการหลัก (ต้องมีวัตถุประสงค์ และเป้าหมายเป็นตัวชี้วัด)! •  แผนการจัดการย่อย หรือ แผนปฎิบัติ การ (5W1H ต้องครบ ต้องมีรูปแบบ การวัดผลที่ชัดเจน)!
  • 88. อย่าลืม: ในทุกๆครั้งที่จะมีการจัดการบริหาร มรดกชุมชน ใน ภาคปฎิบัติ จะต้อง :- •  บันทึกสถานภาพของมรดกในชุมชนก่อนการเปลี่ยนแปลง และหลังการใช้งานแผนการจัดการ! •  การแปลความหมายของผลลัพธ์ต้องชัดเจนและอธิบายได้ใน มุมกว้าง (เข้าถึงภาคประชาชน) •  ตรวจสอบและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง •  แผนการปรับปรุง หรือ แผนการแก้ไข ต้องมีต่อเนื่อง (แผนการจัดการ วิธีวัดผล การแปลผล และเป้าหมาย สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้) •  การสื่อสารการเปลี่ยนแปลงสู่สาธารณชนทั้งในและนอก ชุมชน! !
  • 90. เครื่องมือ 7  ชิ้น   สําหรับการวิจัยชุมชนแนวลึก เพื่อ การสร้่างการมีส่วนร่วมของชุมชน  
  • 91.
  • 92.
  • 93.
  • 94.
  • 95.
  • 96.
  • 97.
  • 98.
  • 99.
  • 100.
  • 101.
  • 102.
  • 103.
  • 104.
  • 105.
  • 106.
  • 107.
  • 108.
  • 109.
  • 110.
  • 111.
  • 112.
  • 113.
  • 114.
  • 115.
  • 116.
  • 117.
  • 118.
  • 119.
  • 120.
  • 121.
  • 122.
  • 123.
  • 124.
  • 125.
  • 126.
  • 127.
  • 129. แผนการตลาดอย่างยั่งยืน (1) •  บทสรุปสําหรับผู้บริหาร •  สรุปเรื่องทั้งหมดของแผนการตลาดที่สร้างขึ้น •  วิสัยทัศน์ •  บอกเป้าหมายของชุมชนที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวที่จะไปถึงในระยะยาว •  ภารกิจ •  บอกกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียว่าชุมชนจะทําอะไร •  สภาวะการตลาดท่องเที่ยวในปัจจุบัน •  สภาวะตลาด •  ตลาดเป้าหมาย ขนาดตลาด การเจริญเติบโต ส่วนแบ่งการตลาด พฤติกรรมนักท่องเที่ยว •  สภาวะผลิตภัณฑ์ / บริการ •  ยอดขาย ราคา กําไรขั้นต้น กําไรสุทธิ •  สภาพการแข่งขัน •  คู่แข่ง ขนาดคู่แข่ง ส่วนแบ่งตลาดของคู่แข่ง กลยุทธ์คู่แข่ง •  สภาวะการกระจายผลิตภัณฑ์ / บริการ •  ใครเป็นคนกระจายผลิตภัณฑ์ / บริการให้ •  สภาพแวดล้อมมหภาค •  ด้านประชากร ด้านเศรษฐกิจ ด้านเทคโนโลยี การเมือง การปกครอง สังคม วัฒนธรรม
  • 130. แผนการตลาดอย่างยั่งยืน (2) •  การวิเคราะห์โอกาสและความเป็นไปได้ •  การวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อน •  4P •  Product / Price / Place / Promotion •  7S •  Structure / Strategy / System / Style / Staff / Skill / Shared Value •  ทําเลที่ตั้งสถานที่ท่องเที่ยว •  ภาพลักษณ์ของชุมชน / สถานที่ท่องเที่ยว •  การวิจัยและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ / บริการ •  การวิเคราะห์โอกาสและอุปสรรค •  ประชากร เศรษฐกิจ การเมือง กฎหมาย เทคโนโลยี ธรรมชาติ สังคม วัฒนธรรม สภาพการแข่งขัน ห่วงโซ่อุปทาน •  การวิเคราะห์ปัญหา •  หาปัญหาจาก จุดอ่อน อุปสรรค •  หาปัญหาจาก จุดเด่น โอกาส •  นําปัญหาออกมาวิเคราะห์ให้ชัดเจน เพื่อสร้างแผนการตลาดใหม่ (วัตถุประสงค์ใหม่ กลยุทธ์ใหม่ แผนปฎิบัติการใหม่)
  • 131. สภาพการแข่งขัน วิเคราะห์จาก 5 Forces •  อุปสรรคจากคู่แข่งขันปัจจุบันของเรา (Current Competitor) •  อุปสรรคจากคู่แข่งขันหน้าใหม่ของเรา (New Entries) •  อํานาจการต่อรองจากซัพพลายเออร์ของเรา (Suppliers) •  อุปสรรคจากผลิตภัณฑ์และบริการที่สามารถเข้ามาทดแทนเรา (Substituted Products / Services) •  อํานาจการต่อรองจากผู้ซื้อของเรา (Buyers)
  • 132. แผนการตลาดอย่างยั่งยืน (3) •  วัตถุประสงค์ •  ระบุวัตถุประสงค์ทางการตลาดเพื่อใช้เป็นแนวทางในการกําหนด กลยุทธ์ และ แผนปฎิบัติการด้านการตลาด •  Sales Revenue / % Share / Number of Tourist ฯลฯ •  อาจนําวัตถุประสงค์ทางด้านการเงิน เช่น เศรษฐกิจชุมชนเป็นตัว กําหนดร่วมกันไปด้วย .. ตั้งเป้า ROI / Net Profit / Cash Flow ฯลฯ •  กลยุทธ์ทางการตลาด •  S: Mass / Segment / Niche / Local / Individual •  T: Single Segment / Selective Specialization / Specialized Product/ Specialized Market / Mass •  P: Positioning on Price & Quality •  กลยุทธ์ •  Product Differentiation / Cost Leadership / Focus (Market Differentiation) •  Time to React / Strategic Alliance / Merge r& Acquisition •  Growth Strategy (Market Penetration , Market / Product / Service Development) •  โปรแกรมปฎิบัติงาน •  กําหนดแผนการปฎิบัติการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ •  อะไรที่ต้องทํา/ เมื่อไหร่ที่ต้องทํา/ เมื่อไหร่เสร็จ /ใครทํา /งบประมาณเท่าไหร่
  • 133. อ้างอิง ( REFERENCE) •  SLIDE หน้า 91-127 อ้างจาก Presentation Package “วิถีชุมชนเครื่องมือ 7 ชิ้น” จัดทำโดย ดร.นพ. โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์, ส่วนหนึ่งของ หนังสือ “วิถีชุมชนเครื่องมือ7ชิ้น ที่ทำให้งานชุมชน ง่าย ได้ผล และสนุก” โดย โกมาตร จึงเสถียร ทรัพย์, คณิสร เต็งรัง, ราตรี ปิ่นแก้ว, และ วรัญญา เพ็ชรคง, สนพ สุขศาลา, กรุงเทพฯ : 2555