SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2559
ชื่อโครงงาน “ฮาเล่ย์เดวิดสัน”
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นาย พัฒนพันธุ์ เฟื่องมณี เลขที่1 ชั้น ม.6/12
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่นทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1-2 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นาย พัฒนพันธุ์ เฟื่องมณี
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ฮาเล่ย์เดวิดสัน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Harley Davidson.
ประเภทโครงงาน โครงงานสารคดี
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย พัฒนพันธุ์ เฟื่องมณี
ชื่อครูที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาการดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึง แนวคิด ที่มา และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ฮาร์
เล่ย์เดวิดสัน (Harley Davidson) เป็นชื่อของผู้ผลิตมอเตอร์ไซค์ชื่อดังที่หลายคนคุ้นเคยดี ด้วยรูปลักษณ์ของ
ตัวรถอันโดดเด่น สมรรถนะแรงได้ใจ และเสียงของเครื่องยนต์อันเป็นเอกลักษณ์ จึงทาให้ได้รับความนิยม
อย่างยาวนานนับร้อยปี แน่นอนว่าหนทางการประสบความสาเร็จของฮาร์เล่ย์ก็ไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ
พวกเขาเกือบล้มละลายอยู่หลายครั้ง แต่ก็สามารถกลับมาและได้รับความนิยมอยู่จนปัจจุบัน อะไรทาให้พวก
เขาประสบความสาเร็จและสิ่งไหนที่ทาให้พวกเขาล้มเหลว วันนี้ ก็ขอนาเสนอประวัติของฮาร์เล่ย์เดวิดสัน
ผู้ผลิตมอเตอร์ไซค์ระดับไอคอนของโลกให้ได้ทราบกัน
วัตถุประสงค์(สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของฮาเล่ย์
2. ศึกษารุ่นรถของฮาเล่ย์
ขอบเขตของโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทา
โครงงาน) ฮาร์เล่ย์เดวิดสันเป็นหนึ่งในสองผู้ผลิตมอเตอร์ไซค์ที่รอดจากวิกฤติเศรษฐกิจในสหรัฐฯ และ
เมื่อเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 กองทัพสหรัฐฯ จึงได้ให้ฮาร์เล่ย์เดวิดสันผลิตมอเตอร์ไซค์สาหรับใช้งาน
ในกองทัพอีกครั้ง โดยครั้งนี้ พวกเขาผลิตออกมา 2 รุ่น ได้แก่รุ่น XA ซึ่งเป็นมอเตอร์ไซค์ที่เลียนแบบ
เทคโนโลยีจากบีเอ็มดับเบิลยู (BMW) และถูกผลิตมีเพียง 1,000 คัน เท่านั้น อีกรุ่นหนึ่งคือ รุ่น WLA ที่ถูก
ผลิตออกมามากกว่า 60,000 คัน แถมหลังจากจบสงคราม ฮาร์เล่ย์เดวิดสันยังคงผลิตรถรุ่นนี้ต่อไปเพื่อให้
ประชาชนทั่วไปได้ใช้งานอีกด้วย
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฏีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
เริ่มต้นใน พ.ศ. 2446 (ค.ศ. 1903) เมื่อวิลเลียม ฮาร์เล่ย์(William Harley) และสองพี่น้อง อาร์เธอร์ กับ วอล
เตอร์ เดวิดสัน (Arthur Davidson และWalter Davidson) ได้ประดิษฐ์มอเตอร์ไซค์คันแรกของพวกเขาด้วย
การนาเครื่องยนต์ 1 สูบมาติดตั้งกับจักรยานเพื่อไว้ใช้งานเชิงพาณิชย์โดยได้เริ่มทาธุรกิจผลิตจักรยานติด
เครื่องยนต์จาหน่ายภายในกระท่อมหลังบ้านพวกเขา ที่เมืองมิลวอกี้ รัฐวิสคอนซิน ประเทศสหรัฐฯ ต่อมา
จักรยานติดเครื่องยนต์ของทั้งสามได้รับความนิยมมากขึ้น พวกเขาจึงได้ตั้งโรงงานประกอบขึ้นอย่างเป็น
ทางการใน พ.ศ. 2449 (ค.ศ. 1906) และใน พ.ศ. 2453 (ค.ศ. 1910) พวกเขาเริ่มใช้เครื่องหมายการค้าตราโล่
ซึ่งยังคงใช้อยู่ถึงปัจจุบัน
เริ่มต ้นใน พ.ศ. 2446 (ค.ศ. 1903) เมื่อวิลเลียม ฮาร์เล่ย์ (William Harley) และสองพี่น้อง อาร์
เธอร์ กับ วอลเตอร์ เดวิดสัน (Arthur Davidson และWalter Davidson) ได ้ประดิษฐ์
มอเตอร์ไซค์คันแรกของพวกเขาด ้วยการนาเครื่องยนต์ 1 สูบมาติดตั้งกับจักรยานเพื่อไว ้ใช ้งาน
เชิงพาณิชย์ โดยได ้เริ่มทาธุรกิจผลิตจักรยานติดเครื่องยนต์จาหน่ายภายในกระท่อมหลังบ ้าน
พวกเขา ที่เมืองมิลวอกี้ รัฐวิสคอนซิน ประเทศสหรัฐฯ ต่อมา จักรยานติดเครื่องยนต์ของทั้งสาม
ได ้รับความนิยมมากขึ้น พวกเขาจึงได ้ตั้งโรงงานประกอบขึ้นอย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 2449
(ค.ศ. 1906) และใน พ.ศ. 2453 (ค.ศ. 1910) พวกเขาเริ่มใช ้เครื่องหมายการค ้าตราโล่ ซึ่ง
ยังคงใช ้อยู่ถึงปัจจุบัน
จุดเปลี่ยนของพวกเขาเกิดขึ้นเมื่อ วิลเลียม ฮาร์เล่ย์ประดิษฐ์เครื่องยนต์ V-Twin ได้สาเร็จใน พ.ศ.
2450 (ค.ศ. 1907) โดยเครื่องยนต์ V-Twin รุ่นแรกมีขนาดกระบอกสูบ 880 ซีซี กาลัง 7 แรงม้า ทาความเร็ว
สูงสุด 100 กม./ชม. และได้ทาการปรับปรุงเรื่อยมา โดยใน พ.ศ. 2457 (ค.ศ. 1913) ฮาร์เล่ย์ก็ได้หันมาใช้
เครื่องยนต์ V-Twin ในมอเตอร์ไซค์ของพวกเขาเป็นครั้งแรก และยังคงถูกดัดแปลงใช้งานอยู่จนปัจจุบัน
เมื่อเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ใน พ.ศ. 2460 (ค.ศ. 1917) ฮาร์เล่ย์เดวิดสันได้ผลิตมอเตอร์ไซค์ให้
กองทัพอเมริกาใช้งาน โดยถือเป็นมอเตอร์ไซค์รุ่นแรกที่ถูกใช้งานในการสงคราม ซึ่งในช่วงนั้นมีฮาร์เลย
เดวิดสันประจาการในกองทัพกว่า 15,000 คันเลยทีเดียว
ในทศวรรต 1920 หรือ พ.ศ. 2463 - 2472 ฮาร์เล่ย์เดวิดสันประสบความสาเร็จด้านยอดขายอย่างมาก
โดยกลายเป็นผู้ผลิตมอเตอร์ไซค์รายใหญ่ที่สุดของโลก ซึ่งส่งออกมากกว่า 67 ประเทศ พวกเขาจึงพัฒนาการ
ออกแบบถังน้ามันทรงหยดน้า ซึ่งเป็นเอกลักษณ์จนปัจจุบัน รวมทั้งเริ่มติดตั้งเบรกล้อหน้าเป็นครั้งแรก อีก
ทั้งยังประสบความสาเร็จด้านมอเตอร์สปอร์ตด้วยการทาลายสถิติความเร็วสูงกว่า 160 กม./ชม. ด้วย
ช่วงทศวรรษ 1930 หรือ พ.ศ. 2473 – 2482 เป็นช่วงของการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ซึ่งฮาร์เล่ย์เดวิดสัน
เองก็ได้รับผลกระทบไม่น้อย โดยมียอดขายหายไปถึงเกือบ 90 เปอร์เซ็นต์ ภายใน 2 ปี โดยในช่วงนี้ ฮาร์เล่ย์
เดวิดสันได้ปรับปรุงการออกแบบด้วยการนารูปนกเหยี่ยว ในสไตล์อาร์ต เดโค (Art Deco) เข้ามาใส่ใน
มอเตอร์ไซค์ อีกทั้งยังเปิดตัวเครื่องยนต์แบบ Knucklehead เป็นครั้งแรก ซึ่งต่อมาทั้งรูปเหยี่ยวและ
เครื่องยนต์แบบดังกล่าวก็กลายเป็นเอกลักษณ์ของฮาร์เล่ย์เดวิดสันจนทุกวันนี้
ฮาร์เล่ย์เดวิดสันเป็นหนึ่งในสองผู้ผลิตมอเตอร์ไซค์ที่รอดจากวิกฤติเศรษฐกิจในสหรัฐฯ และเมื่อเข้าสู่
ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 กองทัพสหรัฐฯ จึงได้ให้ฮาร์เล่ย์เดวิดสันผลิตมอเตอร์ไซค์สาหรับใช้งานใน
กองทัพอีกครั้ง โดยครั้งนี้ พวกเขาผลิตออกมา 2 รุ่น ได้แก่รุ่น XA ซึ่งเป็นมอเตอร์ไซค์ที่เลียนแบบ
เทคโนโลยีจากบีเอ็มดับเบิลยู (BMW) และถูกผลิตมีเพียง 1,000 คัน เท่านั้น อีกรุ่นหนึ่งคือ รุ่น WLA ที่ถูก
ผลิตออกมามากกว่า 60,000 คัน แถมหลังจากจบสงคราม ฮาร์เล่ย์เดวิดสันยังคงผลิตรถรุ่นนี้ต่อไปเพื่อให้
ประชาชนทั่วไปได้ใช้งานอีกด้วย
ช่วงทศวรรษที่ 1950 หรือ พ.ศ. 2493-2502 ฮาร์เล่ย์เดวิดสันนาเทคโนโลยีกันสะเทือนแบบไฮโดรลิก
มาใช้กับมอเตอร์ไซค์ของตนเอง และได้นาเสนอฮาร์เล่ย์รุ่น K ซึ่งพัฒนากลายเป็นรุ่นสปอร์ตสเตอร์ (Harley
Davidson Sportster) มอเตอร์ไซค์รุ่นยอดนิยมของค่าย
ฮาร์เล่ย์เดวิดสัน เคยถูกซื้อกิจการโดย AMF (American Machine and Foundry) ใน พ.ศ. 2512 (ค.ศ.
1969) ซึ่ง AMF ทาการปรับโครงสร้างองค์กรครั้งใหญ่ ส่งผลให้เกิดการนัดหยุดงานของพนักงานและ
คุณภาพของมอเตอร์ไซค์ที่ตกต่า ประกอบกับที่มอเตอร์ไซค์ของญี่ปุ่นกาลังเริ่มได้รับความนิยมมากขึ้น จน
ทาให้ฮาร์เล่ย์เดวิดสันเกือบล้มละลาย แต่ในที่สุด อดีตผู้บริหารและทายาทของผู้ก่อตั้งฮาร์เล่ย์เดวิดสัน ก็ได้
รวมตัวกันซื้อบริษัทฮาร์เล่ย์เดวิดสันคืนจาก AMF และช่วยกันกอบกู้บริษัทจนกลับคืนสู่ความยิ่งใหญ่จน
ปัจจุบัน โดยเน้นการผลิตที่ได้คุณภาพ รักษาเอกลักษณ์ดั้งเดิมของฮาร์เล่ย์เดวิดสันไว้ทั้งรูปทรง กาลังเครื่อง
และเสียงได้อย่างครบถ้วน
ไม่เพียงแต่มอเตอร์ไซค์ทรงคลาสสิกเท่านั้น ฮาร์เล่ย์เดวิดสันยังเคยมีมอเตอร์ไซค์ทรงสปอร์ตด้วย
โดยเข้าซื้อกิจการของค่ายมอเตอร์ไซค์สปอร์ตที่ชื่อว่า บูเอล (Buell) ซึ่งได้รับเสียงตอบรับดีพอสมควรด้วย
เครื่องยนต์กาลังแรงแบบฮาร์เล่ย์เดวิดสัน ผสานกับดีไซน์สปอร์ตทันสมัย แต่สุดท้ายฮาร์เล่ย์เดวิดสันก็ได้
ขายกิจการคืนให้กับ อีริค บูเอล ผู้ก่อตั้งของบูเอล เมื่อ พ.ศ.2552 (ค.ศ. 2009)
ล่าสุด ฮาร์เล่ย์เดวิดสันได้ประกาศจะเปิดโชว์รูมพร้อมกับโรงงานผลิตมอเตอร์ไซค์ในประเทศไทย
อย่างเป็นทางการแล้ว ถือเป็นเรื่องดีที่คนไทยจะมีโอกาสเป็นเจ้าของมันได้ง่ายขึ้น แถมยังได้เป็นศูนย์กลาง
การผลิตในภูมิภาคอาเซียนอีกด้วยครับ
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.ค้นหาหัวข้อความสนใจ
2.ลงพื้นที่หาข้อมูล
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- อินเตอร์เน็ต
- ผู้มีความรู้
งบประมาณ
- การลงภาคสนามเพื่อเก็บข้อมูล
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
17
1 คิดหัวข้อโครงงาน /
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล /
3 จัดทาโครงร่างงาน /
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ประวัติความเป็นมาของฮาเล่ย์แบบครบถ้วน
สถานที่ดาเนินการ
ห้องเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
เทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://car.kapook.com/view81306.html

More Related Content

Viewers also liked

งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันOporfunJubJub
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6 เรียบ100
ใบงานสำรวจตนเอง M6 เรียบ100ใบงานสำรวจตนเอง M6 เรียบ100
ใบงานสำรวจตนเอง M6 เรียบ100Chonlada Baicha
 
Balance fascial funcional
Balance fascial funcionalBalance fascial funcional
Balance fascial funcionalFabio Mazzola
 
Respiratory Physiotherapy on SLA patients
 Respiratory Physiotherapy on SLA patients Respiratory Physiotherapy on SLA patients
Respiratory Physiotherapy on SLA patientsAngelo Longoni
 
Досвід роботи вчителя початкових класів Мігуль Надії Миколаївни
Досвід роботи вчителя початкових класів Мігуль Надії МиколаївниДосвід роботи вчителя початкових класів Мігуль Надії Миколаївни
Досвід роботи вчителя початкових класів Мігуль Надії Миколаївниschool-2
 
Corporate law manual mzumbe university
Corporate law  manual mzumbe universityCorporate law  manual mzumbe university
Corporate law manual mzumbe universityNchimbi Mkojan
 
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนโครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนBlogAseanTraveler
 

Viewers also liked (13)

Урок 10
Урок 10Урок 10
Урок 10
 
Урок 24
Урок 24Урок 24
Урок 24
 
งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟัน
 
Introduction to programming
Introduction to programmingIntroduction to programming
Introduction to programming
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6 เรียบ100
ใบงานสำรวจตนเอง M6 เรียบ100ใบงานสำรวจตนเอง M6 เรียบ100
ใบงานสำรวจตนเอง M6 เรียบ100
 
Нумо,хлопці,столярі
Нумо,хлопці,столяріНумо,хлопці,столярі
Нумо,хлопці,столярі
 
Balance fascial funcional
Balance fascial funcionalBalance fascial funcional
Balance fascial funcional
 
Respiratory Physiotherapy on SLA patients
 Respiratory Physiotherapy on SLA patients Respiratory Physiotherapy on SLA patients
Respiratory Physiotherapy on SLA patients
 
Досвід роботи вчителя початкових класів Мігуль Надії Миколаївни
Досвід роботи вчителя початкових класів Мігуль Надії МиколаївниДосвід роботи вчителя початкових класів Мігуль Надії Миколаївни
Досвід роботи вчителя початкових класів Мігуль Надії Миколаївни
 
Corporate law manual mzumbe university
Corporate law  manual mzumbe universityCorporate law  manual mzumbe university
Corporate law manual mzumbe university
 
Самые-самые...
Самые-самые...Самые-самые...
Самые-самые...
 
Neurofisiologia
NeurofisiologiaNeurofisiologia
Neurofisiologia
 
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนโครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
 

Work6_612_01

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2559 ชื่อโครงงาน “ฮาเล่ย์เดวิดสัน” ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย พัฒนพันธุ์ เฟื่องมณี เลขที่1 ชั้น ม.6/12 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่นทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1-2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นาย พัฒนพันธุ์ เฟื่องมณี คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ฮาเล่ย์เดวิดสัน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Harley Davidson. ประเภทโครงงาน โครงงานสารคดี ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย พัฒนพันธุ์ เฟื่องมณี ชื่อครูที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาการดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึง แนวคิด ที่มา และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ฮาร์ เล่ย์เดวิดสัน (Harley Davidson) เป็นชื่อของผู้ผลิตมอเตอร์ไซค์ชื่อดังที่หลายคนคุ้นเคยดี ด้วยรูปลักษณ์ของ ตัวรถอันโดดเด่น สมรรถนะแรงได้ใจ และเสียงของเครื่องยนต์อันเป็นเอกลักษณ์ จึงทาให้ได้รับความนิยม อย่างยาวนานนับร้อยปี แน่นอนว่าหนทางการประสบความสาเร็จของฮาร์เล่ย์ก็ไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ พวกเขาเกือบล้มละลายอยู่หลายครั้ง แต่ก็สามารถกลับมาและได้รับความนิยมอยู่จนปัจจุบัน อะไรทาให้พวก เขาประสบความสาเร็จและสิ่งไหนที่ทาให้พวกเขาล้มเหลว วันนี้ ก็ขอนาเสนอประวัติของฮาร์เล่ย์เดวิดสัน ผู้ผลิตมอเตอร์ไซค์ระดับไอคอนของโลกให้ได้ทราบกัน
  • 3. วัตถุประสงค์(สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของฮาเล่ย์ 2. ศึกษารุ่นรถของฮาเล่ย์ ขอบเขตของโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทา โครงงาน) ฮาร์เล่ย์เดวิดสันเป็นหนึ่งในสองผู้ผลิตมอเตอร์ไซค์ที่รอดจากวิกฤติเศรษฐกิจในสหรัฐฯ และ เมื่อเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 กองทัพสหรัฐฯ จึงได้ให้ฮาร์เล่ย์เดวิดสันผลิตมอเตอร์ไซค์สาหรับใช้งาน ในกองทัพอีกครั้ง โดยครั้งนี้ พวกเขาผลิตออกมา 2 รุ่น ได้แก่รุ่น XA ซึ่งเป็นมอเตอร์ไซค์ที่เลียนแบบ เทคโนโลยีจากบีเอ็มดับเบิลยู (BMW) และถูกผลิตมีเพียง 1,000 คัน เท่านั้น อีกรุ่นหนึ่งคือ รุ่น WLA ที่ถูก ผลิตออกมามากกว่า 60,000 คัน แถมหลังจากจบสงคราม ฮาร์เล่ย์เดวิดสันยังคงผลิตรถรุ่นนี้ต่อไปเพื่อให้ ประชาชนทั่วไปได้ใช้งานอีกด้วย หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฏีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) เริ่มต้นใน พ.ศ. 2446 (ค.ศ. 1903) เมื่อวิลเลียม ฮาร์เล่ย์(William Harley) และสองพี่น้อง อาร์เธอร์ กับ วอล เตอร์ เดวิดสัน (Arthur Davidson และWalter Davidson) ได้ประดิษฐ์มอเตอร์ไซค์คันแรกของพวกเขาด้วย การนาเครื่องยนต์ 1 สูบมาติดตั้งกับจักรยานเพื่อไว้ใช้งานเชิงพาณิชย์โดยได้เริ่มทาธุรกิจผลิตจักรยานติด เครื่องยนต์จาหน่ายภายในกระท่อมหลังบ้านพวกเขา ที่เมืองมิลวอกี้ รัฐวิสคอนซิน ประเทศสหรัฐฯ ต่อมา จักรยานติดเครื่องยนต์ของทั้งสามได้รับความนิยมมากขึ้น พวกเขาจึงได้ตั้งโรงงานประกอบขึ้นอย่างเป็น ทางการใน พ.ศ. 2449 (ค.ศ. 1906) และใน พ.ศ. 2453 (ค.ศ. 1910) พวกเขาเริ่มใช้เครื่องหมายการค้าตราโล่ ซึ่งยังคงใช้อยู่ถึงปัจจุบัน เริ่มต ้นใน พ.ศ. 2446 (ค.ศ. 1903) เมื่อวิลเลียม ฮาร์เล่ย์ (William Harley) และสองพี่น้อง อาร์ เธอร์ กับ วอลเตอร์ เดวิดสัน (Arthur Davidson และWalter Davidson) ได ้ประดิษฐ์ มอเตอร์ไซค์คันแรกของพวกเขาด ้วยการนาเครื่องยนต์ 1 สูบมาติดตั้งกับจักรยานเพื่อไว ้ใช ้งาน เชิงพาณิชย์ โดยได ้เริ่มทาธุรกิจผลิตจักรยานติดเครื่องยนต์จาหน่ายภายในกระท่อมหลังบ ้าน พวกเขา ที่เมืองมิลวอกี้ รัฐวิสคอนซิน ประเทศสหรัฐฯ ต่อมา จักรยานติดเครื่องยนต์ของทั้งสาม ได ้รับความนิยมมากขึ้น พวกเขาจึงได ้ตั้งโรงงานประกอบขึ้นอย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 2449 (ค.ศ. 1906) และใน พ.ศ. 2453 (ค.ศ. 1910) พวกเขาเริ่มใช ้เครื่องหมายการค ้าตราโล่ ซึ่ง ยังคงใช ้อยู่ถึงปัจจุบัน
  • 4. จุดเปลี่ยนของพวกเขาเกิดขึ้นเมื่อ วิลเลียม ฮาร์เล่ย์ประดิษฐ์เครื่องยนต์ V-Twin ได้สาเร็จใน พ.ศ. 2450 (ค.ศ. 1907) โดยเครื่องยนต์ V-Twin รุ่นแรกมีขนาดกระบอกสูบ 880 ซีซี กาลัง 7 แรงม้า ทาความเร็ว สูงสุด 100 กม./ชม. และได้ทาการปรับปรุงเรื่อยมา โดยใน พ.ศ. 2457 (ค.ศ. 1913) ฮาร์เล่ย์ก็ได้หันมาใช้ เครื่องยนต์ V-Twin ในมอเตอร์ไซค์ของพวกเขาเป็นครั้งแรก และยังคงถูกดัดแปลงใช้งานอยู่จนปัจจุบัน เมื่อเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ใน พ.ศ. 2460 (ค.ศ. 1917) ฮาร์เล่ย์เดวิดสันได้ผลิตมอเตอร์ไซค์ให้ กองทัพอเมริกาใช้งาน โดยถือเป็นมอเตอร์ไซค์รุ่นแรกที่ถูกใช้งานในการสงคราม ซึ่งในช่วงนั้นมีฮาร์เลย เดวิดสันประจาการในกองทัพกว่า 15,000 คันเลยทีเดียว ในทศวรรต 1920 หรือ พ.ศ. 2463 - 2472 ฮาร์เล่ย์เดวิดสันประสบความสาเร็จด้านยอดขายอย่างมาก โดยกลายเป็นผู้ผลิตมอเตอร์ไซค์รายใหญ่ที่สุดของโลก ซึ่งส่งออกมากกว่า 67 ประเทศ พวกเขาจึงพัฒนาการ ออกแบบถังน้ามันทรงหยดน้า ซึ่งเป็นเอกลักษณ์จนปัจจุบัน รวมทั้งเริ่มติดตั้งเบรกล้อหน้าเป็นครั้งแรก อีก ทั้งยังประสบความสาเร็จด้านมอเตอร์สปอร์ตด้วยการทาลายสถิติความเร็วสูงกว่า 160 กม./ชม. ด้วย
  • 5. ช่วงทศวรรษ 1930 หรือ พ.ศ. 2473 – 2482 เป็นช่วงของการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ซึ่งฮาร์เล่ย์เดวิดสัน เองก็ได้รับผลกระทบไม่น้อย โดยมียอดขายหายไปถึงเกือบ 90 เปอร์เซ็นต์ ภายใน 2 ปี โดยในช่วงนี้ ฮาร์เล่ย์ เดวิดสันได้ปรับปรุงการออกแบบด้วยการนารูปนกเหยี่ยว ในสไตล์อาร์ต เดโค (Art Deco) เข้ามาใส่ใน มอเตอร์ไซค์ อีกทั้งยังเปิดตัวเครื่องยนต์แบบ Knucklehead เป็นครั้งแรก ซึ่งต่อมาทั้งรูปเหยี่ยวและ เครื่องยนต์แบบดังกล่าวก็กลายเป็นเอกลักษณ์ของฮาร์เล่ย์เดวิดสันจนทุกวันนี้ ฮาร์เล่ย์เดวิดสันเป็นหนึ่งในสองผู้ผลิตมอเตอร์ไซค์ที่รอดจากวิกฤติเศรษฐกิจในสหรัฐฯ และเมื่อเข้าสู่ ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 กองทัพสหรัฐฯ จึงได้ให้ฮาร์เล่ย์เดวิดสันผลิตมอเตอร์ไซค์สาหรับใช้งานใน กองทัพอีกครั้ง โดยครั้งนี้ พวกเขาผลิตออกมา 2 รุ่น ได้แก่รุ่น XA ซึ่งเป็นมอเตอร์ไซค์ที่เลียนแบบ เทคโนโลยีจากบีเอ็มดับเบิลยู (BMW) และถูกผลิตมีเพียง 1,000 คัน เท่านั้น อีกรุ่นหนึ่งคือ รุ่น WLA ที่ถูก ผลิตออกมามากกว่า 60,000 คัน แถมหลังจากจบสงคราม ฮาร์เล่ย์เดวิดสันยังคงผลิตรถรุ่นนี้ต่อไปเพื่อให้ ประชาชนทั่วไปได้ใช้งานอีกด้วย ช่วงทศวรรษที่ 1950 หรือ พ.ศ. 2493-2502 ฮาร์เล่ย์เดวิดสันนาเทคโนโลยีกันสะเทือนแบบไฮโดรลิก มาใช้กับมอเตอร์ไซค์ของตนเอง และได้นาเสนอฮาร์เล่ย์รุ่น K ซึ่งพัฒนากลายเป็นรุ่นสปอร์ตสเตอร์ (Harley Davidson Sportster) มอเตอร์ไซค์รุ่นยอดนิยมของค่าย
  • 6. ฮาร์เล่ย์เดวิดสัน เคยถูกซื้อกิจการโดย AMF (American Machine and Foundry) ใน พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) ซึ่ง AMF ทาการปรับโครงสร้างองค์กรครั้งใหญ่ ส่งผลให้เกิดการนัดหยุดงานของพนักงานและ คุณภาพของมอเตอร์ไซค์ที่ตกต่า ประกอบกับที่มอเตอร์ไซค์ของญี่ปุ่นกาลังเริ่มได้รับความนิยมมากขึ้น จน ทาให้ฮาร์เล่ย์เดวิดสันเกือบล้มละลาย แต่ในที่สุด อดีตผู้บริหารและทายาทของผู้ก่อตั้งฮาร์เล่ย์เดวิดสัน ก็ได้ รวมตัวกันซื้อบริษัทฮาร์เล่ย์เดวิดสันคืนจาก AMF และช่วยกันกอบกู้บริษัทจนกลับคืนสู่ความยิ่งใหญ่จน ปัจจุบัน โดยเน้นการผลิตที่ได้คุณภาพ รักษาเอกลักษณ์ดั้งเดิมของฮาร์เล่ย์เดวิดสันไว้ทั้งรูปทรง กาลังเครื่อง และเสียงได้อย่างครบถ้วน ไม่เพียงแต่มอเตอร์ไซค์ทรงคลาสสิกเท่านั้น ฮาร์เล่ย์เดวิดสันยังเคยมีมอเตอร์ไซค์ทรงสปอร์ตด้วย โดยเข้าซื้อกิจการของค่ายมอเตอร์ไซค์สปอร์ตที่ชื่อว่า บูเอล (Buell) ซึ่งได้รับเสียงตอบรับดีพอสมควรด้วย เครื่องยนต์กาลังแรงแบบฮาร์เล่ย์เดวิดสัน ผสานกับดีไซน์สปอร์ตทันสมัย แต่สุดท้ายฮาร์เล่ย์เดวิดสันก็ได้ ขายกิจการคืนให้กับ อีริค บูเอล ผู้ก่อตั้งของบูเอล เมื่อ พ.ศ.2552 (ค.ศ. 2009)
  • 7. ล่าสุด ฮาร์เล่ย์เดวิดสันได้ประกาศจะเปิดโชว์รูมพร้อมกับโรงงานผลิตมอเตอร์ไซค์ในประเทศไทย อย่างเป็นทางการแล้ว ถือเป็นเรื่องดีที่คนไทยจะมีโอกาสเป็นเจ้าของมันได้ง่ายขึ้น แถมยังได้เป็นศูนย์กลาง การผลิตในภูมิภาคอาเซียนอีกด้วยครับ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.ค้นหาหัวข้อความสนใจ 2.ลงพื้นที่หาข้อมูล เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - อินเตอร์เน็ต - ผู้มีความรู้ งบประมาณ - การลงภาคสนามเพื่อเก็บข้อมูล ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน / 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / 3 จัดทาโครงร่างงาน / 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน